[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3569 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 9 รายการ

 
หนอนในต้นมะเขือเทศ: วิธีแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในสวนผักของคุณ
หนอนในต้นมะเขือเทศ: วิธีแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในสวนผักของคุณ
หนอนในต้นมะเขือเทศ: วิธีแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในสวนผักของคุณ
การมีหนอนในต้นมะเขือเทศอาจเกิดจากหลายสาเหตุ ดังนั้นการจัดการกับสถานการณ์นี้จะขึ้นอยู่กับประการประการหลายปัจจัย เช่น ดิน การดูแลรักษา และสภาพแวดล้อมทั่วไปของพื้นที่ที่คุณปลูกมะเขือเทศ นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับประเภทของหนอนที่คุณพบในต้นมะเขือเทศด้วยว่าเป็นหนอนแมลงอะไร

นี่คือบางวิธีที่สามารถช่วยในการจัดการหนอนในต้นมะเขือเทศ:

ตรวจสอบต้นมะเขือเทศ:

ตรวจสอบต้นมะเขือเทศอย่างสม่ำเสมอ เมื่อคุณพบสัญญาณของหนอน ควรทำการเอาออกจากต้นมะเขือเทศทันที เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อไปยังต้นอื่นๆ

ใช้สารเคมี:

คุณสามารถใช้สารเคมีเพื่อควบคุมหนอน โปรดอ่านฉลากและปฏิบัติตามคำแนะนำของผู้ผลิตอย่างเคร่งครัด เลือกสารเคมีที่ปลอดภัยต่อพืชและผู้บริโภค

ใช้วิธีทางธรรมชาติ:

การใช้วิธีทางธรรมชาติ เช่น การใช้สารเคมีที่มีตัวต้านทานต่อหนอน (biopesticides) หรือการใช้สารสกัดจากพืชที่มีสมบัติไล่หนอนได้

ใช้แผ่นกันแมลงหรือตาข่ายกันแมลงเพื่อป้องกันหนอนที่จะเข้ามาทำลายต้นมะเขือเทศ

ปรับปรุงดิน:

บางครั้งหนอนอาจมีต้นตำหนิที่ดิน ดังนั้นการปรับปรุงดินโดยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์หรืออินทรีย์เคมีอาจช่วยในการป้องกันหนอน
การจัดการหนอนในต้นมะเขือเทศต้องการการเฝ้าระวังและการดูแลรักษาตลอดเวลา เพื่อป้องกันการระบาดของหนอนที่อาจทำให้เกิดความเสียหายต่อพืชของคุณ

.
ไอกี้-บีที เป็นสารชีวินทรีย์ ป้องกัน กำจัด หนอนในต้นมะเขือเทศ
ไอกี้-บีที สามารถป้องกันกำจัดหนอนต่างๆ ในพืชทุกชนิดได้เช่นกัน
.
สั่งซื้อ ไอกี้-บีที ได้ที่ ลาซาด้า คลิก http://ไปที่..link..
หรือ โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset
.
อ่าน:3456
ป้องกันและกำจัดเพลี้ยหอย ศัตรูพืชสำหรับต้นกาแฟ ด้วย INVET และเร่งฟื้นฟู ด้วย ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5
ป้องกันและกำจัดเพลี้ยหอย ศัตรูพืชสำหรับต้นกาแฟ ด้วย INVET และเร่งฟื้นฟู ด้วย ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5
ป้องกันและกำจัดเพลี้ยหอย ศัตรูพืชสำหรับต้นกาแฟ ด้วย INVET และเร่งฟื้นฟู ด้วย ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5
การใช้ INVET ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดเพลี้ยหอย ศัตรูพืชสำหรับต้นกาแฟ

เพลี้ยหอย เป็นศัตรูพืชสำคัญที่พบได้ทั่วไปในสวนกาแฟ แมลงชนิดนี้ดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบและลำต้น ทำให้ต้นกาแฟอ่อนแอ ใบเหลือง เหี่ยวเฉา ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและผลผลิต เกษตรกรจึงต้องหาวิธีป้องกันและกำจัดเพลี้ยหอยอย่างมีประสิทธิภาพ

INVET เป็นยาฆ่าแมลงประเภทดูดซึม มีชื่อสามัญว่า ไดโนเตฟูราน มีประสิทธิภาพสูงในการกำจัดเพลี้ยหอย

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 เป็นปุ๋ยสูตรเร่งโต เร่งเขียว ประกอบด้วยธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ในอัตราส่วนที่เหมาะสม ช่วยให้ต้นกาแฟฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของเพลี้ยหอย และกลับมาเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว

วิธีการผสมและฉีดพ่น

ผสม INVET 20 กรัม กับปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 25 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร คนให้เข้ากันจนละลาย ฉีดพ่นให้ทั่วใบ ลำต้น และใต้ใบ
ฉีดพ่นในช่วงเช้าหรือเย็น อากาศไม่ร้อนจัด
ฉีดพ่นทุก 7-10 วัน หรือเมื่อพบการระบาดของเพลี้ยหอย

ข้อควรระวัง
สวมอุปกรณ์ป้องกัน เช่น ถุงมือ หน้ากาก แว่นตา เมื่อผสมและฉีดพ่น
ห้ามฉีดพ่นในขณะที่มีลมแรง
เก็บรักษา INVET และปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 ให้มิดชิด พ้นมือเด็กและสัตว์เลี้ยง
ห้ามนำภาชนะที่ใช้แล้วไปใส่อาหารหรือน้ำ

ข้อดีของการใช้ INVET ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5
กำจัดเพลี้ยหอยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ช่วยให้ต้นกาแฟเจริญเติบโต แข็งแรง ใบเขียว
ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย
สะดวก ใช้งานง่าย

การใช้ INVET ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงในการป้องกันและกำจัดเพลี้ยหอยในต้นกาแฟ เกษตรกรควรใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เพื่อรักษาผลผลิตให้ได้คุณภาพ

อัตราส่วนผสม อิทเวท ป้องกันกำจัดเพลี้ย
20กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร *ควรผสมฉีดพ่นไปพร้อมกับ สตาร์เฟอร์สูตร 30-20-5 เพื่อให้พืชฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของเพลี้ยได้เร็ว และกลับมาเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว

อัตราส่วนผสมใช้ ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ (ทุกสูตร)
อัตราส่วน 25 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
ถัง 16-20 ลิตร ใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 25 กรัม (1ช้อนโต๊ะ)
ถัง 200 ลิตร ใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 250 กรัม (1ส่วน4ถุง)


ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 1 ถุง บรรจุ 1 กิโลกรัม ผสมน้ำได้ 800 ลิตร ใช้ได้ประมาณ 10 ไร่

📌สั่งซื้อ สอบถาม

»โทร 097-918-3530
»ไลน์ janemini1112

🔎ซื้อกับลาซาด้า ช้อปปี้
.
» ซื้อสินค้า ที่ช้อปปี้: http://ไปที่..link..
.
» ซื้อสินค้า ที่ลาซาด้า: http://ไปที่..link..
โรคราน้ำค้างแตงกวา และพืชตระกูลแตง โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
โรคราน้ำค้างแตงกวา และพืชตระกูลแตง โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
โรคราน้ำค้าง มีสาเหตุจากเชื้อรา Pseudoperonospora cubensis

ชนิดพืชที่อาจเกิดผลกระทบ กับโรคราน้ำค้าง : พืชตระกูลแตง เช่น แตงกวา แตงร้าน แตงโม แตงไทย เมล่อน แคนตาลูป ซูกินี ฟักทอง ฟักเขียว ฟักแม้ว มะระจีน และบวบ ในทุกระยะการเจริญเติบโต

มักพบอาการของโรคบนใบทีอยู่บริเวณด้านล่างของต้นก่อน แล้วขยายลุกลามไปยังใบที่อยู่ด้านบน อาการเริ่มแรก บนใบปรากฏแผลฉ่ำน้ำ ต่อมาแผลจะขยายตามกรอบของเส้นใบย่อย ทำให้เห็นแผลเป็นรูปเหลี่ยมเล็กๆ ต่อมาแผลเปลี่ยนเป็นสีเหลือง ในตอนเช้าที่สภาพอากาศมีความชื้นสูงจะพบเส้นใยของเชื้อรา ลักษณะเป็นขุยสีขาวถึงเทา ตรงแผลบริเวณด้านใต้ใบ แผลจะขยายติดต่อกัน เป็นแผลขนาดใหญ่เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มหรือเทาดำ หากอาการรุนแรงจะทำให้ใบเหลืองและแห้งตายทั้งต้น พืชที่เป็นโรคจะติดผลน้อย ผลมีขนาดเล็ก คุณภาพของผลจะลดลง หากเป็นโรคในระยะมีผลอ่อน จะทำให้ผลลีบเล็ก และบิดเบี้ยว

โรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ยกตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น อาการ ใบไหม้ ใบจุด ใบขีดสีน้ำต้าง โรคใบติด ราสนิม ราน้ำค้าง โรคกุ้งแห้ง แอนแทรคโนส ไฟท็อปโธร่า เป็นต้น

ทั้งอาการใบไหม้ และใบเหลือง เกิดได้จากหลายสาเหตุ อาจเกิดได้จากโรค และการขาดธาตุอาหารพืชที่จำเป็น รวมถึงการให้น้ำ และการได้รับแสงแดด ซึ่งการพิจารณาสาเหตุนั้น ต้องสังเกตุอาการ และแก้ปัญหาทีละจุด

ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืชต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

FKธรรมชาตินิยม แก้ปัญหาโรคพืช ที่เกิดจากการขาดธาตุอาหารพืชต่างๆ และส่งเสริมการเจริญเติบโต ตลอดไปถึง การส่งเสริมผลผลิตพืช

ยกตัวอย่างเช่น

อาการใบไหม้ และอาการต่างๆ ที่เกิดจากโรคเชื้อรา
- โรคใบไหม้ โรคใบจุด และโรคใบขีดสีน้ำตาล จะต่างจากการขาดธาตุที่สังเกตุได้คือ โรคที่มีสาเหตุจากเชื้อรา จะลุกลามไปยังใบไหม้ และลุกลามขยายวงไปยังต้นข้างเคียง
- โรคราแป้ง ราสนิม ราน้ำค้าง มีการลุกลามติดต่อเช่นกัน

อาการใบไหม้ และอาการต่างๆ ที่เกิดจากการขาดธาตุ
- ขาด โพแทสเซียม ที่ใบแก่จะเหลืองซีด ขอบใบมีจุดสีน้ำตาลไหม้
- ขาด แมกนีเซียม ใบจะมีจุดเหลืองทั่วทั้งใบ ที่ปลายใบจะแห้ง
- ขาด สังกะสี ใบจะมีจุดเหลืองคล้ายราสนิม

อาการใบเหลือง ใบซีด ก็เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น
- ใบเหลือง จากการขาดธาตุ ไนโตรเจน
- ใบเหลือง เพราะได้รับแสงไม่เพียงพอ
- ใบเหลือง เพราะรดน้ำมาก หรือน้อยจนเกินไป
- ใบเหลือง เพราะค่า pH หรือความเป็นกรดด่างของดิน ไม่เหมาะสม
- ใบเหลือง เพราะขาดธาตุเหล็ก
- ใบเหลือง เพราะพืชลดจำนวนคลอโรฟิลล์ เพราะการขาดธาตุรอง หรือธาตุเสริมบางอย่าง

อาการใบไหม้และโรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ทุก 3-5 วัน

อาการของพืช ที่เกิดจากการขาดธาตุต่างๆ ฉีดพ่น FK ธรรมชาตินิยม

หมายเหตุ สามารถ ผสม ไอเอส และ FK ธรรมชาตินิยม ฉีดพ่นไปพร้อมกันในคราวเดียว

อัตราส่วนผสม
ไอเอส 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
FKธรรมชาตินิยม 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
สามารถผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
*สำหรับท่านที่พ่นด้วย ฟ็อกกี้ ขนาด 1-2ลิตร ใช้ฝา FKธรรมชาตินิยมตวงประมาณ 2ฝา


การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
เพลี้ยไฟมังคุด เพลี้ยมังคุด เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
เพลี้ยไฟมังคุด เพลี้ยมังคุด เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
ป้องกัน กำจัด เพลี้ย แมลงจำพวกปากดู ศัตรูพืช เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ แมลงหวี่ขาว ฉีดพ่น มาคา

อัตราส่วนการใช้ 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทั่วบริเวณที่มีการระบาด

คุณสมบัติของมาคา

หลักการทำงานและวิธีการออกฤทธิ์
วิธีการออกฤทธิ์ในการ ฆ่าและกำจัด โดยสารสกัดที่อยู่ในรูปของ อัลคาลอยด์ จะมีผลโดยเป็นพิษต่อระบบประสาทของแมลง และยับยั้งกระบวนการหายใจโดยจะไปมีผลในระบบของการสร้างพลังงานภายในเซลล์ร่างกายทำให้ร่างกายของแมลงขาดพลังงานทำงานช้าลงและตายในที่สุด จึงมีผลทำให้แมลงตายในที่สุด

วิธีการออกฤทธิ์ในการ ไล่ สารสกัดที่ได้ใช้ทั้งกลิ่นและการสร้างความเจ็บปวด ทรมานและเกิดอาการแสบ ร้อน ให้กับแมลงที่สัมผัสหรือได้รับสารนี้เข้าไป โดยกลิ่นที่ฉุนจะทำให้เกิดความไม่คุ้นเคยสร้างความสับสนให้กับแมลงและสารนี้ยังไปกระตุ้นระบบประสาทรับความรู้สึกในส่วนของความเจ็บปวด ความแสบ ร้อน ของแมลงให้เกิดมากขึ้นจนเกินกว่าที่ร่างกายของแมลงจะทนรับได้ จึงมีผลทำให้แมลงมีสภาวะที่ผิดปกติ ต้องบินหนีไป

สารในรูปของน้ำมัน ( oil ) ทำหน้าที่อุดรูหายใจของแมลง ( Spiracles block ) ทำให้แมลงไม่สามารถรับอากาศภายนอกได้ ดังนั้นกระบวนการใช้ออกซิเจนหรือกระบวนการสร้างพลังงาน ( ATP ) เพื่อใช้ในร่างกายจึงถูกรบกวนมีผลทำให้ metabolism ภายในร่างกายของแมลงถูกยับยั้ง แมลงหมดแรง เฉื่อยชา และตายในที่สุด

การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
ผักสลัด ใบจุด ใบไหม้ กำจัดโรคจากเชื้อราต่างๆในผักสลัด ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวน ปุ๋ย
ผักสลัด ใบจุด ใบไหม้ กำจัดโรคจากเชื้อราต่างๆในผักสลัด ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวน ปุ๋ย
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

โรคใบจุด ใบแห้ง ใบไหม้ ในสลัด เกิดจากเชื้อราสาเหตุ Alternaria sp.
โรคใบจุด ผักสลับ พบมาก ในช่วงที่อากาศมีความชื้นสูง และช่วงที่มีแมลงศัตรูพืชระบาด นำพาโรคใบจุดมาติดในผักสลัด โดยเฉพาะฤดูฝน พบระบาดเป็นอย่างมาก อาการจะเริ่มเป็นจุดสีน้ำตาลเล็กๆ และขยายวงกว้างออกมา

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย 'การควบคุมประจุไฟฟ้า' สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
การกำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน
การกำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน
“แหล่งน้ำผิวดิน” หมายถึง แม่น้ำ ลำคลอง หนอง บึง ทะเลสาบ อ่างเก็บน้ำ และแหล่งน้ำสาธารณะอื่นๆ ที่อยู่ภายในผืนแผ่นดิน ซึ่งหมายความรวมถึงแหล่งน้ำสาธารณะที่อยู่ในผืนแผ่นดินบนเกาะด้วย แต่ไม่รวมถึงน้ำบาดาล และในกรณีที่แหล่งน้ำนั้นอยู่ติดกับทะเลให้หมายความถึงแหล่งน้ำที่อยู่ภายในปากแม่น้ำหรือปากทะเลสาบ (ปากแม่น้ำและปากทะเลสาบให้ถือแนวเขตตามที่กรมเจ้าท่ากำหนด)

1. การกำหนดมาตรฐานคุณภาพแหล่งน้ำ มีวัตถุประสงค์
1.1 เพื่อควบคุมและรักษาคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำให้เหมาะสมกับการใช้ประโยชน์ และมีควาปลอดภัยต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน
1.2 เพื่ออนุรักษ์ทรัพยากร และสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ
2. หลักเกณฑ์ในการพิจารณากำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำ
2.1 ความเหมาะสมต่อการนำมาใช้ประโยชน์ในกิจกรรมแต่ละประเภท ในกรณีที่แหล่งน้ำนั้นมีการใช้ประโยชน์หลายด้าน (Multi Purposes) โดยคำนึงถึงการใช้ประโยชน์หลักเป็นสำคัญ ทั้งนี้ ระดับมาตรฐานจะไม่ขัดแย้งต่อการใช้ประโยชน์หลายด้านพร้อมกัน
2.2 สถานการณ์คุณภาพน้ำในแหล่งน้ำหลักของประเทศ และแนวโน้มของคุณภาพน้ำที่อาจมีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากการพัฒนาด้านต่างๆ ในอนาคต
2.3 คำนึงถึงสุขภาพและความปลอดภัยของชีวิตมนุษย์และสัตว์น้ำส่วนใหญ่
2.4 ความรู้สึกพึงพอใจในการยอมรับระดับคุณภาพน้ำในเขตต่างๆ ของประชาชนในพื้นที่ลุ่มน้ำหลักและของประชาชนส่วนใหญ่
3. เป้าหมายในการกำหนดมาตรฐานคุณภาพในแหล่งน้ำผิวดิน
3.1 เพื่อให้มีการจัดทำแบ่งประเภทแหล่งน้ำโดยมีมาตรฐานระดับที่เหมาะสมและสอดคล้องกับการใช้ประโยชน์ของแหล่งน้ำ
3.2 เพื่อให้มีมาตรฐานคุณภาพน้ำและวิธีการตรวจสอบที่เป็นหลักสำหรับการวางโครงการต่างๆ ที่ต้องคำนึงถึงแหล่งน้ำเป็นสำคัญ
3.3 เพื่อรักษาคุณภาพแหล่งน้ำตามธรรมชาติ ซึ่งเป็นต้นน้ำลำธารให้ปราศจากการปนเปื้อนจากกิจกรรมใดๆ ทั้งสิ้น
4. ประเภทและมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน
ประเภทและมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดินแบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ แหล่งน้ำประเภทที่ 1 แหล่งน้ำประเภทที่ 2 แหล่งน้ำประเภทที่ 3 แหล่งน้ำประเภทที่ 4 และแหล่งน้ำประเภทที่ 5
4.1 แหล่งน้ำประเภทที่ 1 ได้แก่ แหล่งน้ำที่คุณภาพน้ำมีสภาพตามธรรมชาติ โดยปราศจากน้ำทิ้ง จากกิจกรรมทุกประเภทและสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ
(1) การอุปโภคและบริโภค โดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติก่อน
(2) การขยายพันธุ์ตามธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตระดับพื้นฐาน
(3) การอนุรักษ์ระบบนิเวศน์ของแหล่งน้ำ
4.2 แหล่งน้ำประเภทที่ 2 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ
(1) การอุปโภคและบริโภค โดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติก่อน และผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน
(2) การอนุรักษ์สัตว์น้ำ
(3) การประมง
(4) การว่ายน้ำและกีฬาทางน
4.3 แหล่งน้ำประเภทที่ 3 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ
(1) การอุปโภคและบริโภค โดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติ และผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำทั่วไปก่อน
(2) การเกษตร
4.4 แหล่งน้ำประเภทที่ 4 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเป็นประโยชน์เพื่อ
(1) การอุปโภคและบริโภค โดยต้องผ่านการฆ่าเชื้อโรคตามปกติ และผ่านกระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำเป็นพิเศษก่อน
(2) การอุตสาหกรรม
4.5 แหล่งน้ำประเภทที่ 5 ได้แก่ แหล่งน้ำที่ได้รับน้ำทิ้งจากกิจกรรมบางประเภท และสามารถเป็นประโยชน์เพื่อการคมนาคม
5. การกำหนดมาตรฐานดัชนีคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน
5.1 คุณภาพน้ำในแหล่งน้ำประเภทที่ 1 ต้องมีสภาพตามธรรมชาติ และสามารถใช้ประโยชน์ได้ตาม ข้อ 4 (4.1)
5.2 คุณภาพน้ำในแหล่งน้ำประเภทที่ 2 ต้องมีมาตรฐานดังต่อไปนี้
5.2.1 ไม่มีวัตถุหรือสิ่งของที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ซึ่งจะทำให้ สี กลิ่น และรสของน้ำเปลี่ยนไปตามธรรมชาติ
5.2.2 อุณหภูมิ (Temperature) ไม่สูงกว่าอุณหภูมิตามธรรมชาติเกิน 3 องศาเซลเซียส
5.2.3 ความเป็นกรดและด่าง (pH) มีค่าระหว่าง 5.0 - 9.0
5.2.4 ออกซิเจนละลาย (DO) มีค่าไม่น้อยกว่า 6.0 มิลลิกรัม/ลิตร
5.2.5 บีโอดี (BOD) มีค่าไม่เกินกว่า 0.5 มิลลิกรัม/ลิตร
5.2.6 แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด (Total Coliform Bacteria) มีค่าไม่เกินกว่า 5_000 เอ็ม พี เอ็น./100 มิลลิลิตร
5.2.7 แบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์ม (Fecal Coliform Bacteria) มีค่าไม่เกินกว่า 1_000 เอ็ม พี เอ็น./100 มิลลิลิตร
5.2.8 ไนเตรต (NO3) ในหน่วยไนโตรเจน มีค่าไม่เกินกว่า 5.0 มิลลิกรัม/ลิตร
5.2.9 แอมโมเนีย (NH3) ในหน่วยไนโตรเจน มีค่าไม่เกินกว่า 0.5 มิลลิกรัม/ลิตร
5.2.10 ฟินอล (Phenols) มีค่าไม่เกินกว่า 0.005 มิลลิกรัม/ลิตร
5.2.11 ทองแดง (Cu) มีค่าไม่เกินกว่า 0.1 มิลลิกรัม/ลิตร
5.2.12 นิคเกิล (Ni) มีค่าไม่เกินกว่า 0.1 มิลลิกรัม/ลิตร
5.2.13 แมงกานีส (Mn) มีค่าไม่เกินกว่า 1.0 มิลลิกรัม/ลิตร
5.2.14 สังกะสี (Zn) มีค่าไม่เกินกว่า 1.0 มิลลิกรัม/ลิตร
5.2.15 แคดเมียม (Cd) ในน้ำที่มีความกระด้างในรูปของ CaCO3 ไม่เกินกว่า 100 มิลลิกรัม/ลิตร มีค่าไม่เกินกว่า 0.005 มิลลิกรัม/ลิตร และในน้ำที่มีความกระด้างในรูปของ CaCO3 เกินกว่า 100 มิลลิกรัม/ลิตร มีค่าไม่เกินกว่า 0.05 มิลลิกรัม/ลิตร
5.2.16 โครเมียมชนิดเอ็กซาวาเล้นท์ (Cr Hexavalent) มีค่าไม่เกินกว่า 0.05 มิลลิกรัม/ลิตร
5.2.17 ตะกั่ว (Pb) มีค่าไม่เกินกว่า 0.05 มิลลิกรัม/ลิตร
5.2.18 ปรอททั้งหมด (Total Hg) มีค่าไม่เกินกว่า 0.002 มิลลิกรัม/ลิตร
5.2.19 สารหนู (As) มีค่าไม่เกินกว่า 0.01 มิลลิกรัม/ลิตร
5.2.20 ไซยาไนด์ (Cyanide) มีค่าไม่เกินกว่า 0.005 มิลลิกรัม/ลิตร
5.2.21 กัมมันตภาพรังสี (Radioactivity) มีค่ารังสีแอลฟา (Alpha) ไม่เกินกว่า 0.1 เบคเคอเรล/ลิตร และรังสีเบตา (Beta) ไม่เกินกว่า 1.0 เบคเคอเรล/ลิตร
5.2.22 สารฆาศัตรูพืชและสัตว์ชนิดที่มีคลอรีนทั้งหมด (Total Organochlorins Pesticides) มีค่าไม่เกิน 0.05 มิลลิกรัม/ลิตร
5.2.23 ดีดีที (DDT) มีค่าไม่เกินกว่า 1.0 ไมโครกรัม/ลิตร
5.2.24 บีเอซซีชนิดแอลฟา (Alpha-BHC) มีค่าไม่เกินกว่า 0.02 ไมโครกรัม/ลิตร
5.2.25 ดิลดริน (Dieldrin) มีค่าไม่เกินกว่า 0.1 ไมโครกรัม/ลิตร
5.2.26 อัลดริน (Aldrin) มีค่าไม่เกินกว่า 0.1 ไมโครกรัม/ลิตร
5.2.27 เฮปตาคลอร์ (Heptachlor) และเฮปตาคลอร์อีปอกไซด์ (Heptachlorepoxide) มีค่าไม่เกินกว่า 0.2 ไมโครกรัม/ลิตร
5.2.28 เอนดริน (Endrin) ไม่สามารถตรวจพบได้ตามวิธีการตรวจสอบที่กำหนด
5.3 คุณภาพน้ำในแหล่งน้ำประเภทที่ 3 ต้องมีมาตรฐานตามข้อ 5.2 เว้นแต่
5.3.1 ออกซิเจนละลาย (DO) มีค่าไม่น้อยกว่า 4.0 มิลลิกรัม/ลิตร
5.3.2 บีโอดี (BOD) มีค่าไม่เกินกว่า 2.0 มิลลิกรัม/ลิตร
5.3.3 แบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มทั้งหมด (Total Coliform Bacteria) มีค่าไม่เกินกว่า 20_000 เอ็ม พี เอ็น./100 มิลลิลิตร
5.3.4 แบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์ม (Fecal Coliform Bacteria) มีค่าไม่เกินกว่า 4_000 เอ็ม พี เอ็น./100 มิลลิลิตร
5.4 คุณภาพน้ำในแหล่งน้ำประเภทที่ 4 ต้องมีมาตรฐานตามข้อ 5.2 (5.2.1) ถึง (5.2.5) และ (5.2.8) ถึง (5.2.28) เว้นแต่
5.4.1 ออกซิเจนละลาย (DO) มีค่าไม่น้อยกว่า 2.0 มิลลิกรัม/ลิตร
5.4.2 บีโอดี (BOD) มีค่าไม่เกินกว่า 4.0 มิลลิกรัม/ลิตร
5.5 คุณภาพน้ำในแหล่งน้ำประเภทที่ 5 ต้องมีมาตรฐานต่ำกว่าคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำประเภทที่ 4


แหล่งที่มา: พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 กฎ ประกาศ และระเบียบที่เกี่ยวข้องด้านการควบคุมมลพิษ เรื่อง กำหนดมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดิน ISBN 974-9879-92-9


ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..

สำหรับผู้ผลิตสินค้าที่สนใจตรวจคุณภาพที่ใช้ในการผลิต สามารถส่งตัวอย่างเข้าตรวจวิเคราะห์กับ บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด หรือ CENTRAL LAB THAI ได้ที่ลิงค์นี้
http://www.farmkaset..link..

มังคุด ใบไหม้ ใบจุด กำจัดโรคมังคุด จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
มังคุด ใบไหม้ ใบจุด กำจัดโรคมังคุด จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

โรคขอบใบไหม้มังคุด
สาเหตุและอาการของโรคขอบใบไหม้มังคุด
เกิดจากเชื้อรา เนื้อใบมังคุดที่ถูกทำลายจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดงจนแห้งกรอบขาดหลุดร่วงไปและพบส่วนขยายพันธุ์ที่เป็นเม็ดกลมๆ สีดำเรียงตัวกันเป็นจำนวนมาก บริเวณรอบๆ เนื้อเยื่อที่เป็นแผลจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองล้อมรอบแผลที่แห้งอีกชั้นหนึ่ง เนื่องจากเชื้อราสร้างสารพิษออกมาทำลายเนื้อเยื่อใบไม้

โรคใบจุดมังคุด
สาเหตุและอาการของโรคใบจุดมังคุด
เกิดจากเชื้อรา บนใบเกิดเป็นจุดสีน้ำตาล ขอบแผลมีสีน้ำตาลเข้ม เมื่อเนื้อใบตรงกลางแผลแห้งเชื้อราจะสร้างเม็ดเล็กๆ สีดำกระจายทั่วแผลเพื่อขยายพันธุ์

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย การควบคุมประจุไฟฟ้า สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
โรคลำต้นไหม้ หน่อไม้ฝรั่ง โรคราหน่อไม้ฝรั่ง : STEM BLIGHT DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคลำต้นไหม้ หน่อไม้ฝรั่ง โรคราหน่อไม้ฝรั่ง : STEM BLIGHT DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
เชื้อสาเหตุของ โรคหน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ : รา Phomopsis asparagi Sacc. ลักษณะอาการ : ลำต้นเป็นแผลสีม่วง หรือสีน้ำตาล รูปรี ยาวเป็นแนวเดียวกับลำต้น เมื่อแผลกระจาย กว้างขึ้นจะทำให้ลำต้นไหม้แห้งเป็นทางยาว สามารถเข้าทำลายทุกระยะการเจริญเติบโต

การแพร่ระบาด : พบโรคระบาดรุนแรงในช่วงฤดูฝนที่อากาศมีความชื้นสูง สปอร์ของเชื้อจะปลิวไปกับ น้ำฝน หรือระบบการให้น้ำแบบสปริงเกอร์ได้ และเชื้อสามารถอาศัยข้ามฤดูอยู่ในดินและเศษซากพืชได้เป็น เวลานาน

การป้องกันกำจัด :

1. รักษาความสะอาดในแปลงปลูก ถอนต้นเป็นโรคออกจากแปลง และเผาทำลาย

2. ควรปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อลดปริมาณเชื้อในดิน และไม่ควรปลูกซ้ำในพื้นที่เดิมติดต่อกันเป็นเวลานาน

3. เมื่อพบการระบาดของโรคให้พ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืช

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคหน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ โรคหน่อไม้ฝรั่งต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
เพลี้ยมะยงชิด เพลี้ยมะปราง เพลี้ยไฟ เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยอ่อน เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
เพลี้ยมะยงชิด เพลี้ยมะปราง เพลี้ยไฟ เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยอ่อน เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
ป้องกัน กำจัด เพลี้ย แมลงจำพวกปากดู ศัตรูมะเขือเทศ เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ แมลงหวี่ขาว ฉีดพ่น มาคา

อัตราส่วนการใช้ 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทั่วบริเวณที่มีการระบาด

คุณสมบัติของมาคา

หลักการทำงานและวิธีการออกฤทธิ์
วิธีการออกฤทธิ์ในการ ฆ่าและกำจัด โดยสารสกัดที่อยู่ในรูปของ อัลคาลอยด์ จะมีผลโดยเป็นพิษต่อระบบประสาทของแมลง และยับยั้งกระบวนการหายใจโดยจะไปมีผลในระบบของการสร้างพลังงานภายในเซลล์ร่างกายทำให้ร่างกายของแมลงขาดพลังงานทำงานช้าลงและตายในที่สุด จึงมีผลทำให้แมลงตายในที่สุด

วิธีการออกฤทธิ์ในการ ไล่ สารสกัดที่ได้ใช้ทั้งกลิ่นและการสร้างความเจ็บปวด ทรมานและเกิดอาการแสบ ร้อน ให้กับแมลงที่สัมผัสหรือได้รับสารนี้เข้าไป โดยกลิ่นที่ฉุนจะทำให้เกิดความไม่คุ้นเคยสร้างความสับสนให้กับแมลงและสารนี้ยังไปกระตุ้นระบบประสาทรับความรู้สึกในส่วนของความเจ็บปวด ความแสบ ร้อน ของแมลงให้เกิดมากขึ้นจนเกินกว่าที่ร่างกายของแมลงจะทนรับได้ จึงมีผลทำให้แมลงมีสภาวะที่ผิดปกติ ต้องบินหนีไป

สารในรูปของน้ำมัน ( oil ) ทำหน้าที่อุดรูหายใจของแมลง ( Spiracles block ) ทำให้แมลงไม่สามารถรับอากาศภายนอกได้ ดังนั้นกระบวนการใช้ออกซิเจนหรือกระบวนการสร้างพลังงาน ( ATP ) เพื่อใช้ในร่างกายจึงถูกรบกวนมีผลทำให้ metabolism ภายในร่างกายของแมลงถูกยับยั้ง แมลงหมดแรง เฉื่อยชา และตายในที่สุด

การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
มอดดิน ศัตรูข้าวโพดในภาวะแล้ง
มอดดิน ศัตรูข้าวโพดในภาวะแล้ง
มอดดิน ( Ground weevil : Calomycterus sp.)

ทำลายพืชในระยะตัวเต็มวัยเท่านั้น ระบาดในสภาพแล้งจัด

โดยทั่วไปมอดดินชอบอาศัยในดินและมีสีกลมกลืนกับสีดินจึงได้ชื่อว่ามอดดิน แต่มีรูปร่างลำตัวอ้วนป้อมสั้น และมีปากงุ้มลงคล้ายงวงช้าง เกษตรกรจึงนิยมเรียกว่ามอดช้าง

ลักษณะการทำลาย

กัดกินใบและลำต้นอ่อนของข้าวโพด รวมทั้งเมล็ดที่เพิ่งงอก ทำให้ต้นกล้าเสียหายถึงตายได้ ต้นที่รอดจากการทำลายจะแตกแขนง ชะงักการเจริญเติบโตทำให้ข้าวโพดแก่ไม่พร้อมกัน ฝักลีบเล็กหรือไม่ติดเมล็ด เกษตรกรมักจะไม่สามารถแก้ไขเมื่อเกิดการระบาดของแมลงชนิดนี้ จำเป็นต้องไถทิ้งและปลูกใหม่ มักประสบปัญหานี้ในสภาพฝนแล้ง ซึ่งเป็นการเพิ่มระดับความเสียหายจากแมลงชนิดนี้รุนแรงมากยิ่งขึ้น

รูปร่างลักษณะและชีวประวัติ

มอดดินในระยะไข่มีลักษณะกลมรีสีขาว ผิวเรียบ วางเป็นฟองเดี่ยวๆ ระยะไข่เฉลี่ย 6.8 วัน หนอนมีรูปร่างงอเป็นรูปตัว C ไม่มีขา หนอนที่โตเต็มที่มีความกว้างของหัวกะโหลกเฉลี่ย 0.75 มิลลิเมตร ความยาวลำตัวเฉลี่ย 6.5 มิลลิเมตร

ระยะหนอน เฉลี่ย 45 วัน ดักแด้ มีรูปร่างแบบ exarate pupa คือขาและปีกเคลื่อนไหวได้เป็นอิสระไม่ติดกับลำตัว มีสีขาวครีม ระยะดักแด้ เฉลี่ย 5 วัน

ตัวเต็มวัย เป็นด้วงงวงขนาดเล็ก ลำตัวป้อม มีสีดำปนน้ำตาลและเทา มีขนาดความกว้างของลำตัวเฉลี่ย 2.22 มิลลิเมตร ความยาวลำตัวเฉลี่ย 3.5 มิลลิเมตร กลางวันพบเดินอยู่ทั่วๆ ไปในแปลง หรือหลบอยู่ใต้ดินแถวโคนต้นพืชหรือเศษซากพืช โดยเฉพาะตามกอต้นอ่อนของข้าวโพดที่งอกจากฝักที่หลงตกค้างอยู่ ตัวเต็มวัยเริ่มออกหากินในเวลาพลบค่ำ พร้อมกับจับคู่ผสมพันธุ์กันไปด้วย ตัวเต็มวัยวางไข่ในดินและตัวหนอนจะอาศัยกินอินทรียวัตถุที่อยู่ในดินจนกระทั่งเข้าดักแด้

แหล่งข้อมูล: แมลงศัตรูข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และการป้องกันกำจัด เอกสารประกอบการฝึกอบรม หลักสูตร ระบบการปลูกพืชที่มีข้าวเป็นหลัก สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร

ที่มา http://www.farmkaset..link..
3569 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 9 รายการ
|-Page 184 of 357-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
เทคนิค การปลูกฟักทอง ง่าย ๆ ได้ผลผลิตดีงาม
Update: 2564/08/09 05:04:41 - Views: 3802
กำจัดเพลี้ยในนาข้าว: วิธีการป้องกันและกำจัดเพลี้ยในต้นข้าว
Update: 2566/11/10 14:28:22 - Views: 3613
การควบคุมโรคเชื้อราในมะขามหวานอย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2566/05/04 09:41:13 - Views: 3476
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ในมะเขือยาว เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/28 11:42:39 - Views: 3439
การจัดการหนอนศัตรูพืชที่พบในสวนมะม่วง: วิธีป้องกันและควบคุม
Update: 2566/11/23 10:02:20 - Views: 3608
วิธีปลูกทุเรียนอย่างละเอียด ตั้งแต่การคัดเลือกพันธุ์ ไปจนถึงการเก็บเกี่ยว
Update: 2564/05/31 08:12:06 - Views: 6203
การปลูกเสาวรส
Update: 2564/06/27 08:30:25 - Views: 3581
การจัดการหนอนในต้นชมพู่: วิธีป้องกันและควบคุมศัตรูพืช
Update: 2566/11/24 10:01:32 - Views: 3497
การจัดการและป้องกันโรคที่เกิดจากเชื้อราในต้นบีทรูท
Update: 2566/11/24 09:27:15 - Views: 3493
การป้องกันและกำจัดโรคพืชจากเชื้อราในข้าวโพด
Update: 2566/05/17 09:54:42 - Views: 3565
พืชที่เหมาะจะปลูก ในแต่ละภาค ของประเทศไทย ภาคไหน... ปลูกอะไรดี?
Update: 2565/08/16 18:19:27 - Views: 3843
เจาะเทคนิคปลูก “มันเทศ” เชิงพาณิชย์ ทำยังไงให้ผลผลิตสูง ราคาดี
Update: 2564/04/30 11:44:59 - Views: 3522
มะม่วงเจริญเติบโตได้ดี และให้ผลผลิตสูง ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม ซิงค์ เป็นองค์ประกอบที่สำคัญ
Update: 2566/11/10 07:07:37 - Views: 10398
องุ่น โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ขยายขนาด ผลใหญ่ ผลดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/04/02 14:55:05 - Views: 3480
การใช้ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบสำหรับส้มโอ เพิ่มประสิทธิภาพการเจริญเติบโต
Update: 2566/11/11 13:04:12 - Views: 3429
โรคฟักทอง ฟักทองใบไหม้ ราน้ำค้างฟักทอง โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
Update: 2564/08/09 05:03:57 - Views: 3761
ต้นหม่อน ใบไหม้ ใบจุด รากเน่า ราสนิม เชื้อราต่างๆ ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วยปุ๋ย FK-T
Update: 2567/04/08 10:49:55 - Views: 3421
เร่งการออกดอกและเร่งรากด้วยปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO สำหรับต้นน้อยหน่า
Update: 2567/02/12 13:56:54 - Views: 3542
การปลูกมะนาว: คู่มือสำหรับผู้เริ่มต้นในการปลูกมะนาว
Update: 2566/04/29 08:43:28 - Views: 3513
การใช้ INVET ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน ศัตรูพืชสำหรับต้นแตงโม
Update: 2567/02/24 12:58:23 - Views: 3595
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022