[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3576 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 357 หน้า, หน้าที่ 358 มี 6 รายการ

 
เพลี้ยในถั่วฝักยาว: ปัญหาและวิธีการจัดการ
เพลี้ยในถั่วฝักยาว: ปัญหาและวิธีการจัดการ
การจัดการกับเพลี้ยในถั่วฝักยาวเป็นส่วนสำคัญของการเกษตรที่เป็นประจำ โดยเพลี้ยที่พบบ่อยในถั่วฝักยาวได้แก่เพลี้ยไฟและเพลี้ยอ่อน นอกจากนี้ยังมีเพลี้ยหอยที่อาจทำให้ถั่วฝักยาวเสียหายได้ด้วย

นี่คือบางวิธีที่สามารถใช้ในการจัดการกับเพลี้ยในถั่วฝักยาว:

การใช้สารเคมี:

ใช้สารเคมีที่มีประสิทธิภาพต่อเพลี้ย เช่น ไดอะซินอน อิมิดาโคลพริด หรือคาร์บาริล
ระมัดระวังในการใช้สารเคมี และปฏิบัติตามคำแนะนำในฉลากอย่างเคร่งครัด

การใช้สารชีวภาพ:

ใช้ศัตรูธรรมชาติ เช่น แตนเบีย สเลนเดอร์ หรือน้ำส้มควันไม้ เพื่อควบคุมเพลี้ยได้
การใช้สารชีวภาพไม่ทำให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อมและไม่ทำให้เกิดความเสียหายต่อศัตรูธรรมชาติ

การใช้วิธีกลไก:

ใช้การหว่านหรือปล่อยแตนเบียในแปลงถั่วฝักยาว
การใช้น้ำฝนหรือฉีดน้ำด้วยแรง เพื่อล้างเพลี้ยจากถั่วฝักยาว

การตรวจสอบและกำจัดต้นที่เป็นโรคหรืออ่อนแอ:

ตรวจสอบต้นถั่วฝักยาวอย่างสม่ำเสมอ
ถ้าพบต้นที่เป็นโรคหรืออ่อนแอ ให้ถอนออกและทำลายเพื่อป้องกันการแพร่กระจาย

การใช้วิธีบำรุง:

ให้ปุ๋ยที่เหมาะสมเพื่อเสริมสร้างความแข็งแรงให้กับถั่วฝักยาว
การใช้วิธีผสมผสานระหว่างวิธีต่าง ๆ จะช่วยให้การจัดการกับเพลี้ยในถั่วฝักยาวมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

.
มาคา เป็นสารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัด เพลี้ยในต้นถั่วฝักยาว
มาคา สามารถป้องกันกำจัดเพลี้ยต่างๆ ในพืชทุกชนิดได้เช่นกัน
.
สั่งซื้อ มาคา ได้ที่ ลาซาด้า คลิก http://ไปที่..link.. .
หรือ โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset
.
อ่าน:3678
คุยกับคุณวินน์ สุทธิเดช ผู้บริหาร ICD มุกดาหาร และวอวิศโฮม อำนาจเจริญ - Piyamas Live ปิยะมาศ บัวแก้ว
คุยกับคุณวินน์ สุทธิเดช ผู้บริหาร ICD มุกดาหาร และวอวิศโฮม อำนาจเจริญ - Piyamas Live ปิยะมาศ บัวแก้ว

อายุน้อย แต่ไม่น้อยประสบการณ์
.
ร่วมติดตามรับฟังแนวคิดของนักบริหารธุรกิจรุ่นใหม่ คุณวินน์ สุทธิเดช ผู้บริหาร ICD จ.มุกดาหาร และ ร้าน วอวิท โฮม อำนาจเจริญ
.
มาฟังว่าคนรุ่นใหม่ เขามีแนวคิดการบริหารธุรกิจอย่างไรไม่ให้โดน digital disruption
.
ในรายการ piyamas live วันพฤหัสบดี ที่ 21 พ.ค. 63 เวลา 14.00 น. นะคะ

Piyamas Live ปิยะมาศ บัวแก้ว

https://www.youtube.com/watch?v=Pr14_XTfW58
อ่าน:3678
พช.โคราช นำร่อง “1 วัด 1 สวนสมุนไพร ต้านภัยโควิด – 19” เพิ่มพื้นที่ขยายผลการปลูกพืชสมุนไพรไทย
พช.โคราช นำร่อง “1 วัด 1 สวนสมุนไพร ต้านภัยโควิด – 19” เพิ่มพื้นที่ขยายผลการปลูกพืชสมุนไพรไทย
วันอาทิตย์ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2564 เวลา 16.00 น. นางอรุณรัตน์ ชิงชนะ พัฒนาการจังหวัดนครราชสีมา พร้อมด้วยนายสิทธิชัย พรทิพย์พิทักษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน นางจำเรียง มณีพินิจ ผู้อำนวยการกลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน นางสาวธัญลักษณ์ ชันไธสง ผู้อำนวยการกลุ่มงานประสานและสนับสนุนการบริหารงานพัฒนาชุมชน และนักวิชาการ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดนครราชสีมา ร่วมทำกิจกรรมศูนย์แบ่งปันขยายผลการปลูกพืชผักสวนครัว และพืชสมุนไพรไทย “1 วัด 1 สวนสมุนไพร ต้านภัยโควิด – 19” เพื่อเป็นคลังสมุนไพรแบบพึ่งพาตนเอง โดยใช้พื้นที่วัด เป็นพื้นที่แบ่งปันให้กับชุมชนสำหรับนำมาบริโภค และทำเป็นยาสมุนไพร เสริมหรือทดแทนการใช้ยาแผนปัจจุบันในการต้านเชื้อโควิด-19
โดยได้รับความเมตตาจาก พระเทพสีมาภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เจ้าอาวาสวัดบึง (พระอารามหลวง) อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา อนุญาตให้ใช้พื้นที่ว่างภายในบริเวณวัดบึง (พระอารามหลวง) เป็นจุดนำร่อง บูรณาการขับเคลื่อนขยายผลเพิ่มพื้นที่การปลูกพืชสมุนไพรไทย และช่วยรณรงค์ให้ทุกวัดใช้พื้นที่ในบริเวณวัดปลูกสมุนไพรแบ่งปัน ภายใต้โครงการเสริมสร้างและพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลง และโครงการวัด ประชา รัฐ สร้างสุข เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๘๘ พรรษา
ท่านพระเทพสีมาภรณ์ เจ้าคณะจังหวัดนครราชสีมา เจ้าอาวาสวัดบึง (พระอารามหลวง) กล่าวปาฐกถาว่า “ปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในทั่วประเทศ นับวันยิ่งทวีคูณขึ้น และในส่วนของจังหวัดนครราชสีมาเองนั้นก็เป็นพื้นที่ของการระบาดของโรคเป็นอย่างมาก คนป่วยมีจำนวนมาก ทำให้โรงพยาบาลที่รักษาไม่เพียงพอ ดังนั้นการดูแลตัวเอง การพึ่งตนเอง โดยการปลูกพืชสมุนไพรไว้เพื่อนำไปแปรรูปบริโภคในครัวเรือน เช่น ฟ้าทะลายโจร กระชาย และสมุนไพรไทยชนิดต่างๆ ซึ่งได้มีผลการวิจัยว่าสามารถเสริมสร้างภูมิคุ้มกันต้านเชื้อโควิด-19 ได้ดี วันนี้อาตมาจึงมีความปรารถนา และยินดีอย่างยิ่งที่จะใช้พื้นที่ว่างภายในวัดได้ทำประโยชน์ให้เกิดขึ้นแก่พี่น้อง ญาติโยม ทั้งหลาย รวมถึงพระลูกวัดที่จะได้ใช้ประโยชน์ร่วมกันจากสมุนไพรที่ปลูกในวันนี้ จากนั้นก็จะได้ขยายผลไปสู่วัดต่างๆ ในทุกระดับให้มีการปลูกสมุนไพรไว้ใช้ และแบ่งปันให้กับญาติโยม และพี่น้องประชาชนในชุมชนนำไปขยายผลกันต่อไปให้ทั่วถึง”
ด้าน นางอรุณรัตน์ ชิงชนะ พัฒนาการจังหวัดนครราชสีมา กล่าวว่า นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ได้มีนโยบายในการขับเคลื่อนกิจกรรมโครงการเสริมสร้างและพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลง ศูนย์แบ่งปันพืชผักสวนครัว และรณรงค์ส่งเสริมให้ชุมชนปลูกพืชสมุนไพรไทยโดยผู้นำทำเป็นต้นแบบ “ผู้นำต้องทำก่อน” และเพิ่มพื้นที่การปลูกพืชสมุนไพร เช่น ฟ้าทะลายโจร กระชาย ชิง ข่า ตะไคร้ ฯลฯ ซึ่งถือเป็นพืชสมุนไพรไทยทางเลือกหนึ่งที่สามารถช่วยป้องกัน และบรรเทายับยั้งการติดเชื้อไข้หวัด หรือ เสริมสร้างภูมิต้านทานในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้ สำหรับไว้ใช้เองในครัวเรือนและแบ่งปันกันในชุมชน ขณะที่นายกอบชัย บุญอรณะ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา ก็ได้จัดกิจกรรม Kick Off “บ้านนี้มีรัก ปลูกผักแบ่งปัน” เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 เนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพ (28 กรกฎาคม 2564) เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2564 ที่ผ่านมา โดยจังหวัดได้กำหนดการจัดกิจกรรมศูนย์แบ่งปัน ไว้ 5 จุดดำเนินการ แบ่งตามกลุ่มโซนอำเภอ แต่ละกลุ่มโซนอำเภอจะได้รับการสนับสนุนพันธุ์พืชสมุนไพรสนับสนุนศูนย์แบ่งปันจังหวัด เพื่อนำไปจัดกิจกรรมในพื้นที่ต้นแบบที่ได้ขยายผลตามโครงการเสริมสร้างและพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลง ผลผลิตที่ได้นำไปแจก แบ่งปันให้ประชาชนในชุมชน ได้ขยายพันธุ์ปลูก และบริโภคให้ครบทุกครัวเรือน
อย่างไรก็ตาม กิจกรรมดังกล่าวข้างต้น จังหวัดนครราชสีมาได้มอบนโยบายให้ทุกอำเภอ บูรณาการส่วนราชการ องค์กร ภาคี เครือข่าย ร่วมกับผู้นำการเปลี่ยนแปลง และครัวเรือนจิตอาสา ร่วมใจกันรณรงค์ดำเนินการอย่างต่อเนื่องตลอดไปทั้งเดือนสิงหาคม 2564 เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 12 สิงหาคม 2564 เพื่อให้เกิดความมั่นคงทั้งในด้านอาหารและด้านสมุนไพรไทย ควบคู่กันไป

ณ วัดบึง (พระอารามหลวง) ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา

#ChangeForGood
#CDD #กรมการพัฒนาชุมชน
#พช_นครราชสีมา #CNS
📸 ที่นี่โคราช สถานีข่าว พช. รายงาน

ที่มา http://www.farmkaset..link..
การจัดการหนอนศัตรูพืชที่พบในสวนมะม่วง: วิธีป้องกันและควบคุม
การจัดการหนอนศัตรูพืชที่พบในสวนมะม่วง: วิธีป้องกันและควบคุม
มะม่วงเป็นพืชที่อาจเจอกับหลายชนิดของศัตรูพืช ซึ่งหนอนศัตรูพืชที่พบบ่อยในมะม่วงได้แก่:

หนอนเจาะผลมะม่วง (Fruit Borer): หนอนชนิดนี้มักจะเจาะเข้าไปในผลมะม่วงและทำลายเนื้อภายในของผล ทำให้ผลมะม่วงมีรอยทำลายภายในและมีความเสียหายมากน้อยขึ้นอยู่กับระดับการทำลายของหนอนแต่ละตัว.

หนอนเจาะกิ่ง (Shoot Borer): หนอนชนิดนี้เจาะท่อนกิ่งและยอดมะม่วง ทำให้มะม่วงแสดงอาการที่ยอดเหี่ยวและแห้งตายได้.

หนอนกัดกินใบ (Leaf-Eating Caterpillars): มีหลายชนิดของหนอนที่กัดกินใบมะม่วง เช่น หนอนกระทู้มะม่วงแดง (Red-banded caterpillar) และหนอนใยผีเสื้อ (Looper caterpillar) ซึ่งทำให้ใบมะม่วงเสียหาย.

หนอนเจาะราก (Root Borer): หนอนชนิดนี้ทำลายระบบรากของมะม่วง ทำให้มะม่วงแสดงอาการใบเหลืองและการเจริญเติบโตช้า.

การควบคุมหนอนศัตรูพืชในมะม่วงสามารถทำได้โดยใช้วิธีการต่างๆ เช่น:

การใช้สารเคมี: การใช้สารเคมีเป็นวิธีที่มีผลมากในการควบคุมหนอนศัตรูพืช โดยใช้สารเคมีที่เป็นพิษต่อหนอน แต่ต้องใช้อย่างระมัดระวังตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญและตามข้อกำหนดของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง.

การใช้วิธีชีวภาพ: การใช้สิ่งมีชีวิตเพื่อควบคุมหนอนศัตรูพืช เช่น การใช้แตนเบีย (Telenomus remus) ในการควบคุมหนอนเจาะผลมะม่วง.

การใช้วิธีป้องกัน: การบำบัดรักษาต้นมะม่วงให้แข็งแรง เพื่อลดโอกาสในการเกิดโรคและศัตรูพืช.

ควรติดตามสภาพแวดล้อมและใช้วิธีควบคุมที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของแปลงปลูกมะม่วงของท่าน.

.
ไอกี้-บีที เป็นสารชีวินทรีย์ ป้องกัน กำจัด หนอนในต้นมะม่วง
ไอกี้-บีที สามารถป้องกันกำจัดหนอนต่างๆ ในพืชทุกชนิดได้เช่นกัน
.
สั่งซื้อ ไอกี้-บีที ได้ที่ ลาซาด้า คลิก http://ไปที่..link.. .
หรือ โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset
.
อ่าน:3677
โรคทุเรียนกิ่งแห้ง มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคทุเรียนโคนเน่า ทุเรียนผลเน่า โรคใบติดทุเรียน ก็เช่นกัน แก้ด้วย ไอเอส ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง
โรคทุเรียนกิ่งแห้ง มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคทุเรียนโคนเน่า ทุเรียนผลเน่า โรคใบติดทุเรียน ก็เช่นกัน แก้ด้วย ไอเอส ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง
ทุเรียนกิ่งแห้ง เชื้อราฟิวซาเรียม โซลาไน เป็นเชื้อสาเหตุ

เชื้อราไฟทอปทอร่า พาลมิวอร่า (Phytophthora palmivora) ในทุเรียน เป็นต้นเหตุของ โรคโคนเน่า มีแผลสีน้ำตาลเข้มที่โคนต้นทุเรียน

ทุเรียนผลเน่า เกิดจากเชื้อรา ลาสิโอดิปโพลเดีย ทีโอโบรมี (Lasiodiplodia theobromae)

โรคใบติดทุเรียน อาการทุเรียนใบติด เกิดจาก เชื้อราไรซอคโทเนีย โซลาไน (Rhizoctonia solani)

สำหรับโรคทุเรียน ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอเอส (เฉพาะโรคทุเรียน ที่มีต้นเหตุจากเชื้อราต่างๆ) ในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นให้ครอบคลุมบริเวณแปลงที่มีการระบาด สามารถฉีดพ่นผสมไปพร้อมกับ FK-1 เพื่อเร่งให้ทุเรียนฟื้นตัว จากการเข้าทำลายของโรคต่างๆจากเชื้อรา

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

อ้างอิงข้อมูลโรคพืชจาก
thaifarmer.lib.ku.ac.th/news /5e17df218e29a10f270b4b8d
อ่าน:3677
การควบคุมโรคพืช และแมลงศัตรูพืช ด้วยสารสกัดสมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพ
การควบคุมโรคพืช และแมลงศัตรูพืช ด้วยสารสกัดสมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพ
ในปัจจุบันสภาพแวดล้อมก าลังเข้าขั้นวิกฤติ สืบเนื่องมาจากการกระท าของมนุษย์
โดยเฉพาะการใช้สารเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิต และการก าจัดศัตรูพืช ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อ
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ก่อให้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน น้ า และระบบ
นิเวศวิทยา การท ากสิกรรมธรรมชาติ เพื่อผลิตอาหารที่มีคุณภาพ ถูกหลักอนามัย ปลอดภัย และ
ประหยัดต้นทุนนั้น เกษตรกรจ าเป็นต้องหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี และหันมาใช้สารสกัดจาก
สมุนไพรทดแทนถึงแม้ว่าสารสกัดสมุนไพร จะมีผลในการท าลายแมลงที่เป็นประโยชน์พวกแมลงตัว
ห้ า หรือแมลงตัวเบียนบ้างก็ตาม แต่ก็น้อยกว่าสารเคมีเพราะพิษจากสมุนไพรสลายตัวได้รวดเร็ว
และไม่ตกค้างนาน การใช้สารสมุนไพรทดแทนการใช้สารเคมี จะมีความจ าเป็นในช่วงแรก ๆ ของ
การเปลี่ยนแปลง เพราะเกษตรกรใช้สารเคมีติดต่อกันมาเป็นเวลานาน จนท าให้ความสมดุล
ระหว่างแมลงศัตรูพืช กับแมลงที่เป็นประโยชน์สูญเสียไป เมื่องดสารเคมี และใช้สารสมุนไพร
ทดแทนไปสักระยะจนสามารถอนุรักษ์ และเพิ่มจ านวนประชากรของแมลงที่เป็นประโยชน์ได้มาก
จนเกิดความสมดุลภายในแปลงได้แล้วจึงค่อย ๆ ลดการใช้สารสมุนไพรลง โดยใช้เฉพาะเท่าที่
จ าเป็นเท่านั้น การใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในคน สัตว์ และพืช การน าสมุนไพรมาใช้ในการ
ควบคุมโรคนั้น ควรมีความเข้าใจพื้นฐานของฤทธิ์ยาสมุนไพร และสรรพคุณของวัตถุนานาชนิด ที่
จะน ามาใช้ปรุงเป็นยาเสียก่อน โดยสรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิดนั้นจะขึ้นอยู่กับรสของสมุนไพร
นั้น ๆ รสยาแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1 ยารสประธาน หมายถึง ยาที่ปรุงเป็นต ารับแล้ว แบ่งเป็น 3 รส คือ รสเย็น รส
ร้อน และรสสุขุม
2 ยา 9 รส หมายถึง สรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิด คือ
1) รสฝาด สรรพคุณ ใช้ในการสมานแผลต่าง ๆ
2) รสหวาน สรรพคุณ ซึมซาบไปตามผิว
3) รสเบื่อเมา สรรพคุณ แก้พิษ ดับพิษโลหิต
4) รสขม สรรพคุณ แก้ทางโลหิตและดี
5) รสมัน สรรพคุณ เป็นยาอายุวัฒนะ
6) รสหอมเย็น สรรพคุณ บ ารุงหัวใจ บ ารุงโลหิต
7) รสเค็ม สรรพคุณ ฟอกโลหิต ดับพิษร้อน
8) รสเปรี้ยว สรรพคุณ บ ารุงเลือด แก้กระหายน้ า
9) รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ แก้โรคลม บ ารุงธาตุไฟ
และบางต ารายังได้เพิ่มอีก 1 รส คือ รสจืด สรรพคุณ ดับพิษ แก้ไข้ ขับปัสสาวะแก้ทางเตโชธาตุ
พิการ เช่นกันกับการน าสมุนไพรมาใช้ในการควบคุมโรคพืช และแมลงศัตรูพืชนั้น ก็ต้องมีความ
เข้าใจในพื้นฐานของฤทธิ์ยาสมุนไพร และสรรพคุณของวัตถุต่าง ๆ ที่จะน ามาใช้ปรุงเป็นยาป้องกัน
หรือยารักษาโรคพืชรวมทั้งยาฆ่า - ท าลายวงจรชีวิต และป้องกันแมลงด้วยโดยสรรพคุณของตัวยา
สมุนไพรที่ใช้ในการเกษตรสามารถแบ่งออกตามรสของสมุนไพรได้ประมาณ 5 รส คือ
1) สมุนไพรรสขม ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ป้องกันแมลง อาทิเช่น ฟ้าทลายโจร บอระเพ็ด
สะเดา และหญ้าใต้ใบ
2) สมุนไพรรสเบื่อเมา ฆ่าหนอนเพลี้ย แมลงอื่น ๆ อาทิเช่น หางไหล หนอนตาย
หยาก ขอบชะนางแดง - ขาว ใบน้อยหน่า สลัดได พญาไร้ใบ แสยก และเมล็ดมะกล่ า
3) สมุนไพรที่มีรสฝาด แก้เชื้อราโรคพืช อาทิเช่น เปลือกแค เปลือกมังคุด ใบฝรั่ง
และใบทับทิม
4) สมุนไพรหอมระเหย ไล่แมลง เปลี่ยนกลิ่นต้นพืช อาทิเช่น ตะไคร้หอม สาบเสือ
โหระพา กะเพรา ผักชี กะทกรก สาบแร้งสาบกา และผักแพรวแดง
5) สมุนไพรที่มีรสเปรี้ยว ไล่แมลง แสบร้อน อาทิเช่น เปลือกส้ม มะกรูด มะนาว และ
มะขาม
วิธีการปรุง หรือสกัดยาสมุนไพร เพื่อใช้ในการเกษตร สามารถประยุกต์เทคนิคการปรุง หรือสกัด
ยาสมุนไพร เพื่อน ามาใช้ในการเกษตรได้หลายวิธี อาทิเช่น
1) บดผง น าไปโรย หรือคลุมดินป้องกันศัตรูพืช
2) แช่น้ า (1 - 2 วัน) น าไปฉีดพ่น
3) ดองเหล้า (1 - 3 วัน) น าไปฉีดพ่น
4) ต้ม น าไปฉีดพ่น และรดราด
5) สกัดด้วยไอน้ า และความดัน ซึ่งเป็นเทคนิคต้องใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่แข็งแรง
6) การหมัก ซึ่งเป็นวิธีการที่ประหยัด และเก็บรักษาสรรพคุณของยาไว้ได้ทนนาน
นอกจากนี้ยังได้สารฮอร์โมน วิตามินและแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์ ต่อพืชอีกด้วย
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติโป่งแรด ตั้งอยู่เลขที่ 44/2 หมู่ 3 ต าบลพลับพลา อ าเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี
ในปัจจุบันสภาพแวดล้อมก าลังเข้าขั้นวิกฤติ สืบเนื่องมาจากการกระท าของมนุษย์
โดยเฉพาะการใช้สารเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิต และการก าจัดศัตรูพืช ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อ
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ก่อให้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน น้ า และระบบ
นิเวศวิทยา การท ากสิกรรมธรรมชาติ เพื่อผลิตอาหารที่มีคุณภาพ ถูกหลักอนามัย ปลอดภัย และ
ประหยัดต้นทุนนั้น เกษตรกรจ าเป็นต้องหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี และหันมาใช้สารสกัดจาก
สมุนไพรทดแทนถึงแม้ว่าสารสกัดสมุนไพร จะมีผลในการท าลายแมลงที่เป็นประโยชน์พวกแมลงตัว
ห้ า หรือแมลงตัวเบียนบ้างก็ตาม แต่ก็น้อยกว่าสารเคมีเพราะพิษจากสมุนไพรสลายตัวได้รวดเร็ว
และไม่ตกค้างนาน การใช้สารสมุนไพรทดแทนการใช้สารเคมี จะมีความจ าเป็นในช่วงแรก ๆ ของ
การเปลี่ยนแปลง เพราะเกษตรกรใช้สารเคมีติดต่อกันมาเป็นเวลานาน จนท าให้ความสมดุล
ระหว่างแมลงศัตรูพืช กับแมลงที่เป็นประโยชน์สูญเสียไป เมื่องดสารเคมี และใช้สารสมุนไพร
ทดแทนไปสักระยะจนสามารถอนุรักษ์ และเพิ่มจ านวนประชากรของแมลงที่เป็นประโยชน์ได้มาก
จนเกิดความสมดุลภายในแปลงได้แล้วจึงค่อย ๆ ลดการใช้สารสมุนไพรลง โดยใช้เฉพาะเท่าที่
จ าเป็นเท่านั้น การใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในคน สัตว์ และพืชการน าสมุนไพรมาใช้ในการควบคุม
โรคนั้น ควรมีความเข้าใจพื้นฐานของฤทธิ์ยาสมุนไพร และสรรพคุณของวัตถุนานาชนิด ที่จะ
น ามาใช้ปรุงเป็นยาเสียก่อน โดยสรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิดนั้นจะขึ้นอยู่กับรสของสมุนไพร
นั้น ๆ รสยาแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
ยารสประธาน หมายถึง ยาที่ปรุงเป็นต ารับแล้ว แบ่งเป็น 3 รส ย่อย คือ รสเย็น รสร้อน และ
รสสุขุม
5.6.2 ยา 9 รส หมายถึง สรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิด คือ
1) รสฝาด สรรพคุณ ใช้ในการสมานแผลต่าง ๆ
2) รสหวาน สรรพคุณ ซึมซาบไปตามผิว
3) รสเบื่อเมา สรรพคุณ แก้พิษ ดับพิษโลหิต
4) รสขม สรรพคุณ แก้ทางโลหิตและดี
5) รสมัน สรรพคุณ เป็นยาอายุวัฒนะ
6) รสหอมเย็น สรรพคุณ บ ารุงหัวใจ บ ารุงโลหิต
7) รสเค็ม สรรพคุณ ฟอกโลหิต ดับพิษร้อน
8) รสเปรี้ยว สรรพคุณ บ ารุงเลือด แก้กระหายน้ า
9) รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ แก้โรคลม บ ารุงธาตุไฟ
และบางต ารายังได้เพิ่มอีก 1 รส คือ รสจืด สรรพคุณ ดับพิษ แก้ไข้ ขับปัสสาวะแก้
ทางเตโชธาตุพิการ เช่นกันกับการน าสมุนไพรมาใช้ในการควบคุมโรคพืช และแมลงศัตรูพืชนั้น ก็
ต้องมีความเข้าใจในพื้นฐานของฤทธิ์ยาสมุนไพร และสรรพคุณของวัตถุต่าง ๆ ที่จะน ามาใช้ปรุงเป็น
ยาป้องกัน หรือยารักษาโรคพืชรวมทั้งยาฆ่า - ท าลายวงจรชีวิต และป้องกันแมลงด้วยโดยสรรพคุณ
ของตัวยา
สมุนไพรที่ใช้ในการเกษตรสามารถแบ่งออกตามรสของสมุนไพรได้ประมาณ 5 รส คือ
1) สมุนไพรรสขม ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ป้องกันแมลง อาทิเช่น ฟ้าทลายโจร บอระเพ็ด
สะเดา และหญ้าใต้ใบ
2) สมุนไพรรสเบื่อเมา ฆ่าหนอนเพลี้ย แมลงอื่น ๆ อาทิเช่น หางไหล หนอนตาย
หยาก ขอบชะนางแดง - ขาว ใบน้อยหน่า สลัดได พญาไร้ใบ แสยก และเมล็ดมะกล่ า
3) สมุนไพรที่มีรสฝาด แก้เชื้อราโรคพืช อาทิเช่น เปลือกแค เปลือกมังคุด ใบฝรั่ง
และใบทับทิม
4) สมุนไพรหอมระเหย ไล่แมลง เปลี่ยนกลิ่นต้นพืช อาทิเช่น ตะไคร้หอม สาบเสือ
โหระพา กะเพรา ผักชี กะทกรก สาบแร้งสาบกา และผักแพรวแดง
5) สมุนไพรที่มีรสเปรี้ยว ไล่แมลง แสบร้อน อาทิเช่น เปลือกส้ม มะกรูด มะนาว และ
มะขาม
วิธีการปรุง
หรือสกัดยาสมุนไพร เพื่อใช้ในการเกษตร สามารถประยุกต์เทคนิคการปรุง หรือสกัด
ยาสมุนไพร เพื่อน ามาใช้ในการเกษตรได้หลายวิธี อาทิเช่น
1) บดผง น าไปโรย หรือคลุมดินป้องกันศัตรูพืช
2) แช่น้ า (1 - 2 วัน) น าไปฉีดพ่น
3) ดองเหล้า (1 - 3 วัน) น าไปฉีดพ่น
4) ต้ม น าไปฉีดพ่น และรดราด
5) สกัดด้วยไอน้ า และความดัน ซึ่งเป็นเทคนิคต้องใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่แข็งแรง
6) การหมัก ซึ่งเป็นวิธีการที่ประหยัด และเก็บรักษาสรรพคุณของยาไว้ได้ทนนาน
นอกจากนี้ยังได้สารฮอร์โมน วิตามินและแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์ ต่อพืชอีกด้วย
สมุนไพรสูตร (ต ารับ)
ใช้เป็นสารไล่แมลง และบ ารุงพืชที่ก าลังได้รับความนิยมใช้กันโดยทั่วไป กว่า 60
จังหวัดทั่วประเทศ พอจะประมวลประสบการณ์จากศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง จังหวัดชลบุรี
มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ศูนย์กสิกรรมสมุนไพรวังจันทร์ จังหวัดระยอง ศูนย์เรียนรู้ชุมชน กลุ่ม
ปุ๋ยชีวภาพ งานวิชาการเกษตร ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชด าริ
จังหวัดจันทบุรี โครงการเกษตรอินทรีย์สุรินทร์ เครือข่ายกสิกรรมไร้สารพิษแห่งประเทศไทย
เครือข่ายชุมชนชาวอโศก พอสรุปได้ดังนี้สารสมุนไพร ก าจัดเพลี้ยชนิดต่าง ๆ เช่น เพลี้ยอ่อน
เพลี้ยไรแดงเพลี้ยแป้ง เพลี้ยหอย เพลี้ยไฟ เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยกระโดดสีน้ าตาล และหมัดกระโดด
สูตร 1
ส่วนประกอบ
1) หนอนตายหยาก 2 กิโลกรัม
2) บอระเพ็ด 1 กิโลกรัม
3) ขมิ้นชัน 1 กิโลกรัม
4) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
5) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 2 กิโลกรัม
6) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
สับบดสมุนไพรแล้วหมักรวมกันไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 4 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น
สูตร 2
ส่วนประกอบ
1) ว่านน้ า 1 กิโลกรัม
2) สาบเสือ 1 กิโลกรัม
3) ยาฉุน ½ กิโลกรัม
4) ตะไคร้หอม 1 กิโลกรัม
5) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
6) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 กิโลกรัม
7) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
สับบดสมุนไพรหมักรวมกัน 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 4 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น
สูตร 3
ส่วนประกอบ
1) ยาฉุน ½ กิโลกรัม
2) สะเดา ½ กิโลกรัม
3) ข่า 1 กิโลกรัม
4) ตะไคร้หอม 1 กิโลกรัม
5) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
6) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 กิโลกรัม
7) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
สับบดหมักทิ้งไว้ 7 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 5 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น
สูตร 4
ส่วนประกอบ
1) หางไหลสด 1 กิโลกรัม
2) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า ทุบให้แตก แช่น้ า 1 วัน
วิธีใช้ ผสมน้ า 1:20 ฉีดพ่นทุก ๆ 7 วัน
สูตร 5
ส่วนประกอบ
1) ใบเสม็ดขาว 1 กิโลกรัม
2) เหล้า 10 ลิตร
วิธีท า สับบดดองเหล้าไว้ 3 วัน
วิธีใช้ ผสมน้ า ½ ลิตร ต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น
สารสมุนไพร ก าจัดหนอนกระทู้ หนอนชอนใบ หนอนใยผัก หนอนหนังเหนียว
หนอนใต้หนอนเจาะสมอฝ้าย
สูตร 1
ส่วนประกอบ
1) ฟ้าทะลายโจร 1 กิโลกรัม
2) เปลือกหัน 1 กิโลกรัม
3) เปลือกแค 1 กิโลกรัม
4) หางไหล 1 กิโลกรัม
5) ตะไคร้หอม 1 กิโลกรัม
6) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
7) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 ลิตร
8) น้ าสะอาด 15 ลิตร
วิธีท า
สับบดหมักรวมไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 1:100 ฉีดพ่น และรดราด
สูตร 2
ส่วนประกอบ
1) หนอนตายหยาก 1 ลิตร
2) โทงเทง 1 ลิตร
3) สาบเสือ 1 ลิตร
4) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
5) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 ลิตร
6) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
สับบดหมักทิ้งไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 1:100 ฉีดพ่นและรดราด
สารสมุนไพรก าจัดโรคพืช
สูตร 1
ส่วนประกอบ
1) เปลือกแค 1 กิโลกรัม
2) กระเทียม 1 กิโลกรัม
3) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
4) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 ลิตร
5) น้ าสะอาด 1 กิโลกรัม
วิธีท า
สับบดหมักไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 1:100-1:200 ฉีดพ่นและรดราด
สูตร 2
ส่วนประกอบ
1) ว่านหางจระเข้ 1 กิโลกรัม
2) ใบดอกรัก 1 กิโลกรัม
3) กระเทียม 1 กิโลกรัม
4) ขมิ้นชัน 1 กิโลกรัม
5) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
6) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 กิโลกรัม
7) น้ าสะอาด 15 ลิตร
วิธีท า
สับบดหมักไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 1:100 - 1:200 ฉีดพ่นและรดราด
สูตร 3
ส่วนประกอบ
1) ว่านหางจระเข้ 200 กรัม
2) กระเทียม 200 กรัม
3) น้ าสบู่ 4 ช้อนโต๊ะ
4) น้ าส้มสายชู 100 ซี.ซี.
5) น้ าสะอาด 20 ลิตร
วิธีท า
สับบด หมักไว้ 7 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 4 ช้อนต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น ทุก ๆ 7 วัน
สารสมุนไพร ก าจัดหอยเชอรี่
ส่วนประกอบ
1) น้ าปูนใส 1 ลิตร
2) มะกรูด 1 กิโลกรัม
3) กระเทียม 1 กิโลกรัม
4) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
5) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 กิโลกรัม
6) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
หมักมะกรูด กระเทียม หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น น้ าตาล และน้ า รวมกันไว้ 7 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ าปูนใส กับส่วนผสมที่หมักไว้ ในอัตราส่วน 1: 1 หยดลงในนาที่มีหอยเชอรี่
หมายเหตุ การฉีดพ่นสมุนไพรก าจัดโรค และแมลงควรฉีดพ่นในช่วงเช้ามือ หรือช่วงเย็น ๆ ถ้า
มีโรคระบาด หรือแมลงระบาด ควรฉีดพ่น และรดราดดินติดต่อกันทุกวัน เป็นเวลา 3 วัน
ติดต่อกันอย่างไรก็ตามการควบคุมโรค และแมลงให้ได้ผลดีควรท าทั้งการอนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติ
และการใช้สมุนไพรควบคู่กันไปจนกว่าธรรมชาติในแปลงจะสมดุล
สารสมุนไพร จากสะเดา
ส่วนผสม
1) สะเดาทั้ง 5 2 กิโลกรัม (ได้เมล็ดด้วยยิ่งดี)
2) บอระเพ็ดทั้ง 5 4 กิโลกรัม
3) ข่าทั้ง 5 1 กิโลกรัม
4) ตะไคร้หอมทั้ง 5 1 กิโลกรัม
5) หางไหล หรือโล่ติ้น 1 กิโลกรัม
6) ผลไม้สุก 3 ชนิด 1 กิโลกรัม (กล้วยสุก มะละกอสุก ฟักทอง
อย่างละเท่า ๆ กัน)
7) ยาฉุน 2 กิโลกรัม
8) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
9) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 3 กิโลกรัม
10) น้ าสะอาด 40 ลิตร
วิธีท า
หั่น หรือสับสะเดา บอระเพ็ด ข่า ตะไคร้หอม หางไหล และผลไม้สุก ให้ได้ความ
ยาวประมาณ 1 - 2 ข้อมือ ผสมน้ าสะอาด กับน้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาลใส่ลงในถังหมัก
น าส่วนผสมที่หั่น หรือสับแล้วใส่ลงในถังหมักปิดฝาให้สนิทและเก็บไว้ในที่ร่ม 1 เดือน
วิธีใช้
ผสมน้ าหมัก 1 ลิตร ต่อน้ าสะอาด 300 ลิตร ฉีดพ่นในเวลาเช้ามืด หรือหลัง
ตะวันตกดิน
หมายเหตุ ได้ประโยชน์ทั้งเป็นสารขับไล่แมลง เป็นฮอร์โมนบ ารุงพืชให้ติดดอกออกผลดี และยัง
เป็นปุ๋ย อินทรีย์ชีวภาพอีกด้วย
เทคนิคส าคัญในการผลิต และการใช้สารสกัดสมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพ
1 การหมักสารสกัดสมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพ ควรหมักในถังพลาสติกที่มีฝาปิดสนิท
และควรมีลักษณะทึบแสง
2 ควรเก็บรักษาไว้ในที่ร่ม ไม่ควรโดนแสงแดด
3 ตลอดระยะเวลาการหมักไม่ควรเปิดฝาก่อนถึงเวลา เพราะอาจท าให้การหมักไม่
สมบูรณ์ น ามาใช้ประโยชน์ไม่ได้ แต่ในกรณีถ้าถังบวมมาก จนอาจระเบิดได้ ก็อนุโลมให้แง้มฝา
เล็กน้อย เพื่อปล่อยก๊าซออกบ้าง แล้วให้รีบปิดให้สนิทเหมือนเดิม
4 ควรคลุมดิน (อย่าเปลือยดิน) โดยใช้เศษฟาง เศษใบไม้ หรือวัชพืชจ าพวกหญ้า
ต่าง ๆ คลุมให้ทั่วบริเวณใต้ทรงพุ่ม หรือเลยออกมาเล็กน้อย ควรเว้นระยะห่างจากโคนต้น
ประมาณ 1 คืบ และหนาประมาณ 1 ฝ่ามือ
5 การฉีดพ่นใบ หรือรดราดดิน ควรผสมตามอัตราส่วนที่ก าหนดและควรฉีดพ่น
หรือรดราดลงบนดินให้ทั่วบริเวณทรงพุ่ม โดยฉีดพ่น หรือรดราดลงบนเศษฟาง หรือใบไม้กิ่งไม้ที่
คลุมดินอยู่
6 ไม่ควรใช้ยาฆ่าหญ้า เพราะจะท าให้ประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพรอินทรีย์
ชีวภาพลดลง ให้ใช้การตัดหรือนาบแทน
7 ไม่ควรใช้ร่วมกับสารเคมี หรือยาฆ่าแมลง เพราะประสิทธิภาพของสารสกัด
สมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพจะลดลง และสิ่งส าคัญ คือ แมลงที่เป็นประโยชน์ต่าง ๆ (ตัวห้ า ตัวเบียน)
จะตายลง
ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านชุมชนปฐมอโศก ตั้งอยู่เลขที่ 66 หมู่ 5 ต าบลพระประโทน อ าเภอเมือง
จังหวัดนครปฐม
คุณสมบัติของสมุนไพรแต่ละชนิดในการป้องกันและก าจัด (แมลงโรคพืช)
พืชสมุนไพร
หางไหล : หนอนกินช่อ เพลี้ยไฟ ไรขาว ไรแดง เพลี้ยจักจั่น
ขมิ้นชัน : ดวงเจาะเมล็ด ด้วงงวงข้าว มอดข้าวเปลือก หนอนกระทู้ ไรแดง
สบู่ต้น : หนอนชอนใบ หนอนม้วนใบ หนอนแปะใบ หนอนแก้ว
ตะไคร้หอม : หนอนกระทู้ หนอนคืบ หนอนใย หนอนหลอด ราน้ าค้าง หนอนม้วน
ใบ ราแป้ง หนอนเจาะยอด / ดอก / ผล ราสนิม
กระเทียม : เพลี้ยอ่อน หนอนกระทู้ ราน้ าค้าง ราแป้ง ราสนิม
ใบมะเขือเทศสด : ด้วงหมัดผัก หนอนเจาะต้น ไส้เดือนฝอย รา / แบคทีเรียบางชนิด
หนอนใย
ยาสูบ / ยาฉุน : เพลี้ย ไร รา ด้วงหมัดผัก ด้วงเจาะสมอ หนอนกระ หล่ า หนอน
ชอนใบ หนอนมวนใบ หนอนกระทู้
พริกสด : โรคจากไวรัสทุกชนิด ขับไล่แมลง
ใบแก่มะรุม : (ใช้รองก้นหลุม) ราในดิน รากเน่า โคนเน่า ผลเน่า (แตง _ ฟัก) เน่า
คอดิน แง่งขิงเน่า
สาบเสือ : หนอนกระทู้ หนอนใย เพลี้ยกระโดด เพลี้ยไฟ เพลี้ยจักจั่น
แมลงโรคพืช
เพลี้ยไฟ : ใช้พืชสมุนไพร หางไหล สะเดา ยาสูบ ยาฉุน สาบเสือ ตะไคร้หอม /
แกง ใบดาวเรือง กระเทียม ข่า พริก ดีปลี
แมลงหวี่ขาว : ใช้พืชสมุนไพร กระเทียม พริก มะกรูด ขึ้นฉาย ตะไคร้หอม /
แกง
หมัดกระโดด : (ใช้ทางใบ)ตะไคร้หอม/แกงขิง ข่า พริก ใบน้อยหน่า หางไหล หนอน
ตายหยาก (ใช้ทางดิน) สะเดา เมล็ดน้อยหน่า ตะไคร้หอม / แกง ยาฉุน
เพลี้ยอ่อน : ใช้พืชสมุนไพร สะเดา ยาสูบ ยี่หร่า หางไหล (เหล้าขาว +
น้ าส้มสายชู)
เพลี้ยแป้ง : ใช้พืชสมุนไพร ยาสูบ ยาฉุน สะเดา บอระเพ็ด ตะไคร้หอม / แกง
สาบเสือ กระเทียม (ไวท์ออย + น้ ามันก๊าซ)
รากเน่าโคนเน่า : ใช้พืชสมุนไพร เปลือกมะม่วงหิมพานต์ เทียนหยด ราก หม่อน
ผลเน่า : ใช้พืชสมุนไพร ต้นกระดูกไก่ด า / ขาว ว่านน้ า ตะไคร้หอม กระ
เพรา โหระพา ใบยูคาลิปตัส
ไส้เดือนฝอย : ใช้พืชสมุนไพร สะเดา ละหุ่ง ใบยูคาลิปตัส สาบเสือ แขยง เลี่ยน
ปะทัดจีน ใบดาวเรือง ตะไคร้หอม
โรคเน่าคอดิน: ใช้พืชสมุนไพร ใบมะรุมแห้ง กระเทียม ผิวมะกรูด รากหม่อน
โรคเหี่ยว : ใช้พืชสมุนไพร เปลือกเงาะ ขึ้นฉาย ใบมะรุมแห้ง
โรคใบจุด : ใช้พืชสมุนไพร ว่านน้ า ใบกระดูกไก่ด า / ขาว ลูกประค าดีควาย
เปลือก มะม่วงหิมพานต์

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
ทุเรียน ผลใหญ่ ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์ 0-0-60 โพแทสเซี่ยม สูตรเร่งผล เพิ่มผลผลิต ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก และคุณภาพ
ทุเรียน ผลใหญ่ ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์ 0-0-60 โพแทสเซี่ยม สูตรเร่งผล เพิ่มผลผลิต ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก และคุณภาพ
ทุเรียน ผลใหญ่ ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์ 0-0-60 โพแทสเซี่ยม สูตรเร่งผล เพิ่มผลผลิต ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก และคุณภาพ
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์สำหรับฉีดพ่นต้นทุเรียน: เร่งการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิต

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นปุ๋ยเคมีมาตรฐานสูตรโพแทสเซี่ยมคลอไรด์ 100% อุดมไปด้วยโพแทสเซียม เหมาะสำหรับการบำรุงต้นทุเรียนในช่วงก่อนการติดดอก ออกดอก และติดผล ช่วยให้ต้นทุเรียนเจริญเติบโตอย่างแข็งแรง เร่งการสะสมอาหาร เพิ่มขนาดผล เพิ่มน้ำหนัก และส่งผลดีต่อคุณภาพของผลผลิต

คุณสมบัติเด่นของปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60

โพแทสเซียมสูง: โพแทสเซียมมีบทบาทสำคัญในกระบวนการสังเคราะห์แสง ช่วยให้ต้นทุเรียนสร้างอาหารได้มากขึ้น ส่งผลดีต่อการเจริญเติบโตของลำต้น ใบ และราก
เร่งการติดดอก ออกดอก: โพแทสเซียมช่วยกระตุ้นการสร้างฮอร์โมนเพศชายในพืช ช่วยให้ต้นทุเรียนติดดอก ออกดอกดก
เพิ่มขนาดผล เพิ่มน้ำหนัก: โพแทสเซียมช่วยในการขนส่งน้ำตาลและอาหารไปยังผล ช่วยให้ผลทุเรียนมีขนาดใหญ่ น้ำหนักดี
ส่งผลดีต่อคุณภาพ: โพแทสเซียมช่วยเพิ่มความหวานของเนื้อทุเรียน ช่วยให้เปลือกหนา ทนทานต่อการขนส่ง

วิธีการใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60
ช่วงก่อนการติดดอก: ละลายปุ๋ย 25 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นใบและลำต้น
ช่วงออกดอก: ละลายปุ๋ย 25 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นใบและลำต้น
ช่วงติดผล: ละลายปุ๋ย 25 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นใบและลำต้น

ข้อควรระวัง
ควรอ่านฉลากก่อนใช้
สวมอุปกรณ์ป้องกันเมื่อใช้ปุ๋ย
เก็บปุ๋ยให้พ้นมือเด็กและสัตว์เลี้ยง
ไม่ควรใช้ปุ๋ยเข้มข้นเกินไป

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นปุ๋ยเคมีมาตรฐานที่เหมาะสำหรับการบำรุงต้นทุเรียน ช่วยให้ต้นทุเรียนเจริญเติบโตอย่างแข็งแรง เร่งการติดดอก ออกดอก เพิ่มขนาดผล เพิ่มน้ำหนัก และส่งผลดีต่อคุณภาพของผลผลิต

หมายเหตุ: ข้อมูลในบทความนี้อ้างอิงจากแหล่งข้อมูลทั่วไป เกษตรกรควรศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมและปรึกษาผู้เชี่ยวชาญก่อนตัดสินใจใช้ปุ๋ย

🌿ฉีดพ่นทางใบ อัตราผสม 25 กรัม(2ช้อนโต๊ะ) ต่อน้ำ 20 ลิตร

ถัง 16-20 ลิตร ใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 25 กรัม (2ช้อนโต๊ะ)

ถัง 200 ลิตร ใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 250 กรัม (1ส่วน4ถุง)
.
🌳ปุ๋ยทางใบสูตรสูง 3สูตรหลัก ที่ใช้ได้กับทุกพืช
.
∞ ผสมปุ๋ยทางใบเป็นสูตรต่างๆได้ตามต้องการ
» เราพัฒนาระบบคำนวณสูตรผสมปุ๋ยให้ใช้ฟรี
» ใช้ปุ๋ย 3สูตรหลักด้านบน ผสมได้หลากหลายสูตรสูง ใช้ได้กับทุกพืช
£ มีเอกสารแนบวิธีการผสมลงในกล่อง

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 1 ถุง บรรจุ 1 กิโลกรัม ผสมน้ำได้ 800 ลิตร ใช้ได้ประมาณ 10 ไร่

📌สั่งซื้อ สอบถาม

»โทร 097-918-3530
»ไลน์ janemini1112

🔎ซื้อกับลาซาด้า ช้อปปี้
.
» ซื้อสินค้า ที่ช้อปปี้:http://ไปที่..link..
.
» ซื้อสินค้า ที่ลาซาด้า: http://ไปที่..link..
อ่าน:3676
ควบคุมวัชพืชในไร่ถั่วลิสงด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG): วิธีการและคำแนะนำ
ควบคุมวัชพืชในไร่ถั่วลิสงด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG): วิธีการและคำแนะนำ
ควบคุมวัชพืชในไร่ถั่วลิสงด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG): วิธีการและคำแนะนำ
การควบคุมวัชพืชในไร่ถั่วลิสงเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อผลผลิตและคุณภาพของผลผลิตที่ได้ การใช้สารป้องกันกำจัดวัชพืช (herbicides) เป็นหนึ่งในวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงในการจัดการกับปัญหานี้ ในบทความนี้เราจะพูดถึงการใช้คาร์รอน (Diuron 80% WG) เพื่อควบคุมวัชพืชในไร่ถั่วลิสงอย่างมีประสิทธิภาพ.

1. การทราบวัชพืชที่ต้องกำจัด:
ก่อนการใช้คาร์รอน ควรทราบวัชพืชที่เจอในไร่ถั่วลิสงในพื้นที่ของคุณ โดยระบุว่ามีวัชพืชใบกว้างหรือใบแคบ และระบุชนิดของวัชพืชนั้นๆ เพื่อเลือกใช้คาร์รอนในปริมาณและรูปแบบที่เหมาะสม.

2. การตรวจสอบสภาพแวดล้อม:
ตรวจสอบสภาพแวดล้อมรอบตัวของไร่ถั่วลิสง เช่น อุณหภูมิ ความชื้น และสภาพดิน เพื่อให้การใช้คาร์รอนมีประสิทธิภาพที่สูง.

3. วิธีการใช้คาร์รอน:

วัชพืชใบแคบ: ใช้คาร์รอนในปริมาณที่แนะนำบนฉลากผลิตภัณฑ์ ผสมกับน้ำในอัตราที่ถูกต้อง และพ่นทางใบวัชพืชใบแคบ โดยการใช้เครื่องพ่นที่สามารถกระจายสารได้อย่างทั่วถึง.

วัชพืชใบกว้าง: การใช้คาร์รอนในที่นี้ควรใช้ในระบบป้องกันกำจัดวัชพืชก่อนการปลูกถั่วลิสงหรือหลังจากที่ถั่วลิสงอายุเพียงไม่กี่วัน เพื่อป้องกันการกระจายของสารไปที่ถั่วลิสง.

4. ควรระวังกับสารตกค้าง:
คาร์รอนอาจทำให้สารตกค้างในดิน จึงควรระวังในการใช้สารนี้ในพื้นที่ที่มีระบบรากของพืชอื่นๆ ที่ไม่ต้องการคาร์รอน เพื่อป้องกันการเกิดผลกระทบต่อพืชที่ไม่ต้องการ.

5. การติดตามผล:
ติดตามผลของการใช้คาร์รอนในไร่ถั่วลิสงอย่างสม่ำเสมอ โดยการตรวจสอบการกำจัดวัชพืชและผลผลิตของถั่วลิสง และปรับปรุงวิธีการใช้ต่อไปตามผลลัพธ์ที่ได้.

การใช้คาร์รอน (Diuron 80% WG) เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชในไร่ถั่วลิสง แต่ควรใช้ตามคำแนะนำการใช้งานและความระมัดระวังที่ได้กล่าวถึง เพื่อประสิทธิภาพที่สูงและป้องกันผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและพืชอื่นๆ ในพื้นที่.


📌สั่งซื้อ สอบถาม

»โทร 097-918-3530
»ไลน์ janemini1112

🔎ซื้อกับลาซาด้า ช้อปปี้
.
» ซื้อคาร์รอน ที่ช้อปปี้: http://ไปที่..link..
.
» ซื้อคาร์รอน ที่ลาซาด้า: http://ไปที่..link..
อ่าน:3676
ป้องกัน กำจัด แมลงหวีขาว เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ แมลงศัตรู กัญชา และ กัญชง
ป้องกัน กำจัด แมลงหวีขาว เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ แมลงศัตรู กัญชา และ กัญชง
การใช้สารอินทรีย์ปลอดภัย ในการป้องกันกำจัดเพลี้ย แมลงหวี่ขาวในกัญชา และกัญชงนั้น การป้องกัน โดยการฉีดพ่นไว้เป็นระยะ จะได้ผลดีกว่าการกำจัด เนื่องจากเมื่อเวลาที่มีการระบาดมากแล้ว บริเวณข้างเคียงก็จะมีการระบาดด้วย เพื่อเราฉีดพ่นสารอินทรีย์ แม้ว่าจะป้องกันกำจัด เพลี้ย แมลงหวี่ขาวในแปลงเราแล้ว สามสี่วันถัดมา พวกที่ระบาดอยู่รอบนอก ในแปลงข้างเคียง หรือในตำบลใกล้ๆกัน ก็อาจจะระบาด และแพร่กระจายมาที่สวน หรือไร่ของเราอีก

ฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ป้องกันและกำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช ผสมกับ FK-1 เพื่อบำรุงให้พืชฟื้นฟูจากการเข้าทำลายได้ดีขึ้น และสร้่างภูมิต้านทานให้กับ กัญชา กัญชง ทุก 3-5 วันในกรณีที่ระบาดแล้ว หรือทุก 15-30 วัน ในกรณีเพื่อป้องกันการระบาด
อ่าน:3676
ชมพู่ ใบไหม้ ใบจุด รากเน่าโคนเน่า ราสีชมพู ผลเน่า เชื้อราต่างๆ ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วยปุ๋ย FK-T
ชมพู่ ใบไหม้ ใบจุด รากเน่าโคนเน่า ราสีชมพู ผลเน่า เชื้อราต่างๆ ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วยปุ๋ย FK-T
ชมพู่ ใบไหม้ ใบจุด รากเน่าโคนเน่า ราสีชมพู ผลเน่า เชื้อราต่างๆ ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วยปุ๋ย FK-T
ไอเอส: ยารักษาโรคชมพู่ ปลอดภัยด้วยเทคโนโลยีอีออนคอลโทรล

ต้นชมพู่ ไม้ผลยอดนิยมของคนไทย มักประสบปัญหาโรคพืชร้ายแรง โดยเฉพาะโรคที่เกิดจากเชื้อรา เช่น ใบไหม้ ใบจุด รากเน่าโคนเน่า ราสีชมพู ผลเน่า โรคราต่างๆ ปัญหานี้สร้างความเสียหายให้กับสวนชมพู่ ส่งผลต่อผลผลิตและรายได้ของเกษตรกร

ไอเอส ยาป้องกันกำจัดโรคชมพู่สูตรพิเศษ มาพร้อมเทคโนโลยี อีออนคอลโทรล สารอินทรีย์ 100% ปลอดภัยต่อผู้ใช้ สัตว์เลี้ยง และสิ่งแวดล้อม ช่วยจัดการกับโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนี้

ใบไหม้ ใบจุด: ไอเอสช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราที่ทำให้ใบไหม้ ใบจุด ฟื้นฟูใบให้กลับมาเขียวชอุ่มอีกครั้ง
รากเน่าโคนเน่า: ป้องกันเชื้อราที่ทำลายราก ต้นไม่เน่าตาย รักษาสมดุลของระบบดิน
ราสีชมพู: ขจัดราสีชมพูที่ลุกลามบนผลชมพู่ ปกป้องผลผลิตให้สวยงาม ไร้รอยด่าง
ผลเน่า: ยับยั้งเชื้อราที่ทำให้ผลเน่าเสีย รักษาคุณภาพผลผลิตให้นานขึ้น
โรคราต่างๆ: ไอเอสออกฤทธิ์กว้างขวาง ป้องกันและกำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราได้หลากหลายชนิด

เสริมพลังด้วย FK-ธรรมชาตินิยม

FK-ธรรมชาตินิยม ปุ๋ยอินทรีย์สูตรพิเศษ ผลิตจากวัตถุดิบธรรมชาติ 100% ช่วยฟื้นฟูต้นชมพู่ที่อ่อนแอจากโรคพืช ส่งเสริมการเจริญเติบโต เร่งการแตกใบ ออกดอก และติดผล

การใช้ไอเอสและ FK-ธรรมชาตินิยม ร่วมกัน ช่วยให้ต้นชมพู่ของคุณแข็งแรง ปราศจากโรคพืช ผลผลิตดกโต คุณภาพดี

ไอเอส ทางเลือกใหม่สำหรับเกษตรกรยุคใหม่ ที่ต้องการดูแลสวนชมพู่ด้วยวิธีที่ปลอดภัยต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม

ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อราสกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับ ที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อราอีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้

💦อัตราผสมใช้ ไอเอส
» ไอเอส 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
» ฉีดพ่นทางใบ
» ระยะรักษา ทุก 2-3 วันต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง
» ระยะป้องกันทุก 15-30 วัน

📌สั่งซื้อ สอบถาม

»โทร 097-918-3530
»ไลน์ janemini1112

🔎ซื้อกับลาซาด้า ช้อปปี้
.
» ซื้อสินค้า ที่ช้อปปี้:http://ไปที่..link..
.
» ซื้อสินค้า ที่ลาซาด้า:http://ไปที่..link..
อ่าน:3675
3576 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 357 หน้า, หน้าที่ 358 มี 6 รายการ
|-Page 31 of 358-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 | 358 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ทุเรียน โตไว ใบเขียว ผลใหญ่ น้ำหนักดี ฉีดพ่น ปุ๋ย FK-1 ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/03/25 10:20:51 - Views: 3483
ปุ๋ยบำรุงพืช โตไว ใบสวย ผลผลิตดี ระบบรากแข็งแรง ปลูกเยอะใช้ FK-1 ปลูกน้อยใช้ FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/10/13 21:28:12 - Views: 3694
คู่มือป้องกันกำจัดโรคขนุน ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคใบไหม้ ขนุนผลเน่า เชื้อราต่างๆ
Update: 2566/04/30 10:12:58 - Views: 3578
เสาวรสผลเน่า เป็นแผลฉ่ำน้ำที่ใบ เกิดจากโรครา จำพวกไฟท็อปโทร่า หรือแอนแทรคโนส หรือเจอหนอน เจอเพลี้ย แก้ยังไงดี?
Update: 2563/02/22 11:21:00 - Views: 3746
โรคเหี่ยวกล้วย หรือโรคตายพราย หรือ โรคปานามา (Fusarium Wilt Disease)
Update: 2564/08/19 11:49:43 - Views: 3563
ท้าวเวสสุวรรณ เหล็กน้ำพี้ ค้าขายดี ทรัพย์สมบัติมั่นคง เสริมมงคล ป้องกันคุณไสยและสิ่งเลวร้าย ปกป้องคุ้มครองผู้บูชา
Update: 2567/02/19 13:57:17 - Views: 3533
โรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน ใบที่ยอดกิ่งมีสีซีด ไม่มันเงา เพราะรากเน่า แก้ด้วยไอเอส
Update: 2562/09/11 14:11:13 - Views: 3906
เพลี้ย เพลี้ยจะใช้ปากดูดสารอาหารจากยางหรือของเหลวจากต้นไม้ เป็นเหตุให้ผลผลิตพืชเสียหาย
Update: 2563/11/11 20:33:44 - Views: 3513
คำนิยม - ลูกค้า ไอกี้บีที กำจัดหนอนปลอดสารพิษ
Update: 2562/09/15 21:25:45 - Views: 3441
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 : ตัวช่วยเร่งแป้ง เพิ่มน้ำตาล ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มความหวาน ให้กับต้นอ้อยของคุณ
Update: 2567/03/02 14:34:33 - Views: 3647
เทคโนโลยีสุดล้ำ กับ การพัฒนาประเทศญี่ปุ่น
Update: 2555/07/31 14:40:33 - Views: 3527
หนอนมะม่วง หนอนเจาะผลมะม่วง หนอนเจาะลำต้นมะม่วง หนอนต่างๆ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
Update: 2564/09/19 23:13:53 - Views: 3666
การจัดการและป้องกันหนอนในต้นฝรั่ง: วิธีการแก้ไขปัญหาที่พบบ่อย
Update: 2566/11/10 10:36:16 - Views: 3646
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสนิม ในกัญชา กัญชง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/21 12:16:40 - Views: 3689
🎗เพลี้ยไฟกุหลาบ
Update: 2564/08/30 11:02:47 - Views: 3779
ปัญหาหนอนในต้นฝรั่ง: วิธีแก้ไขและป้องกัน
Update: 2566/11/20 09:57:58 - Views: 3523
ข้าวโพด ฝักใหญ่ เมล็ดเต็ม ผลผลิตดี มีน้ำหนัก อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/30 16:04:37 - Views: 3531
โรคใบด่างในเสาวรส เสาวรสใบด่าง เกิดจากเชื้อไว้รัส ไม่มียารักษาโดยตรง ต้องกำจัดแมลงพาหะ และบำรุงให้แข็งแรง
Update: 2564/06/25 23:05:41 - Views: 3890
โรคใบติดทุเรียน ราดำทุเรียน ทุเรียนโคนเน่า ป้องกันกำจัด ไม่ให้ลุกลาม บำรุงให้ฟื้นตัว
Update: 2567/03/12 10:41:21 - Views: 3514
มะเขือใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ใบเหลือง ใบแห้ง โรคราต่างๆในมะเขือ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/07 22:48:49 - Views: 3872
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022