[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3569 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 9 รายการ

 
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO: เร่งการออกดอกและเร่งราก สำหรับต้นดอกรัก
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO: เร่งการออกดอกและเร่งราก สำหรับต้นดอกรัก
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO: เร่งการออกดอกและเร่งราก สำหรับต้นดอกรัก
การเพาะปลูกต้นไม้และพืชดอกต้องการบำรุงทางดินที่เหมาะสมเพื่อเร่งการเจริญเติบโตและการออกดอกอย่างสมบูรณ์ ในกระบวนการนี้ ปุ๋ยมี percular role เนื่องจากมีส่วนสำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้พลังงานแสงอาทิตย์เข้าสู่กระบวนการสร้างอาหารผ่านทางใบและเสริมสร้างรากเพื่อเพิ่มพื้นที่ที่สามารถดูดซึมธาตุอาหารในดินได้มากขึ้น

ซึ่งสิ่งที่ทำให้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO เป็นตัวเลือกที่สมบูรณ์แบบสำหรับการใช้ในการเพาะปลูกต้นไม้และพืชดอก โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้นดอกซึ่งต้องการสภาพอากาศและสภาพดินที่เหมาะสมเพื่อการเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์และการออกดอกที่สมบูรณ์แบบ

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO เป็นปุ๋ยหลายทางที่มีสารอาหารสำคัญที่ช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะในขั้นตอนของการออกดอกและการเร่งรากของต้นดอก สูตร 10-40-10 นี้มีส่วนประกอบหลักที่สำคัญดังนี้

ไนโตรเจน (N): มีสัดส่วนต่ำเพื่อช่วยเร่งการออกดอกและการพัฒนาดอกอย่างสมบูรณ์ โดยเฉพาะในขั้นตอนของการสร้างสรรค์สมรรถนะของดอก

ฟอสฟอรัส (P): มีสัดส่วนสูงเพื่อเสริมสร้างรากและส่งเสริมการเจริญเติบโตของต้นไม้และพืชดอก ทำให้พืชมีระบบรากที่แข็งแรงและมีความสามารถในการดูดซึมธาตุอาหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

โพแทสเซียม (K): เพิ่มความแข็งแรงให้กับพืชในการต้านทานต่อโรคและแมลง ช่วยให้ดอกมีความสมบูรณ์และมีการสร้างเมล็ดที่ดี

MgO: เสริมสร้างโครงสร้างของพืชและช่วยให้พืชมีสีเขียวสดใส

การใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO ในการเพาะปลูกต้นดอกซึ่งต้องการการเจริญเติบโตและการออกดอกที่สมบูรณ์แบบ จะช่วยให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูงสุดออกมา โดยเฉพาะในสภาวะที่มีการออกดอกน้อยหรือมีปัญหาในการพัฒนาดอก การเลือกใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมและมีคุณภาพจึงเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อผลผลิตที่ดีและประสิทธิภาพในการเพาะปลูกพืชของคุณ

🌿ฉีดพ่นทางใบ อัตราผสม 25 กรัม(2ช้อนโต๊ะ) ต่อน้ำ 20 ลิตร

ถัง 16-20 ลิตร ใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 25 กรัม (2ช้อนโต๊ะ)

ถัง 200 ลิตร ใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 250 กรัม (1ส่วน4ถุง)
.
🌳ปุ๋ยทางใบสูตรสูง 3สูตรหลัก ที่ใช้ได้กับทุกพืช
- เร่งโตเร่งต้นเร่งใบเร่งเขียว สูตร 30-20-5
- เร่งระบบราก เร่งดอก สูตร 10-40-10
- เพิ่มผลผลิต ขยายขนาดผล สูตร 15-5-30
.
∞ ผสมปุ๋ยทางใบเป็นสูตรต่างๆได้ตามต้องการ
» เราพัฒนาระบบคำนวณสูตรผสมปุ๋ยให้ใช้ฟรี
» ใช้ปุ๋ย 3สูตรหลักด้านบน ผสมได้หลากหลายสูตรสูง ใช้ได้กับทุกพืช
£ มีเอกสารแนบวิธีการผสมลงในกล่อง

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 1 ถุง บรรจุ 1 กิโลกรัม ผสมน้ำได้ 800 ลิตร ใช้ได้ประมาณ 10 ไร่


📌สั่งซื้อ สอบถาม

»โทร 097-918-3530
»ไลน์ janemini1112

🔎ซื้อกับลาซาด้า ช้อปปี้
.
» ซื้อปุ๋ยสตาร์เฟอร์ ที่ช้อปปี้: http://ไปที่..link..
.
» ซื้อปุ๋ยสตาร์เฟอร์ ที่ลาซาด้า: http://ไปที่..link..
อ่าน:3624
สูตรกำจัดหนอน กำจัดหนอนลำไย กำจัดหนอนลิ้นจี่
สูตรกำจัดหนอน กำจัดหนอนลำไย กำจัดหนอนลิ้นจี่
สูตรกำจัดหนอน กำจัดหนอนลำไย กำจัดหนอนลิ้นจี่
ศูนย์บริหารศัตรูพืช กรมส่งเสริมการเกษตร แจ้งเตือนเกษตรกรชาวสวนลําไยและลิ้นจี่ ในภาคเหนือ ให้ระวังการระบาดของหนอนเจาะขั้วผลลําไยและลิ้นจี่ซึ่งหนอนเจาะขั้วผลลําไยและลิ้นจี่จะเข้าทําลายผลผลิตในสองระยะ คือระยะเริ่มติดผลได้ประมาณ 1.5 – 2 เดือน และระยะที่ผลโตใกล้เก็บเกี่ยวผลผลิต

โดยรูปร่างลักษณะตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืนมีขนาดเล็กมาก เมื่อกางปีกสีเทาดํา ปลายปีกสีเหลือง มีขน สีดําปีกคู่หลังมีขนรอบปีก หนวดยาวกว่าลําตัว ตัวหนอนมีสีขาวนวล บางครั้งมีสีเขียวอ่อนขึ้นอยู่กับอาหารที่กิน ลําตัวเป็นปล้องเห็นชัดเจน หนอนเจริญเติบโตเต็มที่มีขนาดยาว 8 – 9 มิลลิเมตร หนอนจะใช้ปากชักใยคล้ายกับแผ่นพลาสติกใสหุ้มตัวเองอ่ภายใน ตามใบลิ้นจี่ที่ต้น และใบที่ร่วงหล่นอยู่ตามพื้นดิน หรือตามใบหญ้า ระยะดักแด้ประมาณ 7 – 8 วัน

การระบาดมี2 ระยะๆ แรกเมื่อเริ่มติดผลได้ประมาณ 1.5 – 2 เดือน หนอนจะเจาะเข้าไปกัดกินอยู่ภายในเมล็ด มองดูภายนอกจะไม่เห็นรอยทําลายเลยเมื่อผ่าดูจะเห็นรอยทําลาย ทำให้ผลถูกหนอนทําลายไม่สามารถเจริญเติบโตต่อไปได้ และร่วงหล่นจนหมด ระยะที่สองเมื่อผลมีขนาดโตขึ้นหนอนจะเจาะกินบริเวณขั้วผล บริเวณใกล้ขั้วจะพบรูเล็กๆ ปรากฏอยู่

สำหรับวิธีการป้องกันกําจัด ถ้าพบหนอนหรือรอยทําลาย ให้เก็บผลที่ร่วงทุกวันไปเผาทําลาย สารธรรมชาติใช้สารสกัดจากเมล็ดสะเดา โดยใช้เมล็ดสะเดาบด 1 กิโลกรัมต่อน้ํา 20 ลิตรแช่ทิ้งไว้ 1 คืน นํามากรองด้วยผ้าขาวบางแล้วนําสารสะเดาที่ได้มาผสมกับสารจับใบฉีดพ่นเมื่อพบหนอนเจาะขั้วผล และหยุดพ่นก่อนเก็บเกี่ยวผล 15 วัน

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

หากไม่มีเวลาทำเอง หรือปลูกในปริมาณมาก ใช้ ไอกี้-บีที ซึ่งเป็นแบคทีเรียแกรมบวก สารป้องกันกำจัดหนอน ชีวภาพ ปลอดภัย จากเรานะคะ
ช่วง COVID-19 เกษตรกรให้ความสนใจเพาะปลูก อินทผลัม มากขึ้น
ช่วง COVID-19 เกษตรกรให้ความสนใจเพาะปลูก อินทผลัม มากขึ้น
สถานการณ์ COVID-19 ทำให้หลายคนตกงานช่วงนี้ หันมาดูการทำเกษตร “อินทผลัมเป็นพืชเศรษฐกิจที่กำลังมาแรง” เกษตรกรให้ความสนใจเพาะปลูกกันมากขึ้น เนื่องจากเป็นพืชที่ปลูกง่ายเก็บผลผลิตได้ในระยะเวลานาน “สวนอินทผลัมพลอยชนก” ปั้นชุมชนท่องเที่ยวตำบลไทรใหญ่ จังหวัดนนทบุรี

สำนักข่าวกรมประชาสัมพันธ์ รายงานเมื่อช่วงปลายเดือน ก.ค. 2564 ว่าที่สวนพลอยชนก ตำบลไทรใหญ่ อำเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี ของ ดร.ฉลวย ขันจำนงค์ เจ้าของสวน “สวนอินทผลัมพลอยชนก” กล่าวว่า ปัจจุบันอินทผลัมเป็นพืชเศรษฐกิจที่กำลังมาแรง เกษตรกรให้ความสนใจเพาะปลูกกันมากขึ้น เนื่องจากเป็นพืชที่ปลูกง่ายเก็บผลผลิตได้ในระยะเวลานานให้ผลตอบแทนสูง และสามารถเจริญเติบโตได้ดีในสภาพอากาศร้อนและแห้งแล้ง และสวนอินทผลัมพลอยชนกแห่งนี้ได้เปิดศูนย์เรียนรู้-ท่องเที่ยวเชิงเกษตรต่อไปอีกสวนอินทผลัมครบวงจรและมีคนที่มีความรู้ ความสามารถเชี่ยวชาญ สามารถสอนเทคนิคการปลูกอินทผลัมให้เป็นอาชีพได้ และหากพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวสอดคล้องกับนโยบายแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของจังหวัดก็จะช่วยสร้างรายได้ดึงเม็ดเงินเข้าจังหวัดได้

อินทผลัมเป็นพืชตระกูลปาล์ม มีหลายสายพันธุ์ เติบโตได้ดีในเขตร้อนและแห้งแล้ง ถือเป็นผลไม้ที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ทำให้เกิดกระแสรักสุขภาพ ผู้บริโภคนิยมหาซื้อรับประทาน อีกทั้งเจ้าของสวนยังมีน้อยราย ตลาดที่รับซื้อส่วนใหญ่จะเป็น “ตลาดบน” ตามห้างสรรพสินค้าชั้นนำ

การปลูกอินทผลัม ถึงแม้จะมีต้นทุนการผลิตที่ค่อนข้างสูงกว่าพืชอื่นๆ เมื่อเทียบกับผลตอบแทนที่ได้รับก็ถือว่าคุ้มค่า นอกจากนี้เกษตรกรควรเฝ้าระวังโรคศัตรูพืชและแมลง ที่อาจมาทำลายและส่งผลกระทบต่อคุณภาพของผลผลิตได้ อย่างไรก็ตามหากเกษตรกรที่สนใจปลูกอินทผลัม ควรศึกษาความเหมาะสมของพื้นที่ตนเอง เพราะถึงแม้อินทผลัมจะเป็นพืชที่สามารถเจริญเติบโตได้ดีในภูมิภาคที่มีอากาศร้อนและแห้งแล้ง แต่ยังคงต้องการน้ำอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้ผลผลิตโตอย่างเต็มที่ และมีคุณภาพตรงกับความต้องการของตลาด

ที่มา http://www.farmkaset..link..
ยาแก้โรครา ในถั่วเขียว และถั่วต่างๆ รากำจัดเพลี้ยใน ถั่ว ถั่วเขียว ยากำจัดหนอน และ ปุ๋ยสำหรับ ถั่วต่างๆ
ยาแก้โรครา ในถั่วเขียว และถั่วต่างๆ รากำจัดเพลี้ยใน ถั่ว ถั่วเขียว ยากำจัดหนอน และ ปุ๋ยสำหรับ ถั่วต่างๆ
โรคของถั่วเขียว และ การป้องกันกำจัด

1. โรคใบจุดสีน้ำตาล ในถั่วเขียว (Cercospora Leafs Spot)
โรคนี้พบระบาดในฤดูฝน เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อ Cercospora canescens Ellis & Martin มักเกิดกับถั่วเขียวอายุตั้งแต่ 2 สัปดาห์ หลังการงอก และมีการระบาดมากในช่วงออกดอกจนถึงระยะที่ใกล้เก็บเกี่ยว ลักษณะของโรค คือ ใบเป็นจุดสีน้ำตาล มีลักษณะค่อนข้างกลม ตรงกลางแผลมองเห็นเป็นเส้นใยสีเทา ขนาดแผลเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 มม. – 5 มม. อาจมีลักษณะเป็นวงสีเหลืองรอบแผล ขณะขยายตัว เมื่อแผลชิดกันจะมีลักษณะสีน้ำตาล ผลของโรค คือ ทำให้ฝักลีบ และมีขนาดเล็ก

2. โรคราแป้ง ในถั่วเขียว (Powdery Mildrew)
โรคนี้พบการระบาดในช่วงฤดูหนาวถึงฤดูแล้ง โดยเฉพาะในช่วงที่มีอากาศเย็น เป็นเชื้อราพวก Oidium sp. สปอร์จะได้รับความชื้น และเติบโตสร้างเส้นใยดูดกินน้ำเลี้ยงจากผิวใบของถั่ว ทำให้ใบแห้ง ลักษณะที่พบมักเกิดตามใบล่าง โดยมีเส้นใยของราสีขาวคล้ายผงแป้งบนใบถั่ว ต่อมาใบเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง และแห้งตาย ต้นถั่วเขียวแคระแกรน หากเกิดโรคในระยะออดอกหรือติดฝัก จะทำให้ผลผลิตน้อยลง

การป้องและกำจัด โรคราแป้งในถั่วเขียว ฉีดพ่นด้วย ไอเอส

แมลงศัตรูถั่วเขียว และการป้องกันกำจัด

1. หนอนแมลงวันเจาะต้นถั่ว (bean fly) เกิดจากหนอนแมลงที่วางไข่ ( 50-100 ฟอง/ตัว) ในระยะต้นกล้าหลังงอกใหม่ เมื่อฟักตัวเป็นหนอนจะเข้ากัดกินเนื้อเยื่อตามใบ และลำต้น ทำให้ต้นถั่วตาย หากเป็นต้นถั่วโตแล้ว หนอนจะเข้าเจาะกินลำต้นบริเวณยอด ทำให้ยอดเหี่ยวตาย การป้องกัน และกำจัดทำ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที

2. เพลี้ยอ่อน ใน ถั่วเขียว ถั่วงอก (Aphid) พบระบาดมากในฤดูแล้งหรือฝนทิ้งช่วง โดยเพลี้ยจะเข้าดูดกินน้ำเลี้ยงตามยอดอ่อน ใบอ่อน ช่อดอก และฝักอ่อน ทำให้ยอดหงิกงอ ดอกร่วง ฝักร่วง และต้นแคระแกรน การป้องกันกำจัด ฉีดพ่นด้วย มาคา

3. เพลี้ยไฟ ถั่วเขียว (Thrips) พบระบาดมากในช่วงฝนฝนทิ้งช่วง และแดดร้อน โดยเข้าดูดกินน้ำเลี้ยงจากส่วนยอด และดอก ทำให้ยอดหงิกงอ ใบแห้ง ดอกร่วง ฝักอ่อนร่วงหรือลีบ ไม่ติดเมล็ด ป้องกัน และกำจัดโดยวิธีฉีดพ่นด้วย มาคา

4. หนอนเจาะฝัก (Pod Borers) พบระบาดในปลายฤดูฝนหรือฤดูแล้ง ป้องกัน และกำจัดโดยการฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที

ยาป้องกันกำจัดโรค ยากำจัดเพลี้ย ยากำจัดหนอน ซึ่งใช้ได้กับทุกพืชไร่ พืชสวน ผัก ผลไม้ ที่ปลูกในประเทศไทย

ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

อ้างอิงข้อมูลบางส่วนจาก sites.google.com/site/ phanthuchaynath841/ rokh-khxng-thaw-kheiyw -laea-kar-pxngkan-kacad

อ่าน:3623
ชมพู่เขียวหวาน ชมพู่สีเขียว ป้องกัน โรค แมลง และบำรุง ด้วยสินค้าจากเรา
ชมพู่เขียวหวาน ชมพู่สีเขียว ป้องกัน โรค แมลง และบำรุง ด้วยสินค้าจากเรา
โรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ราน้ำค้าง ใช้ ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่น

บำรุง เร่งโต ส่งเสริมผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หมายเหตุ เกะกล่องออกมา มีสองถุง ถุงนึงเป็นธาตุหลัก อีกถุงเป็นธาตุเสริมพร้อมสารจับใบ ใช้ถุงละ 50กรัม ทั้งสองถุงพร้อมกัน ต่อน้ำ 20ลิตร

ปัญหาเพลี้ย แมลงรบกวน ฉีดพ่น มาคา ในอัตรา 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
อ่าน:3622
ไม้ดอกเป็นโรค ไม้กระถางเป็นโรค ลักษณะอาการโรค ของไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้กระถาง
ไม้ดอกเป็นโรค ไม้กระถางเป็นโรค ลักษณะอาการโรค ของไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้กระถาง
ลักษณะอาการของโรค

อาการของโรคของไม้ดอกกระถาง หรืออาการผิดปกติซึ่งเกิดจากสาเหตุต่าง ๆ ของแสดงอาการได้หลายแบบในเวลาเดียวกัน หรือแสดงอาการผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่งบนต้นพืชต้นเดียวกัน หรือปรากฏอาการบนส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนของต้นพืช เช่น ปรากฏอาการเป็นแผลจุด แผลไหม้ อาการเน่า อาการเหี่ยว บนราก ลำต้น กิ่งก้าน ใบ ดอก ผล เมล็ด หรืออาจปรากฏอาการทั้งต้น

อาการโรคของไม้ดอกไม้กระถาง มีลักษณะอาการผิดปกติได้ ดังนี้

1. อาการที่ราก

1.1 โรครากเน่า รากเกิดอาการเน่าดำหรือสีน้ำตาล เปลือกล่อนหลุดติดมือออกมา เนื่องจากเชื้อโรคเข้าทำลาย เช่น โรครากเน่า เป็นต้น

1.2 โรครากปม รากจะมีอาการพองออกเป็นปม โดยจะพองออกจากภายในรากมิใช่พองออกมาเพียงด้านใดด้านหนึ่ง เช่น โรครากปมของเยอบีร่าและอาฟริกันไวโอเลท

1.3 โรครากแผล เกิดแผลไปตามความยาวของราก โดยมีรอยสีน้ำตาล หรือน้ำตาลเข้ม ต่อมาจะเป็นช่องทางให้เชื้อต่าง ๆ เข้าทำลายซ้ำเติมได้ดีขึ้น สาเหตุของรากแผลส่วนมากเกิดจากการทำลายของไส้เดือนฝอย

1.4 โรครากกุด รากกุดสั้นเป็นกระจุก ไม่ยืดยาวออกตามปกติ เช่น โรครากกุดของเข็มญี่ปุ่นซึ่งเกิดจากการทำลายของไส้เดือนฝอย

2. อาการที่ลำต้นและกิ่งก้าน

2.1 โรคเน่าคอดิน อาการแบบนี้ใช้เรียกเฉพาะกรณีที่เกิดกับต้นกล้า โดยจะพบแผลเน่าบริเวณโคนต้นที่อยู่ติดกับผิวดิน ทำให้ต้นหักล้มและแห้งตายเป็นหย่อม ๆ เช่น ต้นกล้าของไม้ดอกไม้ประดับหลายชนิดที่พบเน่าตายในแปลงเพาะกล้า โรคนี้เกิดจากเชื้อรา

2.2 โรคโคนเน่า อาการเน่ามีแผลเป็นสีน้ำตาลบริเวณโคนต้น ถ้าถากเปลือกดูจะเห็นว่าใต้เปลือกมีอาการเน่าเป็นสีน้ำตาล เช่น โรคโคนเน่าของปาล์มและกล้วยไม้ เป็นต้น ส่วนมากโรคนี้จะเกิดจากเชื้อรา

2.3 โรคลำต้นเน่า แผลที่พบบริเวณโคนต้นจะขยายลุกลามไปรอบลำต้น ทำให้เปลือกรอบ ๆ ลำต้นเน่า และต้นไม้ตายทั้งต้น หรือบางครั้งเชื้อเข้าทำลายบริเวณลำต้นที่มีความชื้นสูงอยู่เสมอ เช่น บริเวณคาคบไม้ โรคนี้ส่วนมากเกิดจากเชื้อรา เช่น โรคลำต้นเน่าของโป๊ยเซียน เป็นต้น

2.4 โรคยางไหล จะมีอาการยางไหลออกมาจากลำต้น โดยบริเวณดังกล่าวจะมีรอยแผลช้ำ มียางไหลออกมาตามรอยแผลนั้น เช่น โรคยางไหลของแคคตัส ซึ่งเกิดจากเชื้อรา

2.5 โรคปุ่มปม เกิดอาการเป็นก้อนปุ่มปมขึ้นบริเวณกิ่งและลำต้น ส่วนมากเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย

3. อาการที่ใบ

3.1 โรคใบจุด เกิดจุดแผลที่ใบ รูปร่างแตกต่างกันไปในรายละเอียด แล้วแต่สาเหตุที่เข้าทำลาย ขนาดของแผลเป็นเพียงจุดบนใบ อาจเกิดกระจายกันทั่วทั้งใบ ถ้าเกิดจุดแผลมาก ๆ อาจจะทำให้ใบแห้งได้ โรคใบจุดของพืชส่วนมากเกิดจากเชื้อราและแบคทีเรีย เช่น โรคใบจุดของเยอบีรา โรคใบจุดของกุหลาบ โรคใบจุดของเบจมาศ เป็นต้น

3.2 โรคใบไหม้ เกิดแผลแห้งตาย มีขนาดของแผลใหญ่กว่าอาการใบจุด ขอบเขตขอบแผลจะกว้างขวางกว่า การไหม้อาจเกิดที่กลางใบ ปลายใบ หรือขอบใบก็ได้ ส่วนมากเกิดจากเชื้อราและแบคทีเรีย เช่น โรคใบไหม้ของเฟื้องฟ้า เป็นต้น

3.3 โรคราสนิมเหล็ก แผลขนาดเล็ก สีสนิมโผล่เป็นตุ่มออกมาจากใบพืช ลักษณะคล้าย ๆ กับสีสนิมเหล็ก เมื่อเอามือลูบดูจะมีสปอร์ของเชื้อราติดมือเป็นสีสนิมเห็นได้ชัด โรคนี้เกิดจากเชื้อรา เช่น โรคราสนิมของทานตะวัน เป็นต้น

3.4 โรคราน้ำค้าง อาการของโรคนี้แตกต่างกัน ซึ่งพอจะแยกออกได้ดังนี้คือ อาการราน้ำค้างในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มักพบอาการใบลายสีเหลืองเขียวสลับกันตามความยาวของใบ ถ้าอากาศชื้น ๆ อุณหภูมิพอเหมาะจะพบผงสปอร์ของเชื้อสีขาว ๆ เกาะติดที่ใบ ในพืชตระกูลแตงจะเห็นใบมีอาการเป็นแผลจุดเหลี่ยมสีน้ำตาล ส่วนในพืชไม้ดอกต่าง ๆ จะเห็นเป็นใบจุดแผลสีเหลืองด้านบนใบ แต่ใต้ใบจะพบขุยสปอร์สีขาว ๆ โรคราน้ำค้างที่สำคัญ เช่น โรคราน้ำค้างของกุหลาบ เป็นต้น

3.5 โรคราแป้งขาว โรคนี้เกิดจากเชื้อรา โดยจะพบผงแป้งสีขาว ๆ เกาะติดที่ใบคล้าย ๆ กับเอาแป้งไปโรย ขึ้นปกคลุมกระจายตามส่วนต่าง ๆ ของใบหรือทั่วทั้งใบ ต่อมาใบจะเหลืองและแห้งตาย เช่น โรคราแป้งของบานชื่น และโรคราแป้งของกุหลาบ เป็นต้น

3.6 โรคแอนแทรคโนส ใบที่เกิดโรคนี้จะเป็นแผลแห้งสีน้ำตาล ส่วนมากจะเห็นเชื้อรามีลักษณะเรียงเป็นวงซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ค่อนข้างชัดเจน ในพืชบางชนิดโรคนี้เกิดได้ทั้งบนใบ กิ่ง และผล สาเหตุเกิดจากเชื้อรา เช่น โรคแอนแทรคโนสของกล้วยไม้ มะลิ หน้าวัว เป็นต้น

3.7 โรคราดำ ใบที่เกิดโรคนี้จะมีผงคล้ายเขม่าดำคลุมผิวใบหรือส่วนอื่น ๆ ของพืช เมื่อใช้มือลูบจะหลุดออก เพราะเชื้อราชนิดนี้จะไม่แทงเข้าไปในใบพืช เพียงแต่ขึ้นปกคลุมผิวใบ ส่วนมากพบหลังการทำลายของเพลี้ยจั๊กจั่นและแมลงหวี่ขาว เพราะราชนิดนี้จะขึ้นเจริญบนน้ำหวานที่แมลงขับถ่ายออกมา

3.8 โรคเน่าเละ อาการคือ เน่าเละสีน้ำตาลอ่อน มีกลิ่นเหม็นรุนแรง เกิดได้ทั้งลำต้น ราก หัว และใบของพืช เมื่อเป็นโรคนี้พืชจะเน่าเละทั้งต้น หรือทั้งหัว สาเหตุเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เช่น โรคเน่าเละของกล้วยไม้รองเท้านารี แคคตัส โป๊ยเซียน เป็นต้น

3.9 โรคใบด่าง อาการใบด่างมีหลายลักษณะแล้วแต่สาเหตุที่ทำให้ด่าง อาจเกิดจากเชื้อไวรัส ขาดธาตุอาหาร หรือลักษณะกลายพันธุ์ของพืช สำหรับอาการใบด่างที่เกิดจากไวรัสส่วนมากมีสีเหลืองสลับเขียว เนื้อใบไม่เรียบ เป็นคลื่น และใบมีรูปร่างผิดปกติ เช่น โรคใบด่างเหลืองของฟิตูเนีย โรคใบด่างของกุหลาบ โรคใบด่างของมะลิ เป็นต้น

3.10 โรคแตกพุ่มฝอย บริเวณยอดจะแตกเป็นพุ่มฝอย โดยมีใบเล็ก ๆ รวมกันเป็นกระจุก โรคนี้เกิดจากเชื้อมายโคพลาสมา เช่น โรคแตกพุ่มฝอยของเยอบีรา ดาวเรือง เป็นต้น

4. อาการที่ดอก

พบอาการคล้าย ๆ กับที่เกิดบนใบ เช่น โรคดอกจุด ดอกไหม้ ดอกด่าง ดอกบิดเบี้ยวเสียรูปทรง ดอกเน่า และแอนแทรคโนส เป็นต้น โรคพวกนี้ส่วนมากเกิดจากเชื้อรา แบคทีเรีย และไวรัส เช่น โรคดอกสนิมของกล้วยไม้ โรคดอกด่างของแคทลียา โรคดอกเน่าของหน้าวัว เป็นต้น

5. อาการที่เกิดกับพืชทั้งต้น

5.1 โรคเหี่ยว ต้นพืชจะแสดงอาการเหี่ยวเฉาในลักษณะต่าง ๆ กัน เช่น การเกี่ยวเนื่องจากการขาดน้ำเมื่อได้น้ำก็จะฟื้นปกติ อาการเหี่ยวใบเหลืองลู่เนื่องจากเชื้อราไปทำลายท่อน้ำและอาหารของพืช อาการเหี่ยวแต่ใบยังเขียวอยู่ระยะหนึ่ง คือแมื่อแดดจัดก็จะเหี่ยว ต่อมาเมื่ออากาศเย็นลงก็จะฟื้นปกติ เป็นอยู่ระยะหนึ่งต่อจากนั้นก็จะเหี่ยวอย่างถาวร โรคนี้เกิดจากการทำลายของเชื้อราหลายชนิด และเชื้อแบคทีเรีย ตัวอย่างเช่น โรคเหี่ยวของฟิตูเนีย โรคเหี่ยวของบานชื่น โรคเหี่ยวของกล้วยไม้ โรคเหี่ยวของมะลิ เป็นต้น

5.2 ต้นพืชแคระแกร็น ต้นพืชจะแสดงอาการแคระแกร็นเมื่อเปรียบเทียบกับต้นปกติ ทั้งนี้อาจเนื่องจากการปฏิบัติดูแลรักษาไม่ดีพอ มีไส้เดือนฝอยหรือแมลงกัดทำลายราก หรือมีเชื้อโรคบางชนิด เช่น ไวรัสเข้าทำลาย ทำให้ต้นพืชไม่สามารถเจริญเติบโตตามปกติได้ มีดอกและผลน้อย

5.3 ต้นพืชเติบโตผิดปกติ โดยต้นที่เป็นโรคจะยืดสูงกว่าต้นปกติ สีเขียวอ่อนและไม่ออกดอก อาจเกิดเนื่องจากได้รับฮอร์โมนที่ผิดปกติ หรือต้นพืชที่ได้รับปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไปก็จะทำให้เฝือใบ ไม่ออกดอก เป็นต้น

Reference: baanjomyut.com
อ่าน:3622
หนอนห่อใบข้าว (rice leaffolder, LF) ป้องกัน กำจัด ด้วย ไอกี้
หนอนห่อใบข้าว (rice leaffolder, LF) ป้องกัน กำจัด ด้วย ไอกี้
หนอนห่อใบข้าว (rice leaffolder, LF) ป้องกัน กำจัด ด้วย ไอกี้
ชื่อวิทยาศาสตร์: Cnaphalocrocis medinalis (Guenee) วงศ์ :Pyralidae อันดับ :Lepidoptera ชื่อสามัญอื่น : หนอนม้วนใบข้าว หนอนกินใบข้าว

หนอนห่อใบข้าว Cnaphalocrocis medinalis (Guenee) ตัว เต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืนปีกสีน้ำตาลเหลืองมีแถบสีดำพาดที่ปลายปีก ตรงกลางปีกมีแถบสีน้ำตาลพาดขวาง 2-3 แถบ ขณะเกาะใบข้าวปีกจะหุบเป็นรูปสามเหลี่ยม มักเกาะอยู่ในที่ร่มใต้ใบข้าว เพศผู้มีขนาดเล็กกว่าเพศเมียเล็กน้อย เพศเมียวางไข่เวลากลางคืนประมาณ 300 ฟองบนใบข้าว ขนานตามแนวเส้นกลางใบและสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า ไข่มีลักษณะเป็นรูปจานสีขาวขุ่นเป็นกลุ่ม ประมาณ 10-12 ฟอง บางครั้งวางไข่เป็นฟองเดี่ยวๆ ระยะไข่ 4-6 วัน หนอนที่ฟักจากไข่ใหม่ๆ มีสีขาวใส หัวมีสีน้ำตาลอ่อน หนอนโตเต็มที่มีสีเขียวแถบเหลือง หัวสีน้ำตาลเข้ม หนอนโตเต็มที่จะเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็วเมื่อถูกสัมผัส หนอนมี 5-6 ระยะ ส่วนใหญ่มี 5 ระยะ หนอนวัยที่ 5 เป็นวัยที่กินใบข้าวได้มากที่สุด ระยะหนอน 15-17 วัน หนอนเข้าดักแด้ในใบข้าวที่ห่อตัวนั้น ระยะดักแด้ 4-8 วัน ตัวเต็มวัยจะหลบซ่อนบนต้นข้าวและวัชพืชตระกูลหญ้าในเวลากลางวัน และจะบินหนีเมื่อถูกรบกวน

ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืนปีกสีน้ำตาลอ่อนมีแถบสีดำพาดที่ปลายปีก ตรงกลางปีกมีแถบสีน้ำตาลพาดขวาง 2-3 แถบ เมื่อเกาะใบข้าวปีกจะหุบเป็นรูปสามเหลี่ยม มักเกาะอยู่ในที่ร่มใต้ใบข้าว ตัวเมียวางไข่บนใบข้าว ขนานตามแนวเส้นใบและสามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า ไข่มีสีขาวขุ่นค่อนข้างแบนเป็นกลุ่ม แต่บางครั้งก็วางไข่เป็นฟองเดี่ยวๆ ระยะไข่ 4-6 วัน หนอนที่ฟักจากไข่ใหม่ๆ มีสีขาวใส หัวมีสีน้ำตาลอ่อน หนอนโตเต็มที่มีสีเขียวแถบเหลือง หัวสีน้ำตาลเข้ม หนอนมี 5-6 ระยะ ส่วนใหญ่มี 5 ระยะ หนอนวัยที่ 5 เป็นวัยที่กินใบข้าวได้มากที่สุด ระยะหนอน 15-17 วัน หนอนเข้าดักแด้ในใบข้าวที่ห่อตัวนั้น ระยะดักแด้ 4-8 วัน

ลักษณะการทำลายและการระบาด

ผีเสื้อหนอนห่อใบข้าวจะเคลื่อนย้ายเข้าแปลงนา ตั้งแต่ข้าวยังเล็กและวางไข่ที่ใบอ่อน โดยเฉพาะใบที่ 1-2 จากยอด เมื่อตัวหนอนฟักออกมาจะแทะผิวใบข้าวส่วนที่เป็นสีเขียว ทำให้เห็นเป็นแถบยาวสีขาว มีผลให้การสังเคราะห์แสงลดลง หนอนจะใช้ใยเหนียวที่สกัดจากปาก ดึงขอบใบข้าวทั้งสองด้านเข้าหากันเพี่อห่อหุ้มตัวหนอนไว้หนอนจะทำลายใบข้าว ทุกระยะการเจริญเติบโตของข้าวถ้าหนอนมีปริมาณมากจะใช้ใบข้าวหลายๆ ใบมาห่อหุ้มและกัดกินอยู่ภายใน ซึ่งปรกติจะพบตัวหนอนเพียงตัวเดียวในใบห่อนั้น ในระยะข้าวออกรวงหนอนจะทำลายใบธงซึ่งมีผลต่อผลผลิตเพราะทำให้ข้าวมีเมล็ดลีบ น้ำหนักลดลง หนอนห่อใบสามารถเพิ่มปริมาณได้ 2-3 อายุขัยต่อฤดูปลูก พบระบาดในนาเขตชลประทาน โดยเฉพาะแปลงข้าวที่ใส่ปุ๋ยอัตราสูง หนอนใช้ใบข้าวห่อหุ้มตัวและกัดกินอยู่ภายใน บริเวณที่ถูกทำลายจะเป็นทางขาวยาวขนานกับเส้นกลางใบ ทำให้การสังเคราะห์แสงของต้นข้าวลดลง

พืชอาหาร
ข้าว ข้าวป่า ข้าวโพด ข้าวฟ่าง อ้อย หญ้าข้าวนก หญ้าคา หญ้าชันกาด หญ้าไซ หญ้าตีนกา หญ้าตีนนก หญ้าปล้องหิน หญ้าตีนติด

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
โรคฝรั่งใบไหม้ ราดำในฝรั่ง ใบจุด จุดสนิม โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
โรคฝรั่งใบไหม้ ราดำในฝรั่ง ใบจุด จุดสนิม โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
ฝรั่งเป็นโรค รักษา บำรุงต้นฝรั่ง ฝรั่งเป็นเชื้อรา ฝรั่งต้นเหี่ยว ฝรั่งราสนิม ฝรั่งจุดสนิม ฝรั่งใบไหม้ ราดำฝรั่ง ราแดงฝรั่ง ฝรั่งผลเน่า ใบจุดฝรั่ง แอนแทรคโนสฝรั่ง

โรคราดำจากเชื้อรา มักพบได้ในระยะที่ฝรั่งเริ่มติดผล เริ่มแรกจะพบคราบราดำเหนียวติดตามส่วนต่างๆ ของต้นฝรั่ง เช่น ใบ ยอด ช่อดอก หรือผล ทำให้บดบังการรับแสง หากพบแสดงอาการที่ช่อดอก จะส่งผลต่อการผสมเกสรทำให้ไม่ติดผล ดอกออกน้อย ดอกบานช้า ดอกบานผิดปกติ ดอกเหี่ยว และหลุดร่วงลงได้ กรณีพบแสดงอาการที่ผล อาจทำให้ผลสุกช้า สีผลไม่สม่ำเสมอ ผลเหี่ยว และหลุดร่วง

ชุดคู่ป้องกันกำจัด บวกด้วยฟื้นฟูบำรุง

ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัด ยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ โรคใบไหม้ ใบจุด ยอดแห้ง ราสนิม ราน้ำค้าง แอนแทรคโนส ไฟทอปโธร่า

และ FKธรรมชาตินิยม ฟื้นฟู แก้ต้นโทรม ราพืชไม่กินปุ๋ย อาการใบซีด ใบเหลือง ต้นแคระ อาการขาดธาตุอาหารของพืช

โรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ยกตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น อาการ ใบไหม้ ใบจุด ใบขีดสีน้ำต้าง โรคใบติด ราสนิม ราน้ำค้าง โรคกุ้งแห้ง แอนแทรคโนส ไฟท็อปโธร่า เป็นต้น

ทั้งอาการใบไหม้ และใบเหลือง เกิดได้จากหลายสาเหตุ อาจเกิดได้จากโรค และการขาดธาตุอาหารพืชที่จำเป็น รวมถึงการให้น้ำ และการได้รับแสงแดด ซึ่งการพิจารณาสาเหตุนั้น ต้องสังเกตุอาการ และแก้ปัญหาทีละจุด

ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืชต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

FKธรรมชาตินิยม แก้ปัญหาโรคพืช ที่เกิดจากการขาดธาตุอาหารพืชต่างๆ และส่งเสริมการเจริญเติบโต ตลอดไปถึง การส่งเสริมผลผลิตพืช

ยกตัวอย่างเช่น

อาการใบไหม้ และอาการต่างๆ ที่เกิดจากโรคเชื้อรา
- โรคใบไหม้ โรคใบจุด และโรคใบขีดสีน้ำตาล จะต่างจากการขาดธาตุที่สังเกตุได้คือ โรคที่มีสาเหตุจากเชื้อรา จะลุกลามไปยังใบไหม้ และลุกลามขยายวงไปยังต้นข้างเคียง
- โรคราแป้ง ราสนิม ราน้ำค้าง มีการลุกลามติดต่อเช่นกัน

อาการใบไหม้ และอาการต่างๆ ที่เกิดจากการขาดธาตุ
- ขาด โพแทสเซียม ที่ใบแก่จะเหลืองซีด ขอบใบมีจุดสีน้ำตาลไหม้
- ขาด แมกนีเซียม ใบจะมีจุดเหลืองทั่วทั้งใบ ที่ปลายใบจะแห้ง
- ขาด สังกะสี ใบจะมีจุดเหลืองคล้ายราสนิม

อาการใบเหลือง ใบซีด ก็เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น
- ใบเหลือง จากการขาดธาตุ ไนโตรเจน
- ใบเหลือง เพราะได้รับแสงไม่เพียงพอ
- ใบเหลือง เพราะรดน้ำมาก หรือน้อยจนเกินไป
- ใบเหลือง เพราะค่า pH หรือความเป็นกรดด่างของดิน ไม่เหมาะสม
- ใบเหลือง เพราะขาดธาตุเหล็ก
- ใบเหลือง เพราะพืชลดจำนวนคลอโรฟิลล์ เพราะการขาดธาตุรอง หรือธาตุเสริมบางอย่าง

อาการใบไหม้และโรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ทุก 3-5 วัน

อาการของพืช ที่เกิดจากการขาดธาตุต่างๆ ฉีดพ่น FK ธรรมชาตินิยม

หมายเหตุ สามารถ ผสม ไอเอส และ FK ธรรมชาตินิยม ฉีดพ่นไปพร้อมกันในคราวเดียว

อัตราส่วนผสม
ไอเอส 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
FKธรรมชาตินิยม 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
สามารถผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
*สำหรับท่านที่พ่นด้วย ฟ็อกกี้ ขนาด 1-2ลิตร ใช้ฝา FKธรรมชาตินิยมตวงประมาณ 2ฝา


การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
โรคราน้ำค้างข้าวโพด
โรคราน้ำค้างข้าวโพด
โรคราน้ำค้าง หรือโรคใบลาย มีสาเหตุเกิดจากเชื้อรา Peronosclerospora sorghi เกิดโรคได้ตั้งแต่ข้าวโพดเริ่มงอก โดยพบจุดเล็กๆ สีเขียวฉ่ำน้ำบนใบอ่อน ต่อมาใบข้าวโพดมีสีเหลืองซีดโดยเฉพาะใบยอด หรือ ใบลายเป็นทางสีเขียวอ่อนสลับสีเขียวแก่ ในเวลาเช้ามักพบส่วนของเชื้อรา ลักษณะเป็นผงสีขาวจำนวนมากบนใบ บางครั้งพบยอดข้าวโพดแตกเป็นพุ่ม ต้นแคระแกร็น เตี้ย ข้อถี่ ไม่มีฝัก หรือมีฝักที่ติดเมล็ดน้อยหรือไม่ติดเมล็ดเลย ก้านฝักมีความยาวมาก หรือมีจำนวนฝักมากกว่าปกติ ข้าวโพดอายุ 1-3 สัปดาห์ จะอ่อนแอต่อโรคมาก

ที่มา http://www.farmkaset..link..
ใช้ ไอเอส และ FK-1 เพื่อ ป้องกัน กำจัด โรคราน้ำค้างข้าวโพด
โรคราสีชมพู ที่เกิดกับ ลองกองผลอ่อน
โรคราสีชมพู ที่เกิดกับ ลองกองผลอ่อน
สภาพอากาศร้อน สลับกับมีฝนตกในช่วงนี้ กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรชาวสวนลองกองเฝ้าระวัง การระบาดของโรคราสีชมพู มักพบโรคในระยะที่ต้นลองกองมีผลอ่อน เริ่มแรกพบเส้นใยสีขาวของเชื้อรา เจริญคลุมกิ่งหรือลำต้น ต่อมาเส้นใยของเชื้อราหนาขึ้นและเปลี่ยนเป็นสีชมพูยึดแน่นกับกิ่ง เมื่อเฉือนดูบริเวณกิ่งหรือลำต้นที่พบเชื้อรา จะพบเนื้อไม้เป็นแผลสีน้ำตาล และกิ่งที่เป็นโรคราสีชมพูบริเวณยอดจะเหี่ยว ใบเหลือง และร่วงเป็นหย่อมๆ ต่อมากิ่งจะแห้งตายในที่สุด

สำหรับแนวทางในการป้องกันโรคราสีชมพู ให้เกษตรกรตัดแต่งทรงพุ่มต้นลองกองให้โปร่ง มีอากาศถ่ายเทสะดวก เพื่อลดการสะสมความชื้นใต้ทรงพุ่มไม่ให้มีมากเกินไป ส่วนในช่วงฤดูฝนเกษตรกรควรหมั่นตรวจดูต้นลองกองบริเวณกิ่งภายในสวนอย่างสม่ำเสมอ หากพบอาการใบเหลืองหรือพบราสีขาว หรือสีชมพูขึ้นบนกิ่ง ให้เกษตรกรตัดกิ่งที่เป็นโรค เก็บเศษซากพืชส่วนที่เป็นโรค และกำจัดวัชพืชในแปลงปลูกนำไปเผาทำลายนอกสวน เพื่อลดการสะสมเชื้อราสาเหตุโรค

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

FK-1 ฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการเจริญเติบโต ส่งเสริมผลผลิต
3569 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 9 รายการ
|-Page 28 of 357-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคตายพลาย ในกล้วย ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/20 09:40:54 - Views: 3483
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค - เทคโนโลยีที่ทำให้ดินและพืชมีสุขภาพดี
Update: 2567/02/13 09:54:57 - Views: 3504
การรับมือกับโรครากเน่ายอดเน่าในสับปะรด: วิธีป้องกันและกำจัดโรคที่เกิดจากเชื้อราในสับปะรด
Update: 2566/11/08 12:55:15 - Views: 3417
ยารักษาโรค ยาปราบแมลงศัตรูพืช สำหรับต้นหอม ปุ๋ยสำหรับหอมแดง หอมแบ่ง หอมหัวใหญ่
Update: 2563/06/19 08:34:56 - Views: 3945
การปลูกเงาะ เพิ่มผลผลิตเงาะ สูงสุด ด้วยปุ๋ยตรา FK
Update: 2566/01/02 14:51:31 - Views: 3451
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์สำหรับฉีดพ่นต้นเงาะ: ผลใหญ่ ผลดก คุณภาพดี
Update: 2567/03/04 12:50:50 - Views: 3442
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน ทับทิม เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/24 15:59:18 - Views: 3419
ยาฆ่าเพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด ใน เสาวรส และพืช ทุกชนิด เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/04/04 11:08:35 - Views: 3457
การป้องกันกำจัดเพลี้ยในลำไย เช่น เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยแป้ง ด้วย อินเวท และ สตาร์เฟอร์
Update: 2567/03/12 09:37:04 - Views: 3506
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น ลองกอง ผลใหญ่ ดกเต็มต้น น้ำหนักดี ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/02/28 14:02:10 - Views: 3435
คู่มือป้องกันกำจัดโรคเชื้อราต่างๆในดาวเรือง ดาวเรืองใบไหม้ ดอกไหม้ ดอกเป็นจุด ราแป้ง ฯลฯ
Update: 2566/05/01 10:27:34 - Views: 11091
โรคหน่อไม้ฝรั่งกิ่งไหม้ หรือ โรคใบเทียมร่วง : CERCOSPORA LEAF BLIGHT DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
Update: 2564/08/09 05:00:35 - Views: 3417
โรคสับปะรด ที่เกิดจากเชื้อราต่างๆ ทำให้เกิดอาการสับปะรดยอดเน่า รากเน่า ใบไหม้ ยกตัวอย่างได้ดังต่อไปนี้
Update: 2566/11/08 06:16:07 - Views: 10859
การเลือกซื้อ ดาบ คาตานะ ดาบซามูไร ให้ได้คุณภาพดี ในราคาไม่แพง
Update: 2566/10/28 12:32:08 - Views: 10422
การป้องกันกำจัด เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยต้นทุเรียน
Update: 2566/05/06 08:15:02 - Views: 7995
การรับมือกับโรคเชื้อราที่รุนแรงในการปลูกผักชี: วิธีป้องกันและการจัดการ
Update: 2566/11/23 09:36:53 - Views: 3448
โรคแก้วมังกร ลำต้นจุดสีน้ำตาล เกิดจากเชื้อรา Dothiorella sp.
Update: 2563/06/15 15:09:36 - Views: 3466
กำจัดหนอนเจาะผล ศัตรูพืชในต้นทุเรียน AiKi-BT ฟื้อนฟูจากการเข้าทำลายของหนอน FK-T อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ โดย FK
Update: 2566/05/25 12:37:31 - Views: 3486
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าไรแดง ในส้ม และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/04 09:52:50 - Views: 3447
แช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลังก่อนปลูกด้วย กู๊ดโซค น้ำยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง เร่งราก ป้องกันโรค สะสมอาหารในท่อนพันธุ์
Update: 2564/08/27 23:48:10 - Views: 4633
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022