[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3517 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 7 รายการ

ยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง กู๊ดโซค เร่งราก ป้องกันโรค สะสมอาหารเพื่อใช้ในระยะงอก
ยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง กู๊ดโซค เร่งราก ป้องกันโรค สะสมอาหารเพื่อใช้ในระยะงอก
ช่วงนี้ของทุกปี ได้รับความสนใจเป็นอย่างมากเลย สำหรับ กู๊ดโซค น้ำยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง ที่ขายมานานหลายปีรายการนี้ สนใจสั่งซื้อ ติดต่อมาได้เลยนะจ๊ะ
ป้องกัน กำจัด หนอนเจาะผลขนุน ด้วย ไอกี้ สารชีวินทรีย์ ปลอดภัย เร่งฟื้นฟู บำรุง ด้วย FK-T
ป้องกัน กำจัด หนอนเจาะผลขนุน ด้วย ไอกี้ สารชีวินทรีย์ ปลอดภัย เร่งฟื้นฟู บำรุง ด้วย FK-T
ไอกี้ และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

ที่พบอยู่เสมอคือ หนอนไชลำต้น โดยเฉพาะในสวนที่ไม่ค่อยดูแลรักษา ปล่อยให้รกรุงรังจะพบมาก และยังพบมากในต้นขนุนที่มี
อายุมาก ๆ ตัวหนอนจะ เจาะไชอยู่ตามกิ่ง ต้น สังเกตได้ดือรูที่หนอนไชจะมียางขนุนไหลออกมา เมือพบว่า หนอนเจาะไชเข้าไปในกิ่งหรือต้นแล้ว การกำจัดจะทำได้ลำบาก ที่ทำได้คือเปิดปากรูแล้วใช้สำลีชุบยาฆ่าแมลงเช่น ดีลดรีน ดีดีที อุดเข้าไปในรู แล้วใช้ดินเหนียว อุดปากรูไว้ หรือใช้ยาฉีดยุงฉีดเข้าไปในรูแล้วอุดด้วยดินเหนียว ยาจะระเหยเข้า ไปฆ่าหนอนได้ ส่วนกิ่งที่พบว่ามีหนอนไชมากให้ตัดเอาไปเผาทิ้งเสีย นอกจากนี้อาจมีตัวหนอนหรือแมลงไชผล ทำให้บริเวณนั้นเน่าเป็นสีดำ ผลแป้วหรือเบี้ยวขายไม่ได้ราคา


ไอกี้ เป็นสารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ปลอดภัย กำจัดหนอนต่างๆหลายชนิด
ขนาด 500 กรัม (แนะนำให้ใช้คู่กับ FK ธรรมชาตินิยม เพื่อเร่งฟื้นฟูบำรุง)
อัตราผสม 25 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอกี้ และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
ไอกี้ 25 กรัม และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
อ่าน:3354
การกำจัดข้าววัชพืช (ข้าวดีด ข้าวเด้ง อีดีด อีเด้ง)
การกำจัดข้าววัชพืช (ข้าวดีด ข้าวเด้ง อีดีด อีเด้ง)
ข้าววัชพืช ซึ่งเกิดจากการผสมข้ามระหว่างข้าวป่าที่พบทั่วไปในธรรมชาติกับข้าวปลูก และส่วนใหญ่มีลักษณะที่ชาวนาไม่ต้องการ อาทิ ข้าวปลายเมล็ดมีหาง เปลือกเมล็ดมีสีลายน้ำตาลแดง เยื่อหุ้มเมล็ดมีสีแดง เมล็ดสุกแก่เร็วและร่วงก่อนเก็บเกี่ยว

ข้าวพวกนี้มี 3 ชนิดครับ หรือที่ชาวนาเรียกว่า ข้าวหางหรือข้าวนก ข้าวดีดหรือข้าวเด้ง ข้าวแดงหรือข้าวลาย จะมีผลกระทบทำให้ปริมาณผลผลิตข้าวลดลง เนื่องจากเมล็ดข้าววัชพืชส่วนใหญ่ร่วงก่อนเก็บเกี่ยว และสะสมพักตัวอยู่ในนาเป็นเวลานาน 2-12 ปี เมล็ดจะทยอยงอกจึงทำให้ยากต่อการกำจัด นอกจากนี้ยังทำให้คุณภาพข้าวลดลงอีกเนื่องจากผลผลิตมีการปะปนของเมล็ดข้าววัชพืชที่มีเยื่อหุ้มสีแดงจึงทำให้ถูกตัดราคา

พอมีข้อมูลจากสำนักเกษตรจังหวัดหนองบัวลำภู มีวิธีแนะวิธีการกำจัดข้าววัชพืชเหล่านี้ เห็นแล้วน่าสนใจครับ เพราะเป็นเรื่องที่ไม่ยุ่งยากเลยที่เกษตรกรจะนำไปใช้ประโยชน์ในนาข้าวของท่าน เพราะวิธีไม่ซับซ้อนครับมีขั้นตอนดังนี้ดังนี้

1. ให้เกษตรกรพักดินล่อให้ข้าววัชพืชงอกแล้วไถกลบ 1-2 ครั้ง

2. ใช้เป็ดไล่ทุ่งลงไปกินเมล็ดข้าววัชพืชที่อยู่ในนา

3. เกษตรกรต้องเลือกใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวที่ไม่มีข้าววัชพืชปะปน หรือซื้อเมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่เชื่อถือได้

4. ให้ทำความสะอาดรถไถนา เพราะอาจมีเมล็ดข้าวปนจากแปลงอื่นมากับรถเหล่านี้ได้

5. เปลี่ยนวิธีการปลูกข้าวเป็นการปักดำ ด้วยเครื่องแทนการหว่านเมล็ดข้าว

6. หากพบต้นข้าววัชพืชให้ถอนออกทันที หากต้นข้าววัชพืชสูงกว่าข้าวปลูก ลำต้นและใบมีสีอ่อนกว่าข้าวปลูกให้ถอนต้นทิ้งนอกแปลงทันทีเช่นกัน

7. กรณีข้าววัชพืชออกดอกก่อนข้าวปลูก ให้ชิดโคนต้นเพื่อป้องกันการแตกต้นใหม่ แล้วนำไปทิ้งนอกแปลง

8. กรณีข้าววัชพืชออกดอกก่อนข้าวปลูก และต้นสูงกว่าข้าวปลูก ให้ใช้ปุ๋ยยูเรีย พ่นยูเรีย อัตรา 3 กก. ต่อน้ำ 20 ลิตร โดยพ่นให้ละอองของสารสัมผัสรวงข้าววัชพืชให้มากที่สุด จะทำให้เมล็ดข้าววัชพืชลีบลงได้

9. ต้องทำความสะอาดรถเกี่ยวข้าวก่อนลงแปลงเพื่อป้องกันเมล็ดข้าววัชพืชที่อยู่ในตะแกรงของรถร่วงลงในนา

10. ทางที่ดีที่สุด ถือเป็นวิธีที่ได้ผลดีที่สุดคือ งดปลูกข้าว 1 ฤดูกาล เพื่อล่อให้เมล็ดข้าววัชพืชงอกแล้วไถทิ้งและปลูกพืชหมุนเวียน

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ชุดย่อยสลายฟางข้าว ชุดย่อยสลายตอฟาง ย่อยสลายใน 7วัน ไม่ต้องเผา

ลดข้าวดีดมากกว่า 70% รวดเร็วในการย่อยสลายตอซังฟางข้าว ภายใน 5-7 วัน โดยไม่ต้องเผา ปรับสภาพดินในนาข้าว สามารถไถพรวนได้ง่าย เพิ่มจุลธาตุอาหารให้แก่นาข้าวหลังการเก็บเกี่ยว สามารถลดปัญหาข้าวดีด และข้าววัชพืชอื่น ๆ ในนาข้าวได้

#ย่อยสลายฟางข้าว #ย่อยสลายตอฟาง #ย่อยสลายตอซัง

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อ ชุดย่อยสลายตอซังฟางข้าว กับ Lazada : http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อ ชุดย่อยสลายตอซังฟางข้าว กับ Shopee : http://www.farmkaset..link..
การปลูกทานตะวัน
การปลูกทานตะวัน
ทานตะวัน เป็นพืชนํ้ามันที่มีความสําคัญพืชหนึ่ง นํ้ามันที่ได้จากการสกัดจากเมล็ดทานตะวันจะ
มีคุณภาพสูง ที่ประกอบด้วยกรดไขมันที่ไม่อิ่มตัว เช่น กรดลิโนเลนิค หรือกรดลิโนเลอิค ที่จะช่วยลด
โคเลสเตอรอลที่เป็นสาเหตุของโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด นอกจากนี้นํ้ามันจากทานตะวันยังประกอบด้วย วิตามิน เอ ดีอีและเคด้วย ผลผลิตส่วนใหญ่อยู่ในเขตอบอุ่น เช่น สหภาพโซเวียต อาร์เจนตินา และประเทศ ในแถบยุโรปตะวันออก สําหรับประเทศไทย ได้มีการส่งเสริมให้มีการ ปลูกทานตะวันเป็นอาชีพเสริมมากขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตให้เพียงพอกับอุตสาหกรรมพืชนํ้ามันและความต้องการของผู้บริโภค ทั้งนี้ เพราะ ทานตะวันเป็นพืชที่มีอายุสั้นระบบรากลึก มีความทนทานต่อสภาพแห้งแล้งได้ดีกว่าพืชอื่น ๆ แหล่งปลูกที่สําคัญ ได้แก่ จังหวัดลพบุรี เพชรบูรณ์ และสระบุรี

สภาพแวดล้อม
ทานตะวัน เป็นพืชที่มีการปรับตัวเข้ากับสภาพของเขตร้อนได้ดีพอสมควรไม่ไวต่อแสง สามารถ
ออกดอกใหผลได้ทุกสภาพช่วงแสง ปลูกได้ในบริเวณที่มีการปลูกข้าวโพด ข้าวฟาง เมื่่อทานตะวันตั้งตัวได้แล้ว จะมีความทนทานต่อสภาพแห้งและร้อนได้พอสมควร และจะเริ่มเติบโตทันทีเมื่อมีฝน นอกจากนี้ทานตะวันยังมีความทนทานต่อสภาพอากาศเย็นจัดได้ดีกว่าข้าวโพด ข้าวฟ่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะต้นกล้า ทานตะวันขึ้นได้กับดินหลายประเภท แต่จะขึ้นได้ดีในสภาพดินที่มีผิวดินหนาและอุ้มความชื้นไว้ได้ดี สามารถทนต่อสภาพความอุดมสมบูรณ์ตํ่า ตลอดจนสภาพดินเกลือและเป็นด่างจัดได้พอสมควร ซึ่งดินเหล่านี้จะมีอยู่เป็นจํานวนมากในเขตแห้งแล้งทั่วๆไป

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ทานตะวัน เป็นพืชในตระกูลเดียวกันกับเบญจมาศ คําฝอย ดาวเรือง เป็นพืชล้มลุกที่มีปลูกกัน
มากในเขตอบอุ่น การที่มีชื่อเรียกว่า ทานตะวัน เพราะลักษณะการหันของช่อดอกและใบจะหันไปทาง
ทิศของดวงอาทิตย์คือ หันไปทางทิศตะวันออกในตอนเช้า และทิศตะวันตกในตอนเย็น แต่การหันจะลดน้อยลงเรื่อย ๆ หลังจากมีการผสมเกสรแล้วไปจนกระทั่งถึงช่วงดอกแก่ ซึ่งช่อดอกจะหันไปทิศตะวันออกเสมอ

ราก เป็นระบบรากแก้วหยั่งลึกลงไปประมาณ 150-270 เซนติเมตร มีรากแขนงค่อนข้างแข็ง
แรงแผ่ขยายไปด้านข้างได้ยาวถึง 60-150 เซนติเมตร เพื่อช่วยคํ้าจุนลําต้นได้ดีและสามารถใช้ความชื้นระดับผิวดินได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ลําต้น ส่วนใหญ่ไม่มีแขนง แต่บางพันธุ์มีการแตกแขนง ขนาดของลําต้น ความสูง การแตก
แขนงขึ้นอยู่กับพันธุ์และสภาพแวดล์อม ความสูงของต้นอยู๋ระหว่าง 1-10 เซนติเมตร การโค้งของลําต้น ตรงส่วนที่เป็นก้านช่อดอกมีหลายแบบ แบบที่ต้องการคือแบบที่ ส่วนโค้งตรงก้านช่อดอกคิดเป็นร้อยละ15 ของความสูงของลําต้น พันธุ์ที่มีการแตกแขนง อาจมีความยาวของแขนงสูงกวาลําตนหลักแขนง อาจแตกมาจากส่วนโคนหรือยอด หรือตลอดลําต้นก็ได้

ใบ เป็นใบเดี่ยวเกิดตรงกันข้าม หลังจากที่มีใบเกิดแบบตรงกันข้ามอยู่ 5 คู่แล้ว ใบที่เกิดหลัง
จากนั้นจะมีลักษณะวน จํานวนใบบนต้นอาจมีตั้งแต่ 8-70 ใบ รูปร่างของใบแตกต่างกันตามพันธุ์สีของ
ใบอาจมีตั้งแต่เขียวอ่อน เขียว และเขียวเข้ม ใบที่เกิดออกมาจากตายอดใหม่ๆ ก้านใบจะอยู่ในแนวตั้งจนกระทั้งใบมีความยาว 1 เซนติเมตร ปลายยอดจะค่อย ๆ โค้งลงจนเมื่อใบแก่แล้วก็จะโค้งลงมาเป็นรูปตัวยู (U) การสร้างใบจะมีมากจนกระทั่งดอกบาน หลังจากนั้นการสร้างใบจะลดน้อยลง
ดอก เป็นรูปจาน เกิดอยู่บนตายอดของลําต้นหลัก หรือแขนงลําต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลางของดอก
อยู่ระหว่าง 6-37 เซนติเมตร ซึ่งขึ้นกับพันธุ์และสภาพแวดล้อม ดอกมีลักษณะเป็นแบบช่อดอก
ประกอบด้วยดอกย่อยเป็นจํานวนมาก ซึ่งแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ

1. ดอกย่อยที่อยู่รอบนอกจานดอก เป็นดอกที่ไม่มีเพศ (เป็นหมัน) มีกลับดอกสีเหลืองส้ม
2. ดอกย่อยที่อยู่ในจานดอก เป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีเกสรตัวผู้ที่พร้อมจะผสมได้ก่อนเกสรตัว
เมีย และสายพันธุ์ผสมเป็นส่วนใหญ่ผสมตัวเองน้อยมาก
ในแต่ละจานดอกจะมีดอกย่อยอยู่ประมาณ 700-3_000 ดอก ในพันธุ์ที่ให้นํ้ามัน ส่วนพันธุ์
อื่นๆ อาจมีดอกย่อยถึง 8_000 ดอก การบานหรือการแก่ของดอกจะเริ่มจากวงรอบนอกเข้าไปสู่ศูนย์
กลางของดอก ดอกบนกิ่งแขนงจะมีขนาดเล็ก แต่ถ้าเป็นแขนงที่แตกออกมาตอนแรกๆ ดอกจะมีขนาด
ใหญ่เกือบเท่ากับดอกบนลําต้นหลัก ส่วนใหญ่พันธุ์ที่ปลูกเป็นการค้า มักจะเลือกต้นชนิดที่มีดอกเดี่ยว
เพื่อความสมบูรณ์ของดอก และให้เมล็ดที่มีคุณภาพดี

เมล็ด (หรือผล) ประกอบด้วยเนื้อใน ซึ่งถูกห่อหุ้มไว้ด้วยเปลือกที่แข็งแรง เมื่อผลสุกส่วนของ
ดอกที่อยู่เหนือรังไข่จะร่วง ผลที่มีขนาดใหญ่จะอยู่วงรอบนอก ส่วนผลที่อยู่ข้างในใกล้ๆ กึ่งกลางจะมีผลเล็กลง

เมล็ดทานตะวัน แบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ คือ
1. เมล็ดใช้สกัดนํ้ามัน จะมีเมล็ดเล็ก สีดํา เปลือกเมล็ดบางให้นํ้ามันมาก
2. เมล็ดใช้รับประทาน จะมีเมล็ดโตกว่าพวกแรก เปลือกหนาไม่ติดกับเนื้อในเมล็ด เพื่อสะดวก
ในการกะเทาะแล้วใช้เนื้อในรับประทาน โดยอบหรือปรุงแต่งขนมหวาน หรือทําเป็นแป้งประกอบอาหารหรือใช้เมล็ดคั่วกับเกลือแล้ว แทะเปลือกออกรับประทานเนื้อข้างในเป็นอาหารว่าง เช่นเดียวกับเมล็ดแตงโม
3. เมล็ดใช้เลี้ยงนก ใช้เมล็ดเป็นอาหารเลี้ยงนก หรือไก่ โดยตรง

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
ทานตะวันชอบอากาศอบอุ่นในเวลากลางวันและอากาศเย็นในเวลากลางคืน อุณหภูมิที่เหมาะ
สมคือ อยู่ระหว่าง 18-25 องศาเซลเซียส สภาพความเป็นกรด-ด่าง ของดินประมาณ 5.7-8 สามารถ
ขึ้นได้ในดินแทบทุกประเภท แต่ที่ขึ้นได้ดีคือดินที่มีหน้าดินลึกที่อุ้มนํ้าได้ดี แต่ไม่ชอบนํ้าขังและไม่ชอบดินที่มีลักษณะเป็นกรด หากดินที่ปลูกมีความชื้นตํ่า ผลผลิตของเมล็ดจะตํ่าลงมาก

พันธุ์
ทานตะวันมี 3 สายพันธุ์พันธุ์ผสมเปิด ซึ่งเป็นพันธุ์เดิมที่ใช้ปลูก ซึ่งในดอกจะมีจํานวนเรณูที่ติด
อยู่ที่ก้านชูเกสรตัวเมียน้อย ทําให้การติดเมล็ดด้วยการผสมตัวเองตํ่า ต้องอาศัยแมลงช่วยในการผสม
เกสร จึงจะทําให้ติดเมล็ด การปลูกจึงไม่ประสบผลสําเร็จเพราะได้เมล็ดลีบ ผลผลิตตํ่าเนื่องจากไม่ค่อยมีแมลงช่วยผสมเกสร แต่ปัจจุบันมีพันธุ์ลูกผสมสามารถติดเมล็ดได้ดีโดยไม่ต้องอาศัยแมลงช่วยผสมเกสร เพราะในดอกมีละอองเรณูที่ติดอยู่ก้านชูเกสรตัวเมียมากกว่าพันธุ์ผสมเปิด 3-4 เท่า จึงทําให้การติดเมล็ดด้วยการผสมตัวเองดีกว่าสายพันธุ์ผสมเปิด

ปัจจุบันยังไม่มีการผลิตเมล็ดทานตะวันลูกผสมในประเทศไทย ต้องนําเข้าจากต่างประเทศ ได้แก่
พันธุ์ไฮซัน 33 และพันธุ์เอส 101 ซึ่งมีลักษณะของจานดอกค่อนข้างใหญ่กลีบดอกสีเหลืองสดใสและให้ปริมาณนํ้ามันสูง สายพันธุ์สังเคราะห์ซึ่งยังไม่มีการส่งเสริมในปัจจุบัน แต่ในขณะนี้อยู่ระหว่างการวิจัยของหน่วยงานวิจัย สําหรับทานตะวันที่ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกในขณะนี้คือ สายพันธุ์ลูกผสม

ลักษณะดีเด่นของพันธุ์ลูกผสม ได้แก่
1. ผลผลิต เฉลี่ย 254.82 กิโลกรัมต่อไร่
2. การติดเมล็ด เฉลี่ยร้อยละ 76.3
3. เส้นผ่าศูนย์กลาง เฉลี่ย 15.4 เซนติเมตรของจานดอก
4. ความสูงของต้น เฉลี่ย 168.9 เซนติเมตร
5. อายุเก็บเกี่ยว เฉลี่ย 90-100 วัน
6. ปริมาณนํ้ามัน เฉลี่ยร้อยละ 48 ที่มา
1-4 การเปรียบเทียบพันธุ์ทานตะวันในท้องถิ่น จํานวน 5 พันธุ์ฤดูแล้ง ปี 2529 ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่ 5-6 บริษัทแปซิฟิค เมล็ดพันธุ์จํากัด

ลักษณะที่ดีของพันธุ์ ลูกผสม คือ สามารถผสมเกสรภายในดอกเดียวกันได้สูง การติดเมล็ดค่อน
ข้างดี การหาผึ้งหรือแมลงช่วยผสมเกสรจึงไม่จําเป็นมากนัก แต่ถ้ามีแมลงช่วยผสมก็มีลักษณะประจํา
พันธุ์ที่มีผลต่อการดึงดูดแมลง เช่น กลีบดอกสีสดใส กลิ่นของเรณูปริมาณและคุณภาพของนํ้าหวานก็ดีกว่าพันธุ์ผสมเปิด ทนทานต่อการโค่นล้มและต้านทานต่อโรคราสนิม

ฤดูปลูก
ทานตะวันเป็นพืชที่สามารถเจริญเติบโตได้ในทุกฤดูกาล เพราะเป็นพืชที่ไม่ไวต่อช่วงแสง อย่าง
ไรก็ตามการปลูกในบางท้องที่อาจไม่มีความเหมาะสม เช่น ในที่ลุ่มภาคกลาง ในฤดูฝนจะมีนํ้าขังแฉะ
เกินไป หรือที่ดินในฤดูแล้งที่ไม่มีนํ้าชลประทาน ดังนั้นฤดูที่เหมาะสมที่สุดมี 2 ฤดูคือ

1. ปลายฤดูฝน ในสภาพพื้นที่ที่เป็นดินร่วนเหนียว ควรปลูกทานตะวันในปลายฤดูฝน คือ ตั้ง
แต่เดือนกันยายน-พฤศจิกายน แต่ถ้าสภาพพื้นที่ที่ปลูกเป็นดินร่วนทราย ควรปลูกในเดือนสิงหาคมตุลาคม ซึ่งเป็นช่วงกลางฤดูฝน
2. ฤดูแล้ง ถ้าในแหล่งปลูกนั้นสามารถใช้นํ้าจากชลประทานได้ก็สามารถปลูกเป็นพืชเสริมได้
โดยปลูกในช่วงเดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ์ซึ่งเป็นช่วงหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว
เนื่องจากพันธุ์ลูกผสมนี้ดอกค่อนข้างใหญ่ เวลาเมล็ดแก่จานดอกจะห้อยลงมาและด้านหลังของ
จานดอกจะมีลักษณะเป็นแอ่งเหมือนกระทะก้นแบน เมื่อฝนตกลงมานํ้าฝนจะขังในแอ่งดังกล่าว จะทําให้เกิดโรคเน่าได้มากและทําให้เมล็ดเน่าเสียหาย ดังนั้นจึงควรปลูกในปลายฤดูฝน หรือในฤดูแล้งถ้ามี
ฝนตกนํ้าขังในแอ่งของจานดอก ให้เขย่าต้นเพื่อทําให้นํ้าไหลออกให้หมด

การเตรียมดิน
การเตรียมดินก้อนปลูก ควรไถดินให้ลึกในระดับ30 เซนติเมตรหรือลึกกว่านั้น เพราะว่า เมื่อฝนตกดินจะสามารถรับนํ้าให้ซึมซับอยู่ในดินได้มากขึ้น การไถดินลึกจะช่วยทําลายการอัดแน่นของดินในชั้นไถพรวน ทําให้นํ้าซึมลงในดินชั้นล่างได้มากขึ้น ควรกําจัดวัชพืชในแปลงให้สะอาด และไถย่อยดินครั้งสุดท้ายให้ร่วนซุย หากมีการใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักลงไปพร้อมกับการย่อยดินครั้งสุดท้ายจะช่วย
เสริมธาตุอาหารต่างๆเพื่อให้พืชนําไปใช้ประโยชน์

การปลูก
หลังจากเตรียมดินเสร็จแล้ว ควรทําร่องสําหรับหยอดเมล็ด โดยให้แต่ละร่องห่างกัน 70-75 เซนติเมตร และให้หลุมปลูกในร่องห่างกัน 25-30เซนติเมตร หยอดหลุมละ 2 เมล็ด แลวกลบดินโดยให้เมล็ดอยู่ลึก 5-8เซนติเมตร เมื่อพืชงอกได้ 10 วัน หรือมีใบจริง 2-4 คู่ให้ถอนแยกเหลือไว้
เฉพาะต้นที่แข็งแรงเพียงหลุมละ 1 ต้น และถ้าหากดินมีความชื้นตํ่าควรใช้
ระยะปลูกกว้างขึ้น

การยกร่องนี้ เพื่อเป็นการสะดวกในการให้นํ้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลูกในฤดูแล้งที่ต้องการนํ้ามาก ส่วนการปลูกในฤดูฝน ถ้าเป็นดินที่มีการระบายนํ้าดีก็ไม่จําเป็นต้องยกร่องและใช้ระยะปลูกเช่นเดียวกับยกร่องการปลูกวิธีนี้ต้องใช้เมล็ดพันธุ์ลูกผสมจํานวน 0.7 กิโลกรัมต่อไร่และปลูกตามระยะที่แนะนํานี้
จะได้จํานวนต้น 6_400-8_500 ต้นต่อไร่

ใส่ปุ๋ย
ทานตะวันเป็นพืชที่ให้โปรตีน และแร่ธาตุสูง จึงควรใส่ปุ๋ยในปริมาณที่พืชต้องการตามสภาพดิน
ที่ปลูกด้วยสําหรับปุ๋ยเคมีที่เหมาะสมที่แนะนํา คือ สูตร 15 – 15 - 15 หรือ 16 - 16 - 8 อัตรา 30
- 50 กิโลกรัมต่อไร่ โดยใส่รองพื้นพร้อมปลูก และใช้ปุ๋ยยูเรีย 46 – 0 - 0 อัตรา 20-30 กิโลกรัมต่อ
ไร่ เมื่อทานตะวันอายุได้ 30 วัน หรือมีใบจริง 6-7 คู่ ซึ่งเป็นระยะกําลังจะออกดอก หากมีการตรวจ
วิเคราะห์ดินก่อนปลูก จะช่วยให้การใช้ปุ๋ยมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและในกรณีที่เป็นดินทรายและขาดธาตุ
โบรอน ควรใส่ผงโบแรกซ์ประมาณ 2 กิโลกรัมต่อไร่ จะทําให้เพิ่มผลผลิตได้มากและทําให้คุณภาพของเมล็ดทานตะวันดีขึ้น

ให้นํ้า
นํ้าเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลกระทบต่อการผลิตทานตะวัน หากความชื้นในดินมีน้อยก็จะทําให้ผล
ผลิตลดลงด้วย การให้นํ้าที่เหมาะสมแก่ทานตะวันจึงจะทําให้ได้รับผลผลิตดีด้วย ดังนั้นการให้นํ้าควร
ปฏิบัติดังนี้
ครั้งที่ 1 หลังจากปลูกเสร็จแล้วรีบให้นํ้าทันทีหรือควรทําการปลูกทันทีหลังฝนตกเพื่อใช้ความชื้นในดินให้เต็มที่โดยไม่ต้องรดนํ้า
ครั้งที่ 2 ระยะมีใบจริง 2 คู่ หรือประมาณ 10-15 วัน หลังงอก
ครั้งที่ 3 ระยะเริ่มมีตาดอก หรือประมาณ 30-35 วัน หลังงอก
ครั้งที่ 4 ระยะดอกเริ่มบาน หรือประมาณ 50-55 วัน หลังงอก
ครั้งที่ 5 ระยะกําลังติดเมล็ด หรือประมาณ 60-70 วัน หลังงอก การให้นํ้าควรให้นํ้าอย่างเพียง
พอให้ดินชุ่ม แต่ไม่ต้องถึงกับแฉะและนํ้าขังการให้นํ้าควรคํานึงถึงความชุ่มชื้นในดินด้วย ไม่ควรปล่อย
ให้ดินแห้งมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงแรกของการเจริญเติบโตจนถึงระยะติดเมล็ด

การกําจัดวัชพืช
ควรกําจัดวัชพืชอย่างน้อย 2 ครั้ง ครั้งแรก เมื่อทานตะวันมีใบจริง 2-4 คู่ ซึ่งการทํารุ่นครั้งแรก
นี้ทําพร้อมกับการถอนแยกต้นพืชให้เหลือ 1 ต้นต่อหลุม เป็นการสะดวกสําหรับเกษตรกรในการปฏิบัติ
และครั้งที่สองทําพร้อมกับการใส่ปุ๋ยครั้งที่สอง เมื่อทานตะวันมีใบจริง 6-7 คู่ ทํารุ่นพร้อมกับใส่ปุ๋ยและ
พูนโคนต้นไปด้วย ในแปลงที่มีปัญหาวัชพืชขึ้นรบกวน ควรทําการกําจัดวัชพืชเพื่อป้องกันการแย่งอาหารและความชื้นในดิน ตั้งแต่ต้นยังเล็กหรือใช้สารเคมีคุมกําเนิดหรือใช้สารเคมีคุมกําเนิดพวกอะลาคลอร์ หรือเมโธลาคลอร์ฉีดพ่นหลังหยอดเมล็ดก่อนที่จะงอกในอัตรา 300-400 ซีซีผสมนํ้า 4 ปี๊บ สําหรับฉีดพ่นในเนื้อที่ปลูก 1 ไร่ โดยฉีดให้สมํ่าเสมอกันสามารถคุมการเกิดวัชพืชได้นานถึง 2 เดือน และควรใช้แรงงานคน สัตว์หรือเครื่องทุ่นแรง ทํารุ่นได้ตามความจําเป็น

ข้อควรระวัง
ห้ามใช้สารเคมีกําจัดวัชพืชอะทราซีนในทานตะวันโดยเด็ดขาด

การเก็บเกี่ยว
ทานตะวัน จะมีอายุการเก็บเกี่ยวแตกต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพันธุ์ที่ปลูก (พันธุ์ลูกผสม อายุเก็บเกี่ยว 90-100 วัน)

วิธีการ
เก็บเกี่ยวนั้นให้สังเกตจากด้านหลังของจานดอกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองซึ่งเป็นช่วงการสร้างนํ้ามันในเมล็ดจะเริ่มลดลง และจะหยุด
สร้างนํ้ามันเมื่อจานดอกเปลี่ยนเป็นสีนํ้าตาลก็เริ่มเก็บเกี่ยวได้หลัง
จากนั้นให้นําไปผึ่งแดดจัด ๆ 1-2 แดด โดยแขวนให้หัวห้อยลงและ
หมั่นกลับช่อดอก เพื่อให้ดอกแห้งอย่างสมํ่าเสมอ ถ้าเก็บเกี่ยวในช่วงที่ยังมีฝนชุกให้นํามาผึ่งในร่ม
หลายๆ วันจนแห้งสนิท แล้วจึงรวบรวมไปนวด อาจใช้แรงคนหรือสัตว์หรือใช้เครื่องนวดเมล็ดถั่วเหลืองหรือถั่วลิสงก็ได้เสร็จแล้วนําไปทําความสะอาดแล้วเก็บไว้ในยุ้งฉางที่ป้องกันแดด-ฝน และแมลงศัตรูได้ เพื่อรอจําหน่าย (ความชื้นของเมล็ดที่จะเก็บรักษาไว้ควรไม่เกิน 10%)

การให้ผลผลิต
การปลูกทานตะวันในพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีการบํารุงรักษาดีจะให้ผลผลิตไม่ตํ่ากว่า
300 กิโลกรัมต่อไร่แต่โดยเฉลี่ยประมาณไม่ตํ่ากว่า 200 กิโลกรัมต่อไร่

โรคแมลงและศัตรูทานตะวัน
- โรคใบและลําตำนไหม้อัลเทอร์นาเรีย
- โรคโคนเน่าหรือลําต้นเน่า
แมลงศัตรูทานตะวัน
- หนอนกระทู้ผัก
- หนอนเจาะสมอฝ้าย
- หนอนม้วนใบส้ม
- หนอนเจาะลําต้นข้าวโพด

ศัตรูทานตะวัน
นก หนูและอื่น ๆ นับว่าเป็นศัตรูสําคัญอีกประการหนึ่ง ที่จะทําความเสียหายให้แก่ทานตะวัน
โดยเฉพาะในแหล่งปลูกใหญ่ๆ ฉะนั้นเกษตรจะต้องหมั่นออกสํารวจตรวจแปลงเสมอ เมื่อพบว่ามีการ
ระบาดก็ให้รีบทําการป้องกันกําจัด โดยวิธีกลคือ การวางกับดัก การล้อมตีเป็นต้น

ประโยชน์ของทานตะวัน
แต่เดิมทานตะวันเป็นเพียงไม้ดอกไม้ประดับเท่านั้น ต่อมาได้นําเมล็ดมาเป็นของขบเคี้ยว และ
สกัดเป็นนํ้ามัน จึงทําให้กลายเป็นพืชเศรษฐกิจที่สําคัญพืชหนึ่ง การใช้ประโยชน์จากทานตะวันมีหลายลักษณะดังนี้

1. เมล็ด ใช้บริโภคโดยตรง เพื่อเป็นแหล่งโปรตีนแทนเนื้อสัตว์ได้ในเมล็ด มีธาตุเหล็กสูงไม่แพ้
ธาตุเหล็กจากไข่แดงและตับสัตว์เมื่อบดทําแป้งจะได้แป้งสีขาว มีไขมันสูง มีโปรตีนมากกว่าร้อยละ 50ของปริมาณแป้ง
2. เปลือกของลําต้น มีลักษณะเหมือนเยื่อไม้นํามาทํากระดาษสีขาวได้คุณภาพดีลําต้นใช้ทํา
เชื้อเพลิงได้เมื่อไถกลบจะเป็นปุ๋ยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ดินได้ดี
3. ราก ใช้ทําแป้งเค้ก สปาเก็ตตี้ในรากมีวิตามินบี1 และธาตุอีกหลายชนิด แพทย์แนะนําให้ใช้ รากทานตะวันประกอบอาหารสําหรับผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน
4. นํ้ามัน นํ้ามันที่สกัดจากเมล็ดจะให้ปริมาณนํ้ามันสูงถึงร้อยละ 35 และได้นํ้ามันที่มีคุณภาพ
สูง ประกอบด้วยกรดไขมันที่ไม่อิ่มตัวเช่น กรดลิโนเลอิค หรือกรดลิโนเลนิค สูงถึงร้อยละ 60-70 ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อร่างกายในการช่วยลดคลอเรสเตอรอลที่เป็นสาเหตุของโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือดได้ และยังประกอบด้วยไวตามิน เอ ดีอีและเค ซึ่งคุณภาพของไวตามินอีจะสูงกว่าในนํ้ามันพืชอื่น ๆ เมื่อ เก็บไว้เป็นเวลานานจะไม่เกิดกลิ่นหืน ทั้งยังทําให้สีกลิ่น และรสชาติไม่เปลี่ยนแปลง นอกจากใช้เป็นนํ้ามันพืชแล้วยังนิยมใช้ในอุตสาหกรรม ทําเนยเทียม สีนํ้ามันชักเงา สบู่และนํ้ามันหล่อลื่นเครื่องยนต์
5. กาก กากที่ได้จากการสกัดนํ้ามันออกแล้ว จะนําไปใช้เป็นส่วนผสมของอาหารสัตว์ได้ในกาก
เมล็ดทานตะวันที่กะเทาะเปลือกและบีบนํ้ามันออกแล้ว จะมีโปรตีนร้อยละ 42 และใช้เป็นแหล่ง
แคลเซียมสําหรับปศุสัตว์ได้ดีแต่จะมีปริมาณกรดอะมิโนอยู่เล็กน้อย และขาดไลซีนจึงต้องใช้อย่างรอบคอบ เมื่อจะเอาไปผสมเป็นอาหารสัตว์ที่มิใช่สัตว์เคี้ยวเอื้อง


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
รูปภาพจาก
อ่าน:3354
แก้พืชไม่กินปุ๋ย พืชแคระ โตช้า ไม่เขียว ใบเหลือง ด้วย FK-1
แก้พืชไม่กินปุ๋ย พืชแคระ โตช้า ไม่เขียว ใบเหลือง ด้วย FK-1

FK-1 ฉีดพ่นเพื่อแก้ปัญหาพืชแคระ โตช้า พืชไม่กินปุ๋ย อาการพืชขาดธาตุต่างๆ ครบ จบในกล่องเดียว

https://www.youtube.com/watch?v=KQtGTCD3J8M
สั่งซื้อได้ 3 ช่องทาง
โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกเพื่อแอดไลน์ http://line.me/ti/p/~FarmKaset เฟสบุ๊คแชทสั่งซื้อ https://www.facebook.com/farmkaset มีเจ้าหน้าที่คอยตอบตลอดเวลา
อ่าน:3354
แก้วมังกรเงินล้านของเกษตรกรตัวอย่าง-สกลฯ
แก้วมังกรเงินล้านของเกษตรกรตัวอย่าง-สกลฯ
แก้วมังกร กำลังเป็นผลไม้ที่นิยมปลูกในจังหวัดสกลนครเนื่องจากผลผลิตทำรายได้ให้ปีละ หลายแสนบาทถึงปีนี้ราคาต่อกิโลกรัมจะตกลงกว่าปีที่แล้ว แต่ยังสามารถกระตุ้นเศรษฐกิจในจังหวัดได้เป็นอย่างดี

เกษตรกร ตัวอย่าง เจ้าของสวนธนูทอง เล่าว่า บนพื้นที่กว่า 20 ไร่ ของสวนธนูทอง บ้านหนองยาง ตำบลพังขว้าง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร เต็มไปด้วยต้นแก้วมังกรที่เขียวขจี สลับกับสีชมพูอมแดงของผลแก้วมังกรที่กำลังสุกงอมรอการ...

อ่านทั้งหมดที่ http://www.farmkaset.org/contents/default.aspx?content=00226
อ่าน:3354
การป้องกันกำจัดโรคและศัตรูทุเรียน โรคทุเรียน เพลี้ยแป้งทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ในทุเรียน โรคใบติด ในทุเรียน โรคเชื้อรา ไฟทอฟธอรา ทุเรียน
การป้องกันกำจัดโรคและศัตรูทุเรียน โรคทุเรียน เพลี้ยแป้งทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ในทุเรียน โรคใบติด ในทุเรียน โรคเชื้อรา ไฟทอฟธอรา ทุเรียน
การป้องกันกำจัดโรคและศัตรูทุเรียน โรคทุเรียน เพลี้ยแป้งทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ในทุเรียน โรคใบติด ในทุเรียน โรคเชื้อรา ไฟทอฟธอรา ทุเรียน
ศัตรูที่สำคัญของทุเรียนในระยะต้นเล็กซึ่งมีการเจริญเติบโตทางกิ่งก้านสาขา ได้แก่ โรครากเน่าโคนเน่า โรคราใบติด โรคราสีชมพู เพลี้ยไก้แจ้ และปัญหาสำคัญ คือวัชพืช ควรใช้หลายๆ วิธีประกอบกัน ทั้งการใช้แรงงานถอน ถาก ตัดด้วยเครื่องมือหรือใช้ยาอินทรีย์ โดยต้องระมัดระวังอย่าให้ระบบรากกระทบกระเทือน

1. โรคจากเชื้อราไฟทอฟธอรา
1.1 โรคเข้าทำลายใบ ให้พ่นไอเอส ให้ทั่วทั้งภายในและนอกทรงพุ่ม
1.2 โรคที่ระบบราก ใช้ไอเอสผสมน้ำราดใต้ทรงพุ่มให้ทั่ว พร้อมกับกระตุ้นการเจริญของรากโดยการผสมปุ๋ยน้ำ FK-1 ไปพร้อมกัน
1.3 โรคที่ลำต้นและกิ่ง ถ้าอาการเล็กน้อย ให้ขูดผิวเปลือกส่วนที่เป็นโรคออกนำไปเผาทำลาย แล้วทาด้วยปูนแดง ถ้าพบอาการรุนแรง ใช้กรดฟอสฟอรัส ฉีดเข้าลำต้น หรือกิ่งในบริเวณตรงข้าม หรือส่วนที่เป็นเนื้อไม้ดีใกล้บริเวณที่เป็นโรค

2. โรคใบติด พบอาการเล็กน้อยให้ตัดเผาทำลาย หากอาการรุนแรงให้พ่นด้วยไอเอส

3. เพลี้ยไก่แจ้ เมื่อพบยอดทุเรียนถูกทำลายมากกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ของยอดหรือพบไข่บนยอดมากกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ให้พ่นด้วยมาคา ทุก 3 ถึง 7 วันจนใบแก่

4. หนอนเจาะผล พ่นด้วยไอกี้-บีที

ขอบคุณข้อมูลก่อนปรับแต่งจาก arda.or.th/kasetinfo/south/durian/controller/01-08.php
อ่าน:3354
โรครา โรคใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ราน้ำค้าง ไฟทอปธอร่า บวกด้วย ฟึ้นฟู ให้แตกยอด แตกใบใหม่
โรครา โรคใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ราน้ำค้าง ไฟทอปธอร่า บวกด้วย ฟึ้นฟู ให้แตกยอด แตกใบใหม่
แก้ปัญหาโรคพืช ที่ีมีสาเหตุจากเชื้อรา ยกตัวอย่างเช่น โรคใบไหม้ ในพืชต่างๆ โรคใบติดทุเรียน โรคราน้ำค้างองุ่น เกิดจากเชื้อรา Plasmopara viticola ในแคนตาลูป เกิดจากเชื้อรา Pseudoperonospora cubensis ในข้าวเกิดจาก เชื้อรา Peronosclerospora sorghi โรคใบไหม้มันฝรั่ง โรคใบจุดสีน้ำตาลในข้าว โรคเน่าคอรวงในข้าว หรือข้าวขาดคอรวง โรคแอนแทรคโนส พริก และพืชอื่นๆ ที่เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum sp โรคราแป้ง เกิดจากเชื้อรา Oidium sp. โรคใบจุด โรคราสนิม โรคราน้ำค้าง โรคราดำ โรคราเขม่าดำ และโรคเชิื้อราในอีกหลายพืช

โรคที่ใช้ไอเอสไม่ได้ คือโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุจากเชื้อรา แต่มีสาเหตุจากเชื้อไวรัส เช่น โรคใบด่าง โรคใบด่างในอ้อย โรคไวรัสวงแหวนมะละกอ หรือโรคที่มีสาเหตุจากแบคทีเรียต่างๆ เช่น โรคแคงเกอร์ในพืชตระกูลส้ม มะนาว ก็ใช้ไอเอสไม่ได้เช่นกัน

🍂ไอเอส ราคา 450บาท บรรจุ 1ลิตร ส่วนผสม 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
🌾FK ธรรมชาตินิยม ราคา 490บาท บรรจุ 250ซีซี ส่วนผสม 25-50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกที่นี่เพื่อแอดไลน์

🎖 คลิกที่นี่เพื่อสั่งซื้อผ่านหน้าเว็บ

🍂ข้อมูล ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค

🎗คุณประโยชน์
- ป้องกันการเข้าทำลายของเชื้อรา สาเหตุโรคในพืชต่างๆ
- ลดการแพร่กระจายของเชื้อราที่เกิดกับพืช
- ป้องกันการลุกลามของแผลที่เกิดจากการเข้าทำลายของเชื้อรา
- มีความต้านทานโรคเพิ่มขึ้น เมื่อใช้เป็นประจำ
อ่าน:3354
หนอนเจาะดอกมะลิ ดอกมะลิจะเป็นสีน้ำตาลแห้ง ยากำจัด หนอนมะลิ ใช้ ไอกี้ บำรุง ฟื้นตัวด้วย FK-T
หนอนเจาะดอกมะลิ ดอกมะลิจะเป็นสีน้ำตาลแห้ง ยากำจัด หนอนมะลิ ใช้ ไอกี้ บำรุง ฟื้นตัวด้วย FK-T
ไอกี้ และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

หนอนเจาะดอกมะลิเป็นแมลงศัตรูที่สำคัญของมะลิ หนอนจะเจาะดอกเข้าไปกัดกินเกสรอยู่ภายในดอก ทำให้กลีบดอกช้ำเห็นมูลเป็นขุยๆ อยู่ภายใต้ดอก ต่อมาดอกจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแห้งและร่วงหล่น หนอนเข้าทำลายตั้งแต่ขนาดดอกเท่าหัวไม้ขีดไฟ ถ้าไม่มีดอกจะกัดกินใบอ่อนหรือยอดอ่อน จะระบาดมากในฤดูฝน ทำให้ดอกเสียหายมาก

ไอกี้ เป็นสารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ปลอดภัย กำจัดหนอนต่างๆหลายชนิด
ขนาด 500 กรัม (แนะนำให้ใช้คู่กับ FK ธรรมชาตินิยม เพื่อเร่งฟื้นฟูบำรุง)
อัตราผสม 25 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอกี้ และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
ไอกี้ 25 กรัม และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
อ่าน:3354
ป้องกัน กำจัดหนอน ในแก้วมังกร ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน ปลอดสารพิษ
ป้องกัน กำจัดหนอน ในแก้วมังกร ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน ปลอดสารพิษ
ป้องกัน กำจัดหนอน ในแก้วมังกร ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน ปลอดสารพิษ

หนอนเจาะผลแก้วมังกร ทำลายผลผลิต แถมเสียชื่ออีกด้วย ฉีดพ่นป้องกันไว้ดีกว่า ด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/..

อ่าน:3354
3517 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 7 รายการ
|-Page 83 of 352-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
EP01 การพัฒนาจังหวัดกับงบ 4 แสนล้าน สภากาแฟอำนาจเจริญ คุณวินัย มีชัย - ปิยะมาศ บัวแก้ว Piyamas Live
Update: 2563/06/12 07:23:37 - Views: 3313
การจัดการเพลี้ยในต้นโหระพา: วิธีป้องกันและกำจัดเพลี้ยในสวนผัก
Update: 2566/11/24 12:27:23 - Views: 3359
คู่มือป้องกันกำจัดโรคขนุน ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคใบไหม้ ขนุนผลเน่า เชื้อราต่างๆ
Update: 2566/04/30 10:12:58 - Views: 3359
ทุ่มงบประมาณ  34 ล้านบาท ขยายตลาดยางแบบ ข้อตกลงส่งมอบจริง
Update: 2555/08/07 15:28:15 - Views: 3324
การป้องกันและกำจัดโรคพืชจากเชื้อราในข้าวโพด
Update: 2566/05/17 09:54:42 - Views: 3339
ชวนชมใบไหม้ โรคราน้ำค้างชวนชม ยารักษาโรคชวนชม โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/26 01:57:45 - Views: 3361
มันสำปะหลัง ทำลายดิน จริงหรือ
Update: 2565/07/28 17:08:12 - Views: 3314
โรคราแป้งกุหลาบ
Update: 2564/08/22 21:48:32 - Views: 3326
โรคใบไหม้ ในพืชต่างๆ ราน้ำค้าง ราสนิม ใบจุด พืชขาดธาตุอาหาร ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม #โรคใบไหม้ #โรคพืชจากเชื้อรา
Update: 2564/11/01 08:17:32 - Views: 3323
กำจัดเพลี้ยถั่วลิสง เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยไฟ ด้วยมาคา หากปล่อยไว้ผลผลิตลดได้ถึง 50%
Update: 2562/08/10 09:34:19 - Views: 3504
สูตรกำจัดหนอน กำจัดหนอนลำไย กำจัดหนอนลิ้นจี่
Update: 2564/08/17 00:32:54 - Views: 3359
หนอนในต้นมะเขือเทศ: วิธีแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในสวนผักของคุณ
Update: 2566/11/17 14:27:57 - Views: 3348
5 ประโยชน์ของกัญชา ที่น่าสนใจ
Update: 2565/09/12 15:43:07 - Views: 3346
ดอกชบา การปลูกชบา การดูแล ป้องกันกำจัดโรค และแมลง
Update: 2564/03/27 00:40:19 - Views: 3463
กำจัดเพลี้ย ใน มะนาว เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/02 15:36:21 - Views: 3321
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบไหม้ ใบจุด ใบเหลือง ใน ดอกมะลิ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/10 12:52:11 - Views: 3327
กำจัด เพลี้ยหอยเกล็ด ศัตรูพืชในต้นทุเรียน มาคา สารอัลคาลอยด์สกัดจากธรรมชาติ
Update: 2566/05/20 12:55:59 - Views: 3434
การป้องกันและกำจัดโรคราสีชมพูในยางพารา
Update: 2566/03/04 10:18:41 - Views: 3333
ปุ๋ยน้ำบำรุงเงาะ ปุ๋ยฉีดพ่นเงาะ ปุ๋ยทางใบสำหรับเงาะ ปุ๋ยเงาะ ปลูกเยอะใช้ FK-1 ปลูกน้อยใช้ FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/10/13 00:53:51 - Views: 3352
ปุ๋ยสำหรับทุเรียน ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ ส่งเสริมการเจริญเติบโต และผลผลิตทุเรียน
Update: 2564/05/07 03:05:36 - Views: 3349
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022