[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3569 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 9 รายการ

 
โรคหน่อไม้ฝรั่งกิ่งไหม้ หรือ โรคใบเทียมร่วง : CERCOSPORA LEAF BLIGHT DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคหน่อไม้ฝรั่งกิ่งไหม้ หรือ โรคใบเทียมร่วง : CERCOSPORA LEAF BLIGHT DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
เชื้อสาเหตุของ โรคหน่อไม้ฝรั่งกิ่งไหม้ : รา Cercospora asparagi ลักษณะอาการ : กิ่ง ก้าน ใบเทียม เป็นแผลลักษณะกลม สีม่วงอมน้ำตาล หรือม่วงแดง ที่ตรงกลาง แผลมีสีขาวขุ่นหรือสีเทา ขอบแผลเป็นสีน้ำตาล อาการรุนแรงทำให้กิ่งก้านและใบเทียมร่วงได้ สามารถเข้า ทำลายได้ทุกระยะการเจริญเติบโต

การแพร่ระบาด : พบโรคระบาดในช่วงที่อากาศมีความชื้นสูง โดยสปอร์ของเชื้อจะปลิวไปกับน้ำฝน หรือระบบการให้น้ำแบบสปริงเกอร์ได้

การป้องกันกำจัด :

1. รักษาความสะอาดในแปลงปลูก ตัดแต่ง กิ่ง ก้านที่เป็นโรคออกจากแปลง และเผาทำลาย

2. เมื่อพบการระบาดของโรคให้พ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืช

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคหน่อไม้ฝรั่งกิ่งไหม้ โรคหน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ โรคหน่อไม้ฝรั่งต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
จากช่างซ่อมรถ รายได้เดือนหมื่นห้า เปลี่ยนมาเลี้ยงปลาทับทิมในกระชัง สร้างรายได้กว่า 200000 บาท สองแสนบาทต่อเดือน
จากช่างซ่อมรถ รายได้เดือนหมื่นห้า เปลี่ยนมาเลี้ยงปลาทับทิมในกระชัง สร้างรายได้กว่า 200000 บาท สองแสนบาทต่อเดือน

การเลี้ยงปลาทับทิม
รูปแบบการเลี้ยงปลาทับทิม จำแนกตามลักษณะแหล่งน้ำที่เลี้ยง ได้แก่
1. การเลี้ยงในบ่อดิน
เป็นการเลี้ยงในบ่อที่ขุดบริเวณพื้นที่ว่าง โดยคันบ่อ ขอบบ่อ และก้นบ่อเป็นดิน และไม่ใช้วัสดุกันน้ำใดๆรองพื้นหรือที่เรียกว่า บ่อน้ำหรือสระ บ่อเลี้ยงในลักษณะนี้มักเป็นบ่อขนาดใหญ่เป็นไร่หรือมากกว่า มีความลึกของบ่อตั้งแต่ 2 เมตร การเลี้ยงในลักษณะนี้จำเป็นต้องมีปริมาณน้ำมากเพียงพอ เพราะจำเป็นต้องใช้น้ำมาก

2. การเลี้ยงในเขื่อนหรืออ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่
การเลี้ยงในเขื่อนหรืออ่างเก็บน้ำขนาดใหญ่ จะเป็นลักษณะการเลี้ยงในกระชังเป็นกลุ่มๆ เพื่อให้ปลาอยู่ในพื้นที่เลี้ยง ขนาดความลึกของน้ำไม่ควรต่ำกว่า 5 เมตร มีค่าความขุ่นใสไม่น้อยกว่า 70 เซนติเมตร

3. การเลี้ยงในแม่น้ำ
การเลี้ยงในแม่น้ำจัดเป็นการเลี้ยงในกระชังเช่นกัน แม่น้ำควรมีน้ำไหลตลอดฤดูกาลเลี้ยง หากเป็นพื้นที่ใกล้ปากอ่าว ควรให้กระชังห่างจากปากอ่าวมากที่สุด อย่างน้อย 20 กิโลเมตร เพื่อไม่ให้น้ำมีการเปลี่ยนแปลงความเค็มหรือคุณภาพมากเกินไป

4. การเลี้ยงในบ่อซีเมนต์
เป็นการเลี้ยงที่ใช้วิธีการสร้างบ่อน้ำด้วยการก่อบ่อซีเมนต์สี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งมักเลี้ยงในโรงเรือนที่สามารถป้องกันน้ำฝนได้ การเลี้ยงลักษณะนี้จะเลี้ยงได้ในปริมาณน้อย จากปัญหาเรื่องพื้นที่จำกัด และอาจต้องใช้เครื่องเติมอากาศเข้าช่วยเพื่อให้ออกซิเจน

การเลี้ยงตามลักษณะการจำหน่าย
1. การเลี้ยงแบบกึ่งพัฒนา เป็นการเลี้ยงเพื่อการบริโภค และเพื่อการจำหน่าย โดยส่วนที่จำหน่ายจะเป็นส่วนที่เหลือจากการบริโภค การเลี้ยงลักษณะนี้มุ่งเน้นให้มีต้นทุนต่ำ โดยใช้วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรหรือวัสดุที่หาได้ตามท้องถิ่นเป็นอาหารแก่ปลาเป็นหลัก ร่วมกับการหากินเองของปลาตามธรรมชาติ เช่น ปุ๋ยคอก เศษพืชผัก ปลวก เป็นต้น

2. การเลี้ยงเชิงพาณิชย์ หรือการเลี้ยงแบบเข้มข้นเพื่อการจำหน่ายเป็นหลัก อาหารที่เลี้ยงจะเป็นอาการสำเร็จรูปที่หาซื้อได้ตามท้องตลาดเป็นหลัก เพราะเป็นการเลี้ยงเพื่อให้ปลาได้รับสารอาหารที่เพียงพอ ทำหให้ปลาเจริญเติบโตเร็ว ปลาที่มีขนาดใหญ่ และเป็นไปตามความต้องการของตลาด อัตราการปล่อยเลี้ยงจะใช้แบบหนาแน่น และให้อาหารมาก เพื่อย่นระยะเวลาการเลี้ยงให้สั้นลง

3. การเลี้ยงระบบฟาร์มลูก เป็นรูปแบบการเลี้ยงที่เกษตรเป็นเครือข่ายของบริษัทผู้พัฒนาพันธุ์ปลา โดยบริษัทจะให้การสนับสนุนในหลายด้าน อาทิ พันธุ์ปลา ยา และอาการ รวมถึงการให้คำปรึกษา และการแก้ปัญหาตลอดระยะเวลาการเลี้ยง ทำให้ผู้เลี้ยงสามารถผลิตปลาทับทิมได้มีคุณภาพดี และสม่ำเสมอ ทั้งนี้ ในด้านการตลาด บริษัทเครือข่ายจะเป็นผู้รับชื้อในราคาต่อหน่วยกิโลกรัมปลา โดยที่เกษตรกรไม่จำเป็นต้องวิ่งหาตลาดเอง

พันธุ์ปลาที่เลี้ยง
ลูกพันธุ์ปลาทับทิมที่นำมาเลี้ยง ควรหาซื้อจากฟาร์มที่มีความน่าเชื่อถือ หรือจากบริษัทผู้ผลิตพันธุ์ปลาโดยตรง นอกจากนั้น หากเกษตรกรมีการเลี้ยงจำนวนมาก และเป็นผู้มีความรู้ในด้านการเพาะขยายพันธุ์ปลา อาจทำการเพาะขยายพันธุ์ปลาเอง ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนเรื่องพันธุ์ปลาลงได้มาก


ที่มา http://pasusat.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A5...
https://www.youtube.com/watch?v=kK31Ch6-b5E
อ่าน:3416
รักษา ข้าวใบไหม้ ข้าวใบจุด ข้าวไหม้คอรวง หักคอรวง ไอเอส และ FK-1.
รักษา ข้าวใบไหม้ ข้าวใบจุด ข้าวไหม้คอรวง หักคอรวง ไอเอส และ FK-1.



พื้นที่นามักเกิดโรคเชื้อราต่างๆ ได้ง่าย เช่น โรคใบไหม้ โรคใบจุด ซึ่งจะทำให้ผลผลิตพืชลดลงอย่างมาก การใช้สารประกอบอินทรีย์เพื่อป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในพืช จะกล่าวถึง ไอเอส สารประกอบอินทรีย์ที่สามารถใช้ป้องกันและกำจัดโรคใบไหม้และใบจุดในนาข้าว รวมถึง FK1 ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบที่ช่วยเพิ่มผลผลิต.

ไอเอส เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่สามารถป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำงานโดยการควบคุมความเข้มข้นของไอออนในเนื้อเยื่อของพืช ซึ่งช่วยป้องกันการเจริญเติบโตและการแพร่กระจายของสปอร์ของเชื้อรา ไอเอส ใช้งานง่าย ผสมกับน้ำแล้วฉีดพ่นโดยตรงที่ใบของพืช หากต้องการใช้ ไอเอส ในนาข้าว ให้ผสม ไอเอส 50cc กับน้ำ 20 ลิตร คนส่วนผสมให้ทั่ว แล้วฉีดพ่นให้ทั่วพืช ควรทำอย่างสม่ำเสมอโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงแรกของการเจริญเติบโตของพืช.

อีกวิธีหนึ่งในการเพิ่มผลผลิตในนาข้าวคือการใช้ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบเช่น FK1 ซึ่ง FK1 เป็นปุ๋ยคุณภาพสูงที่มีไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม สังกะสี และสารลดแรงตึงผิว ได้รับการออกแบบมาเป็นพิเศษสำหรับฉีดพ่นบนใบพืชซึ่งพืชสามารถดูดซึมได้ง่าย FK1 ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช ซึ่งนำไปสู่ผลผลิตพืชที่สูงขึ้น FK1 กล่องนึงหนัก 2 กิโลกรัม เมื่อแกะกล่องออกมา จะพบสองถุง บรรจุถุงละ 1 กิโลกรัม ต้องผสมใช้พร้อมกัน การใช้ FK1 ในนาข้าว ให้ผสม 50 กรัมของถุงแรกและ 50 กรัมของถุงที่สอง กับน้ำ 20 ลิตร คนให้เข้ากัน แล้วฉีดพ่นให้ทั่วพืช.

โดยสรุปแล้ว การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในนาข้าวเป็นสิ่งจำเป็นในการเพิ่มผลผลิตสูงสุดและสร้างภูมิต้านทาน สารประกอบอินทรีย์ เช่น ไอเอส สามารถควบคุมโรคเชื้อราในพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะที่ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ เช่น FK1 สามารถช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตและการเจริญเติบโตของพืช เมื่อใช้วิธีการเหล่านี้ร่วมกับแนวทางปฏิบัติ และส่วนผสมที่ถูกต้อง เกษตรกรสามารถมั่นใจได้ว่านาข้าวของพวกเขายังคงแข็งแรงและให้ผลผลิต แม้ว่าจะเผชิญกับความท้าทายด้านสิ่งแวดล้อมก็ตาม

http://ไปที่..link..

เลือกซื้อ ไอเอส และ FK-1 เลื่อนลงล่างอีกนิดนะคะ
อย.เผย อย่ากังวล น้ำดื่มบรรจุขวดไทย มีคุณภาพมาตรฐาน
อย.เผย อย่ากังวล น้ำดื่มบรรจุขวดไทย มีคุณภาพมาตรฐาน
อย. ยัน น้ำดื่มบรรจุขวดของไทย มีคุณภาพมาตรฐานสากลและตามกฎหมาย ขอผู้บริโภคอย่ากังวล เผยกรณีสื่อต่างประเทศรายงานพบน้ำดื่มบรรจุขวดของไทยปนเปื้อน เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และอาจเพิ่มความเสี่ยงโรคมะเร็ง นั้น ยังไม่มีการรับรอง

นพ.วันชัย สัตยาวุฒิพงศ์ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา เปิดเผยว่า ตามที่องค์กรสื่อไม่แสวงผลกำไร Orb Media ในสหรัฐ เผยแพร่ผลการศึกษา พบว่าน้ำดื่มบรรจุขวดหลายยี่ห้อที่วางจำหน่ายใน 9 ประเทศ รวมถึงไทย มีการปนเปื้อนของอนุภาคพลาสติกขนาดเล็ก อาจมีส่วนเพิ่มความเสี่ยงของโรคมะเร็งบางชนิดนั้น อย. ขอแจ้งให้ทราบว่า จากผลงานวิจัยตามข่าว ยังไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดจากรายงานการศึกษาหรือจากงานวิจัยที่ระบุว่า การปนเปื้อนดังกล่าวเป็นอันตรายต่อสุขภาพของมนุษย์ ซึ่งทั้งองค์การอนามัยโลก (WHO) และองค์การอาหารและยาสหรัฐอเมริกา ยังไม่ได้รับรองผลการศึกษาดังกล่าว

สำหรับประเทศไทยน้ำดื่มบรรจุขวดยังคงมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค โดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ได้กำหนดคุณภาพน้ำดื่มบรรจุขวดตามมาตรฐานสากล ซึ่งประกอบไปด้วยภาชนะบรรจุขวดน้ำดื่มที่ทำจากพลาสติกต้อง มีคุณภาพเป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 295) พ.ศ.2548 เช่น สะอาดไม่มีสารหรือสีออกมาปนเปื้อนกับอาหารในปริมาณที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ ไม่มีจุลินทรีย์ที่ทำให้เกิดโรค พบปริมาณตะกั่วและแคดเมียมในพลาสติกได้ไม่เกินชนิดละ 100 มิลลิกรัมต่อ 1 กิโลกรัม เป็นต้น

ในส่วนของน้ำดื่มจะต้องมีคุณภาพตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 61) พ.ศ. 2524 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ซึ่งอ้างอิงตามข้อแนะน้าของ WHO ทางด้านสถานที่ผลิตต้องปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร (GMP) มีการควบคุมการผลิต ตั้งแต่การปรับคุณภาพน้ำเพื่อขจัดอันตรายและสิ่งแปลกปลอมต่างๆ จนทำให้น้ำมีมาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด รวมถึงต้องมีการล้างภาชนะก่อนการบรรจุทุกครั้ง

ส่วนข้อมูลใหม่จากองค์กรสื่อไม่แสวงผลกำไรของประเทศสหรัฐอเมริกา คงต้องรอเวลาการพิสูจน์จากนานาชาติ รวมถึง USFDA ถ้ามีข้อมูลที่สามารถพิสูจน์ยืนยันได้และได้รับการรับรองจากผู้เชี่ยวชาญในระดับนานาชาติ ประเทศไทยก็พร้อมที่จะปรับเปลี่ยนข้อกำหนดใหม่ เลขาธิการฯ กล่าวในตอนท้ายว่า ขอให้ผู้บริโภคอย่ากังวล อย. มีมาตรการในการควบคุมผลิตภัณฑ์อาหารที่จำหน่ายในประเทศ เพื่อคุ้มครองความปลอดภัยของผู้บริโภคอย่างเข้มงวด

หากผู้บริโภคพบผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐาน หรือไม่ได้รับความปลอดภัยจากการบริโภค ขอให้ร้องเรียนมาได้ที่สายด่วน อย. โทร 1556 หรืออีเมล [email protected] หรือ ตู้ ปณ. 1556 ปณฝ. กระทรวงสาธารณสุข จ.นนทบุรี 11004 หรือ ร้องเรียนผ่าน Oryor Smart Application หรือ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั่วประเทศ เพื่อ อย. จะได้ดำเนินคดีตามกฎหมายกับผู้ที่กระทำผิดต่อไป


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
ลิปสติก สารประกอบในลิปสติก อันตรายหรือไม่?
ลิปสติก สารประกอบในลิปสติก อันตรายหรือไม่?
ลิปสติก สารประกอบในลิปสติก อันตรายหรือไม่?
ลิปสติก เป็นเครื่องสำอางชนิดแรก ที่หลาย ๆ คนรู้จักเลยก็ว่าได้ เพราะสีสันเด่นสะดุดตา ทาปากแล้วช่วยให้ดูสวย เพิ่มความมั่นใจได้ในทันที แต่เคยรู้หรือไม่ ว่าเจ้าแท่งสีที่ไว้ทาปากทุกวันนี้ มีสารอะไรเป็นส่วนผสมบ้าง ทาบ่อย ๆ แล้ว ในระยะยาว จะส่งผลอันตรายต่อร่างกายบ้างหรือไม่

หากคุณเป็นคนหนึ่งที่ชอบใช้ลิปสติก แล้วอยากรู้ว่า เครื่องสำอางชนิดนี้มีส่วนผสมอะไรบ้าง และมีสารอะไรในลิปสติกที่ควรหลีกเลี่ยง เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย

ลิปสติก ไม่ได้ผสมด้วยสีที่ทาแล้วช่วยให้ปากดูเด่น สะดุดตา ช่วยให้ริมฝีปากของสาว ๆ ดูอวบอิ่มเพียงอย่างเดียว หากแต่ประกอบด้วยสารอื่น ๆ ที่ช่วยให้ปากนุ่ม ชุ่มชื้นและคงตัวอยู่ได้นาน โดยมีสารประกอบหลักอยู่ 3 องค์ประกอบด้วยกันคือ

1. น้ำมัน (oil)

น้ำมันถูกนำมาใช้เป็นส่วนประกอบในลิปสติก เพราะมีคุณสมบัติช่วยผสานส่วนผสมอื่น ๆ ให้เนียนเป็นเนื้อเดียวกัน และเพิ่มสัมผัสนุ่มลื่น ทำให้เวลาทาปาก สามารถทาติดริมฝีปากได้ง่าย นอกจากนี้ ยังช่วยให้ริมฝีปากนุ่ม ชุ่มชื้น แก้ปัญหาริมฝีปากแห้ง แตกเป็นขุยได้อีกด้วย

โดยชนิดของน้ำมันที่นิยมนำมาใช้เป็นส่วนประกอบในลิปสติก มีหลากหลายไม่ว่าจะเป็น น้ำมันลาโนลิน น้ำมันแคสเตอร์ (น้ำมันละหุ่ง) น้ำมันโจโจ้บา น้ำมันมะกอก ทั้งนี้ บางผลิตภัณฑ์ยังมีการนำเอาเนย ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นไขมัน มาใช้ทดแทนน้ำมันอีกด้วย ไม่ว่าจะเป็น เชียร์ บัตเตอร์ (Shea Butter) เนยโกโก้ (Cocoa Butter) เพราะสามารถให้ความชุ่มชื้นได้เหมือนกัน และยังมีกลิ่นหอมมากกว่า

สำหรับสัดส่วนของน้ำมันในลิปสติกนั้น จะมีความมากน้อยแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับสูตรของแบรนด์เครื่องสำอางนั้น ๆ ว่าต้องการให้ลิปสติกมีความเข้มข้นของสัมผัสเวลาทาหรือความชัดเจนของเม็ดสี มีมากน้อยขนาดไหน เพราะน้ำมันที่มากขึ้น หมายถึง สามารถทาได้ชัดเจนยิ่งขึ้น ส่วนถ้าน้ำมันน้อยลง จะเพิ่มสัดส่นในเรื่องของเม็ดสี ส่งผลให้เม็ดสีมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้นนั่นเอง

2. แวกซ์ (wax)

องค์ประกอบสำคัญที่ทำให้ส่วนผสมลิปสติกทั้งหมด ขึ้นรูปเป็นแท่งและคงตัวอยู่ได้นาน เพราะมีจุดเดือดสูงกว่าส่วนผสมอื่น ๆ ทั่วไป โดยในลิปสติก 1 แท่งนั้น อาจประกอบด้วยแวกซ์มากกว่า 1 ชนิดเช่น ขี้ผึ้ง_ แคนเดลลิลา แวกซ์_ คาร์นูบา แวกซ์ ซึ่งด้วยแวกซ์แต่ละชนิดก็มีลักษณะเฉพาะตัว นั่นจึงทำให้ลิปสติกแต่ละชนิดก็อาจมีเนื้อสัมผัสที่แตกต่างกันด้วย ตัวอย่างเช่น ลิปสติกที่มีส่วนผสมของแคนเดลลิลา แวกซ์ จะมีเนื้อเงางาม ดึงดูดสายตา น่าใช้สอยกว่าลิปสติกอื่น ๆ เพราะแวกซ์ชนิดนี้มีคุณสมบัติโปร่งแสง ส่วนลิปสติกที่มีส่วนผสมของคาร์นูบา แวกซ์ จะมีเนื้อที่แน่น แข็ง ทนความร้อนได้ดีกว่าลิปสติกแบบอื่น ๆ เพราะคาร์นูบา แวกซ์ มีจุดเดือดสูงมากกว่า 87 องศาเซลเซียส เป็นต้น

3. เม็ดสี (pigment)

เม็ดสี ก็คือสิ่งที่กำหนดเฉดสีของลิปสติก ทำให้เวลาทาแล้ว จะเห็นออกมาเป็นสีสันต่าง ๆ โดยมีทั้งแบบที่ใช้สีจากวัสดุธรรมชาติ เช่น ผัก ผลไม้ ดอกไม้ ตัวอย่างเช่น สีเหลืองจากขมิ้น สีแดงจากบีทรูทหรือทับทิม สีน้ำเงินจากดอกอัญชันหรือดอกอัลคาเนต (Alkanet) และสีเหลืองจากดอกดาวเรืองฝรั่ง (Calendula) กับอีกแบบหนึ่งก็คือ สังเคราะห์ขึ้นมาด้วยกระบวนการทางเคมี โดยประเภทหลังนี้ สามารถเข้าสู่ร่างกายได้ โดยไม่เกิดอันตราย เพราะเป็นสีประเภทเดียวกันกับที่ใช้ทำสีผสมอาหาร เมื่อใช้งานในระยะยาว จึงไม่ส่งผลอันตรายใด ๆ ต่อร่างกาย ยกเว้นสารให้สีที่กลั่นจากปิโตรเลียม เช่น D&C RED 17_ D&C RED 31 จะส่งผลอันตรายต่อร่างกายได้ ไม่ว่าจะเป็นทำให้ปากคล้ำ หรือ ก่อให้เกิดโรคมะเร็งบางชนิด

สารในลิปสติกอะไรบ้าง ที่ก่อให้เกิดอันตราย

ด้วยความที่ผู้หญิง ใคร ๆ ก็ใช้ลิปสติก และเป็นเครื่องสำอางที่มีความต้องการสูงมาก เพราะใช้แล้วก็หมดไป ต้องซื้อใหม่อยู่ตลอด จึงทำให้มีคนจำนวนไม่น้อยคิดทำลิปสติกขึ้นมาเอง เพื่อจัดจำหน่าย ซึ่งก็อาจมีผู้ที่ไม่หวังดี มุ่งแสวงหากำไร โดยการผลิตลิปสติกที่ไม่ได้รับมาตรฐานออกมาจำหน่าย ที่อาจมีการใส่สารละลายหรือสารเคมี มาทดแทนสารสกัดจากธรรมชาติ ทำให้หากใช้แล้ว อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้ ตลอดจนได้รับผลข้างเคียงอื่น ๆ ดังนั้น หากคุณเป็นผู้บริโภคคนหนึ่งที่ซื้อลิปสติกเป็นประจำ แล้วต้องการหลีกเลี่ยงลิปสติกที่ไม่ดีแล้วละก็ นี่คือส่วนผสมที่คุณควรรู้จัก และหลีกเลี่ยงเวลาซื้อลิปสติก

1. สารกลุ่มเรตินอยด์ (Retinoids)

เป็นสารสังเคราะห์วิตามินเอเข้มข้น ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ในยาเท่านั้น ซึ่งแม้ว่าจะถูกเคลมว่า มีคุณสมบัติช่วยฟื้นฟูผิวพรรณ และทำให้ปากเนียนสวย แต่หากใส่ในปริมาณมากอาจเป็นตัวเร่งให้ปากเกิดปฏิกิริยาต่อแสงแดด ทำให้ปากคล้ำ ส่งผลร้ายต่อ DNA ในร่างกาย ทำให้เสี่ยงเป็นมะเร็งผิวหนังได้ โดยสารกลุ่มเรตินอยด์ อาทิ กรดวิตามินเอ (Retinoic acid)_ เรตินัลดีไฮด์ (Retinaldehyde) และเรตินิล พัลมิเทต (Retinyl Palmitate)

2. สารสังเคราะห์วิตามินอี (Tocopheryl Acetate)

ใช้เพื่อเพิ่มความคงตัวให้กับผลิตภัณฑ์คล้ายกับสารกลุ่มเรตินอยด์ส์ อาจไม่มีผลกระทบมากต่อสุขภาพร่างกาย แต่หากเราใช้ทาบ่อย ๆ เป็นประจำโดยไม่ทำความสะอาดให้ดี สารตัวนี้จะสะสมและทำให้ริมฝีปากระคายเคือง แห้งแตก รวมถึงเป็นขุยเอาได้

3. สารสกัดจากน้ำมันในอุตสาหกรรมปิโตรเลียม

เช่น มิเนรัล ออยล์ (Mineral Oil) หรืออีกชื่อคือ พาราฟินเหลว (Liquid paraffin)_ ปิโตรเลียม เจลลี่ (Petrolatum)_ ไซลีน (Xylene)_ โทลูอีน (Toluene) ที่ช่วยในเรื่องของความชุ่มชื้น ดูดซับส่วนผสมของลิปสติกในเข้าได้ดี แต่มีสารเสี่ยงอันตรายอย่าง PAHs ที่ก่อให้เกิดสิวอุดตัน ผิวหน้าระคายเคืองอยู่ในตัว

4. สารในกลุ่มโลหะหนัก

สารในกลุ่มโลหะหนัก เช่น ตะกั่ว (Lead) ปรอท (Mercury) อะลูมินัม (Aluminum) โครเมียม (Chromium) แคดเมียม (Cadmium) แมงกานีส (Manganese) มักมีการเติมลงไป เพื่อเพิ่มความเงาแวววาวให้กับลิปสติก แต่จริง ๆ แล้วเป็นสารที่ก่อให้เกิดอันตรายมาก ๆ โดยเฉพาะต่อผู้หญิงตั้งครรภ์ เพราะหากเผลอกินลิปสติกเข้าไป อาจกระทบต่อการเจริญเติบโตของลูกน้อยได้ ทำให้เสี่ยงเกิดมะเร็ง ทำลายระบบประสาท ลดการทำงานของไต บางรายอาจมีอาการซึมเศร้าร่วมด้วย

5. สารกันเสีย

ได้แก่ สารเคมีกลุ่มพาราเบน เช่น เมทิลพาราเบน (Methylparaben) หรือ โพรพิลพาราเบน (Propylparaben) รวมถึงสารกันหืน BHT (Butylated Hydroxytoluene) และ BHA (Butylated Hydroxyanisole) ที่อาจส่งผลให้อวัยวะภายในร่างกายเสี่ยงเป็นพิษเรื้อรัง ตามมาด้วยอาการปวดหัว อาเจียน และหายใจไม่ออก

เคล็ดลับการเลือกซื้อ ลิปสติก ให้ปลอดภัย

1. เลือกซื้อลิปสติกที่มีมาตรฐานการผลิต

ด้วยปัจจุบัน มีผู้ผลิต ลิปสติก ออกมาจัดจำหน่ายจำนวนมาก การแยกแยะเบื้องต้นว่าเป็นของดีหรือไม่ดี สามารถดูได้จากการพิจารณาว่า ลิปสติกแบรนด์นั้น ๆ มีเครื่องหมายที่รองรับมาตรฐานการผลิตหรือไม่ ไม่ว่าจะเป็น อย. GMP HACCP เนื่องจากล้วนเป็นหน่วยงานหรือองค์กร ที่คอยควบคุมดูแลให้ผู้ประกอบการหรือเจ้าของแบรนด์ ผลิตอาหารเสริมและเครื่องสำอางที่มีมาตรฐานและคุณภาพออกมาจำหน่ายเท่านั้น ดังนั้น ก่อนเลือกซื้อ จึงควรหาเครื่องหมายมาตรฐานการผลิตเหล่านี้ก่อนเป็นอันดับแรก ก่อนจะดูองค์ประกอบอื่น ๆ ในลำดับถัดไป

2. ส่วนผสม

เมื่อดูว่ามีเครื่องหมายมาตรฐานการผลิตหรือไม่แล้ว ก็มาต่อกันที่ส่วนผสม ซึ่งดังที่กล่าวไปแล้วว่า ลิปสติกนั้น มีสารประกอบที่อาจก่อให้เกิดอันตรายมากมาย ไม่ว่าจะเป็นสารในกลุ่มเรตินอยด์ สารสังเคราะห์วิตามิน E สารที่กลั่นจากปิโตรเลียม สารในกลุ่มโลหะหนัก หรือ สารกันเสีย ซึ่งถ้าหากต้องการลดผลข้างเคียงหรืออันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับร่างกาย จากการใช้ลิปสติกในระยะยาวแล้วละก็ แนะนำให้เลือกซื้อลิปสติกที่ปราศจากสารเหล่านี้ หรือหันไปใช้ลิปสติกที่มีการผลิตแบบ Organic แทนเลย จะเป็นการดีที่สุด หรือถ้าหลีกเลี่ยงไม่ได้จริง ๆ ก็ให้เลือกซื้อแบรนด์ลิปสติก ที่มีสัดส่วนของสารเหล่านี้ในปริมาณน้อยที่สุด ก็จะช่วยลดความเสี่ยงจากการได้รับผลกระทบทางสุขภาพได้

3. ความน่าเชื่อถือของผลิตภัณฑ์

ปัจจุบัน หลากหลายแบรนด์ ทำการตลาดขายลิปสติก ผ่านออฟไลน์และออนไลน์ โดยเฉพาะช่องทางโซเชี่ยลมีเดีย เพื่อสร้างความน่าเชื่อถืออย่างดุเดือด ยิ่งมีการอ้างอิงจากการรีวิวของดารา นักร้อง และอินฟลูเอนเซอร์ ก็ทำให้การสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่ลิปสติก เป็นเรื่องง่ายมาก ๆ จนอาจทำให้หลายคนหลงเชื่อได้ง่าย ดังนั้น การเลือกซื้อลิปสติก จึงไม่ควรดูแต่รีวิวจากบุคคลที่มีชื่อเสียงเพียงอย่างเดียว แต่ควรดูคอมเม้นต์ รีวิวการใช้งานจากบุคคลทั่วไปร่วมด้วย เพราะถ้าของดีมีคุณภาพจริง ก็จะมีคนเข้ามารีวิวเรื่อย ๆ ในขณะที่ก็ห้ามลืมองค์ประกอบข้างต้น คือ มาตรฐานการผลิตและส่วนผสม เพราะแม้การตลาดจะหลอกเราได้ แต่เรื่องของมาตรฐานการผลิตและส่วนผสม ก็จะช่วยคัดกรองให้เราลดโอกาสเสี่ยงที่จะเจอของคุณภาพแย่ได้ ซึ่งถ้าใครไม่อยากเสี่ยงเลย จะเลือกซื้อแต่ลิปสติกจากแบรนด์เครื่องสำอางที่มีความน่าเชื่อถือ ขายมาหลายสิบปีแล้วไปเลยก็ได้ ไม่ว่ากัน

อยากมีริมฝีปากอวบอิ่ม ดูนุ่ม ชุ่มชื้น อย่าลืมเลือกซื้อลิปสติกที่มีส่วนผสมที่ดี ไม่เป็นอันตรายหรือก่อให้เกิดผลข้างเคียง และมีมาตรฐานการผลิต รวมถึงความน่าเชื่อถือ มาใช้งาน เพียงเท่านี้ คุณก็จะแต่งหน้าสวยได้ทุกวัน พร้อมกับมีริมฝีปากที่ดูสวย โดดเด่น ช่วยให้มั่นใจได้ตลอดทั้งวันแล้ว


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรครากเน่าต้นเน่า ในสับปะรด ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรครากเน่าต้นเน่า ในสับปะรด ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรครากเน่าต้นเน่า ในสับปะรด ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
เชื้อราไตรโคเดอร์มาเป็นกลุ่มเชื้อราที่นิยมใช้ในการเกษตรและพืชสวน เป็นสารชีวภัณฑ์ป้องกันและควบคุมโรคพืชที่เกิดจากเชื้อโรคในดิน เชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดนี้เป็นที่รู้จักในด้านความสามารถในการผลิตเอนไซม์ที่สามารถทำลายผนังเซลล์ของเชื้อราชนิดอื่นๆ ได้ รวมถึงความสามารถในการผลิตยาปฏิชีวนะและสารประกอบอื่นๆ ที่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราชนิดอื่นๆ ได้

เชื้อราไตรโคเดอร์มาสามารถใช้กับดินรอบโคนต้นสับปะรดได้ เพื่อป้องกันและควบคุมโรครากเน่าและโคนเน่าชนิดอื่นๆ นอกจากนี้เชื้อราไตรโคเดอร์มายี่ห้อ Trichorex ยังเป็นสูตรเฉพาะสำหรับใช้ในสับปะรดและได้รับการออกแบบให้มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมการเน่าและส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช

การใช้เชื้อรา Trichoderma หรือ Trichorex ในการป้องกันและกำจัดโรครากเน่าและโคนเน่าในสับปะรด ควรใช้เชื้อราตามคำแนะนำของผู้ผลิต โดยทั่วไปแล้วจะเกี่ยวข้องกับการผสมเชื้อรากับน้ำและนำไปใช้กับดินรอบโคนต้นสับปะรด สิ่งสำคัญคือต้องปฏิบัติตามอัตราและความถี่ของการใช้ที่แนะนำเพื่อให้แน่ใจว่าเชื้อราถูกนำไปใช้ในระดับที่เหมาะสมเพื่อให้มีประสิทธิภาพ

สิ่งสำคัญคือต้องระลึกไว้เสมอว่าเชื้อราไตรโคเดอร์มาและสารชีวภัณฑ์อื่น ๆ ไม่สามารถทดแทนการปฏิบัติทางเกี่ยวกับการเพาะปลูกที่ดี เช่น การให้น้ำและการใส่ปุ๋ยอย่างเหมาะสม และควรใช้เป็นส่วนหนึ่งของโปรแกรมการจัดการโรคโดยรวม

ไตรโคเร็กซ์ : เชื้อไตรโคเดอร์มา

ช่วยป้องกันและยับยั้งโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่นใบเหลือง รากเน่า
โคนเน่า ไฟท้อปเธอร่าในทุเรียนโรคแคงเกอร์ในส้ม - มะนาว
โรคทลายปาล์มเน่าโรคแอนแทรกโนสใน มะละกอ แตงโม แตงกวาโรคใบจุด ใบแห้ง
โรคกาบใบเน่า โรคกาบใบแห้งโรคไหม้ในข้าว โรคกุ้งแห้งในพริก
โรคผลเน่าไตรโคเร็กซ์

ใช้อย่างไร

1. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นบริเวณกิ่ง ก้าน ใบ หรือราดบริเวณโคนต้น

2. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อปุ๋ยอินทรีย์ 20 กก.ในการปลูกหรือรองก้นหลุมก่อนปลูก

* ไม่ควรผสมใช้ร่วมกับเชื้อบิวเวอร์เรียและเมธาไรเซียม ควรฉีดสลับกันทุก 7-10 วัน *

ผลิตภัณฑ์ของเราดีกว่าอย่างไร
1.มีห้องปฏิบัติการเพาะเชื้อจุลินทรีย์
- คัดสายพันธุ์เฉพาะ ผ่านการทดสอบ/วิจัย
- สายพันธุ์เชื้อผ่านการตรวจจาก วว.และ สวทช
2.เชื้อจุลินทรีย์เลี้ยงในอุณหภูมิที่เหมาะสม
- มีตู้บ่มเชื้อควบคุมอุณหภูมิ
- ได้เชื้อจุลินทรีย์สมบูรณ์ แข็งแรง
3.มีห้องสำหรับการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์
- เพื่อลดการปนเปื้อนระหว่างการเพาะเชื้อ
- ควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น แสง
4.ควบคุมคุณภาพเชื้อจุลินทรีย์ตลอดการผลิต

ป้องกันกำจัดโรคพืช
-โรคใบเหลือง ใบเหี่ยว
-โรคใบจุด ราน้ำค้าง
-โรคราแป้ง
-โรคราสีชมพู กาบใบแห้ง
-โรคผลเน่า ในพริกทุเรียน
-โรคใบไหม้
-โรคเหี่ยวเขียว เหี่ยวเหลือง
-โรครากเน่าโคนเน่า
-โรคเมล็ดเน่า

กลไกการป้องกันโรคพืช
1.เจริญเติบโต แข่งขัน แย่งอาหาร น้ำ และที่อยู่กับเชื้อราสาเหตุโรคพืช
จึงทำให้เชื้อโรคลดปริมาณ ลงอย่างรวดเร็ว
2.การสร้างสารปฏิชีวนะ มาทำลายผนังเซลล์เชื้อราโรคพืช
ทำให้เส้นใยเชื้อราโรคพืชเกิดการไหม้ และตาย 
3.เป็นปรสิต สร้างเส้นใยพันรัดน้ำเลี้ยงจากเชื้อโรคพืช
ทำให้เส้นใยสลายลดการขยาย เผ่าพันธุ์ลง


สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
อ่าน:3416
กำจัดแมลงศัตรูพืชมันสำปะหลัง ยาฆ่าเพลี้ยหอยขาว ในมันสำปะหลัง และพืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
กำจัดแมลงศัตรูพืชมันสำปะหลัง ยาฆ่าเพลี้ยหอยขาว ในมันสำปะหลัง และพืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
กำจัดแมลงศัตรูพืชมันสำปะหลัง ยาฆ่าเพลี้ยหอยขาว ในมันสำปะหลัง และพืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Beauveria Mix Methharicium หรือที่รู้จักในชื่อยี่ห้อ Butarex เป็นสารกำจัดเชื้อราและยาฆ่าแมลงที่มีประสิทธิภาพซึ่งใช้ในการป้องกันและกำจัดเพลี้ยหอยขาวในพืชมันสำปะหลัง

เพลี้ยหอยขาวหรือเพลี้ยแป้งเป็นแมลงขนาดเล็กสีขาวที่กินน้ำเลี้ยงของพืชมันสำปะหลัง พวกมันสามารถสร้างความเสียหายอย่างมากต่อพืชผล ทำให้ผลผลิตและคุณภาพลดลง เพื่อป้องกันศัตรูพืชนี้ เกษตรกรมักใช้บิวเวอเรีย มิกซ์ เมธาริเซียมเป็นมาตรการป้องกัน

Beauveria Mix Methharicium เป็นส่วนผสมของเชื้อรา 2 ชนิด ได้แก่ Beauveria bassiana และ Metharizium anisopliae เชื้อราเหล่านี้เกิดขึ้นตามธรรมชาติและเป็นที่รู้กันว่ามีประสิทธิภาพสูงในการกำจัดเพลี้ยหอยทากขาว เมื่อนำไปใช้กับต้นมันสำปะหลังเชื้อราจะติดเชื้อเพลี้ยและทำให้ตายในที่สุด

ข้อดีอย่างหนึ่งของการใช้บิวเวอเรีย มิกซ์ เมธาริเซียมคือเป็นทางเลือกที่เป็นธรรมชาติและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมแทนสารกำจัดศัตรูพืชสังเคราะห์ นอกจากนี้ยังมีประสิทธิภาพในการต่อต้านศัตรูพืชอื่นๆ หลากหลาย ทำให้เป็นวิธีแก้ปัญหาที่หลากหลายและคุ้มค่าสำหรับเกษตรกร

อย่างไรก็ตาม สิ่งสำคัญคือต้องทราบว่าจะต้องใช้บิวเวอเรีย มิกซ์ เมธาริเซียมอย่างถูกต้องเพื่อให้มีประสิทธิภาพ ต้องใช้ยาฆ่าเชื้อราในเวลาที่เหมาะสมและในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อให้แน่ใจว่าสารฆ่าเชื้อราจะไปถึงศัตรูพืชและทำให้เกิดผลตามที่ต้องการ นอกจากนี้ สิ่งสำคัญคือต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ก่อนใช้งาน เนื่องจากการสูดดมหรือกลืนกินผลิตภัณฑ์อาจเป็นอันตรายได้

โดยสรุปแล้ว บิวเวอเรีย มิกซ์ เมธฮาริเซียม หรือที่รู้จักในชื่อแบรนด์ บิวทาเร็กซ์ เป็นวิธีการที่มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดเพลี้ยหอยขาวในไร่มันสำปะหลัง เป็นทางเลือกทางธรรมชาติและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมแทนสารกำจัดศัตรูพืชสังเคราะห์ และเมื่อใช้อย่างถูกต้อง สามารถช่วยเกษตรกรปกป้องพืชผลและเพิ่มผลผลิตได้

บิวทาเร็กซ์ : ใช้อย่างไร?
1. ผสมเชื้อ 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นบริเวณ กิ่ง ก้าน ใบ หรือบริเวณที่แมลงระบาด
2. ฉีดพ่นได้ทุก 7-10 วัน

* ไม่ควรผสมใช้ร่วมกับเชื้อไตรโคเดอร์มา และ ยากำจัดเชื้อรา หากต้องการใช้ร่วมควรเว้น ระยะฉีดพ่น 7-10 วัน *

ปัญหาเหล่านี้จะหมดไปด้วย บิวทาเร็กซ์..
ผลิตภัณฑ์กำจัดศัตรูพืช
เชื้อดีที่สุดสำหรับชาวเกษตรกร
ปริมาณเชื้อที่ดีและได้ผล
ให้อาหารเฉพาะของเชื้อแต่ละตัว

เชื้อจะไปเติบโตในแมลง ปกคลุมตัวแมลง ทำให้แมลงแห้งตายในที่สุด
ปลอดภัยไม่มีสารเคมี
แมลงดื้อยา ใช้ได้ต่อเนื่อง
เป็นยาเย็น ใช้ได้ทุกพืช และทุกช่วงอายุของพืช

สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link..
มันสำปะหลัง บำรุง โตไว ใบเขียว หัวใหญ่ น้ำหนักดี อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
มันสำปะหลัง บำรุง โตไว ใบเขียว หัวใหญ่ น้ำหนักดี อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
มันสำปะหลัง ( Manihot esculenta ) เป็นพืชหัวเมืองร้อนที่ปลูกกันอย่างแพร่หลายสำหรับหัวที่เป็นแป้งซึ่งใช้เป็นแหล่งอาหารหลักในประเทศกำลังพัฒนาหลายแห่ง เพื่อให้แน่ใจว่าต้นมันสำปะหลังมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่ดี จำเป็นต้องให้สารอาหารที่จำเป็นแก่พืช รวมทั้งกรดอะมิโนด้วย กรดอะมิโนเป็นส่วนประกอบสำคัญของโปรตีน และมีบทบาทสำคัญในการผลิตฮอร์โมนพืชที่ควบคุมกระบวนการเจริญเติบโตของพืชต่างๆ

มีกรดอะมิโนที่จำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด ซึ่งพืชไม่สามารถสังเคราะห์เองได้และต้องได้รับจากดินหรือปุ๋ย กรดอะมิโนที่จำเป็นทั้ง 18 ชนิด ได้แก่ อาร์จินีน ฮิสทิดีน ไอโซลิวซีน ลิวซีน ไลซีน เมไทโอนีน ฟีนิลอะลานีน ธรีโอนีน ทริปโตเฟน วาลีน อะลานีน กรดแอสปาร์ติก กรดกลูตามิก ไกลซีน โพรลีน ซีรีน ไทโรซีน และซีสเตอีน ในบรรดากรดอะมิโน 18 ชนิดเหล่านี้ กรดอะมิโนที่สำคัญที่สุดสำหรับการเจริญเติบโตและพัฒนาต้นมันสำปะหลัง ได้แก่ อาร์จินีน ฮิสทิดีน ไอโซลิวซีน ลิวซีน ไลซีน เมไทโอนีน ฟีนิลอะลานีน ธรีโอนีน และวาลีน

กรดอะมิโนเหล่านี้มีความสำคัญต่อการสร้างฮอร์โมนพืช ได้แก่ ออกซิน ไซโตไคนิน และจิบเบอเรลลิน ซึ่งมีส่วนสำคัญในการสร้างและขยายเซลล์เนื้อเยื่อและพัฒนาส่วนต่าง ๆ ของพืชให้เจริญเติบโตได้อย่างเต็มที่ ตัวอย่างเช่น ออกซินกระตุ้นการยืดตัวและการแบ่งตัวของเซลล์ ซึ่งมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของรากและยอด ในทางกลับกัน ไซโตไคนินส่งเสริมการแบ่งเซลล์ ซึ่งจำเป็นต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเนื้อเยื่อและใบอ่อน จิบเบอเรลลินส่งเสริมการยืดตัวของลำต้น การพัฒนาของผล และการงอกของเมล็ด

เพื่อให้ต้นมันสำปะหลังมีกรดอะมิโนที่จำเป็นเหล่านี้ เกษตรกรสามารถใช้ปุ๋ยที่มีกรดอะมิโนเหล่านี้ได้ ปุ๋ยนี้สามารถผสมกับน้ำฉีดพ่นและนำไปใช้กับพืชได้ตามต้องการ ปริมาณจะขึ้นอยู่กับพืชที่ปลูกและระยะของการเจริญเติบโต สำหรับผักแนะนำ 10-20 มล. ต่อน้ำ 20 ลิตร ส่วนนาข้าว พืชไร่ และไม้ผล แนะนำ 20-40 มล. ต่อน้ำ 20 ลิตร หากใช้ระบบน้ำหยด ควรใช้ 500 มล. ต่อ 1 ไร่

สิ่งสำคัญคือต้องสังเกตว่าควรฉีดพ่นปุ๋ยเดือนละสองครั้งและไม่ควรฉีดพ่นในช่วงที่พืชออกดอก ทั้งนี้เนื่องจากการฉีดพ่นปุ๋ยในระยะออกดอกอาจทำให้ดอกเสียหายและทำให้ผลผลิตลดลง

โดยสรุปแล้ว การให้กรดอะมิโนจำเป็นแก่ต้นมันสำปะหลังที่จำเป็นสำหรับการผลิตฮอร์โมนพืชเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่ดี เกษตรกรสามารถใช้ปุ๋ยที่มีกรดอะมิโนเหล่านี้และนำไปใช้กับพืชได้ตามต้องการเพื่อให้แน่ใจว่าได้รับสารอาหารที่ต้องการ เกษตรกรสามารถช่วยให้ต้นมันสำปะหลังเติบโตได้เต็มศักยภาพและให้ผลผลิตที่อุดมสมบูรณ์ โดยการปฏิบัติตามคำแนะนำด้านปริมาณและการใช้ที่แนะนำ

สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
facebook โรงงานปุ๋ยไดโนเร็กซ์
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link..
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในงา
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในงา
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในงา
โรคเชื้อราสามารถสร้างความเสียหายอย่างมากต่อต้นงา ทำให้ผลผลิตลดลงและสูญเสียทางเศรษฐกิจสำหรับเกษตรกร โชคดีที่มีกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพหลายประการในการป้องกันและกำจัดโรคพืชจากเชื้อรา รวมถึงการใช้ IS และสารประกอบอินทรีย์

IS หรือไอโซโพรพิลแอลกอฮอล์และโซเดียมลอริลซัลเฟตเป็นสารกำจัดเชื้อราที่มีประสิทธิภาพซึ่งสามารถใช้ป้องกันและควบคุมการติดเชื้อราในงาได้ อัตราการผสมที่แนะนำคือ 50 ซีซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร เมื่อใช้ตามคำแนะนำ IS สามารถให้การป้องกันที่ดีเยี่ยมต่อโรคเชื้อราหลายชนิด

นอกจาก IS แล้ว สารประกอบอินทรีย์ยังมีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดโรคพืชจากเชื้อราอีกด้วย สารประกอบชนิดหนึ่งคือ FK-1 ซึ่งประกอบด้วยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม สังกะสี และสารลดแรงตึงผิว ในการใช้ FK-1 ให้ผสม 50 กรัมของถุงแรก (องค์ประกอบหลัก) และ 50 กรัมของถุงที่สอง (องค์ประกอบเสริม) กับน้ำ 20 ลิตร สิ่งนี้จะสร้างสารละลายที่อุดมด้วยสารอาหารที่สามารถบำรุงต้นงาของคุณในขณะเดียวกันก็ช่วยป้องกันและกำจัดโรคจากเชื้อรา

ด้วยการใช้ IS และสารประกอบอินทรีย์ เช่น FK-1 ร่วมกัน เกษตรกรผู้ปลูกงาสามารถปกป้องพืชผลของพวกเขาจากการติดเชื้อราได้อย่างมีประสิทธิภาพ และรับประกันว่าจะได้ผลผลิตที่สมบูรณ์และแข็งแรง อย่างไรก็ตาม สิ่งสำคัญคือต้องปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างระมัดระวังและใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้อย่างมีความรับผิดชอบ เพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบด้านลบต่อสิ่งแวดล้อมหรือสุขภาพของมนุษย์
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคเน่า หรือไฟทอปทอร่า ในทุเรียน ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคเน่า หรือไฟทอปทอร่า ในทุเรียน ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
โรคเน่าไฟทอฟธอร่า (Phytophthora rot) หรือที่เรียกกันว่า โรครากเน่า เป็นโรคที่สามารถส่งผลกระทบต่อต้นทุเรียนและส่งผลกระทบต่อสุขภาพและผลผลิตของผลทุเรียนอย่างรุนแรง โรคนี้เกิดจากราน้ำชนิดหนึ่งที่เรียกว่า Phytophthora ซึ่งเจริญเติบโตในดินที่เปียกชื้นและโจมตีรากของพืช

อาการของไฟทอฟธอร่าเน่าในต้นทุเรียน ได้แก่ ใบเหลืองและเหี่ยว ผลผลิตลดลง และในที่สุดต้นตาย โรคนี้แพร่กระจายอย่างรวดเร็วและควบคุมได้ยากทำให้เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนกังวลเป็นอย่างมาก

เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อ Phytophthora เน่า สิ่งสำคัญคือต้องปลูกต้นทุเรียนในดินที่มีการระบายน้ำดีและหลีกเลี่ยงการรดน้ำมากเกินไป การตัดแต่งกิ่งและการฆ่าเชื้อเครื่องมืออย่างเหมาะสมสามารถช่วยป้องกันการแพร่กระจายของโรคได้ ในกรณีที่เกิดการระบาด ต้นไม้ที่ได้รับผลกระทบสามารถรักษาด้วยสารฆ่าเชื้อราได้ แต่อาจมีค่าใช้จ่ายสูงและอาจไม่ได้ผลเสมอไป

เนื่องจากผลกระทบที่เป็นไปได้ของ Phytophthora เน่าต่อผลผลิตทุเรียนจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้ปลูกที่จะต้องระมัดระวังและดำเนินการเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรค ซึ่งรวมถึงการตรวจสอบต้นไม้อย่างสม่ำเสมอเพื่อหาสัญญาณของการติดเชื้อและดำเนินการทันทีหากตรวจพบโรค เกษตรกรผู้ปลูกสามารถช่วยให้ต้นทุเรียนมีสุขภาพแข็งแรงและมีอายุยืนยาวได้

ไตรโคเร็กซ์ : เชื้อไตรโคเดอร์มา

ช่วยป้องกันและยับยั้งโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่นใบเหลือง รากเน่า โคนเน่า ไฟท้อปเธอร่าในทุเรียนโรคแคงเกอร์ในส้ม - มะนาว โรคทลายปาล์มเน่าโรคแอนแทรกโนสใน มะละกอ แตงโม แตงกวาโรคใบจุด ใบแห้ง โรคกาบใบเน่า โรคกาบใบแห้งโรคไหม้ในข้าว โรคกุ้งแห้งในพริก โรคผลเน่าไตรโคเร็กซ์

ใช้อย่างไร1. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นบริเวณกิ่ง ก้าน ใบ หรือราดบริเวณโคนต้น2. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อปุ๋ยอินทรีย์ 20 กก.ในการปลูกหรือรองก้นหลุมก่อนปลูก* ไม่ควรผสมใช้ร่วมกับเชื้อบิวเวอร์เรียและเมธาไรเซียม ควรฉีดสลับกันทุก 7-10 วัน *

ผลิตภัณฑ์ของเราดีกว่าอย่างไร
1.มีห้องปฏิบัติการเพาะเชื้อจุลินทรีย์
- คัดสายพันธุ์เฉพาะ ผ่านการทดสอบ/วิจัย
- สายพันธุ์เชื้อผ่านการตรวจจาก วว.และ สวทช
2.เชื้อจุลินทรีย์เลี้ยงในอุณหภูมิที่เหมาะสม
- มีตู้บ่มเชื้อควบคุมอุณหภูมิ
- ได้เชื้อจุลินทรีย์สมบูรณ์ แข็งแรง
3.มีห้องสำหรับการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์
- เพื่อลดการปนเปื้อนระหว่างการเพาะเชื้อ
- ควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น แสง
4.ควบคุมคุณภาพเชื้อจุลินทรีย์ตลอดการผลิต

ป้องกันกำจัดโรคพืช
-โรคใบเหลือง ใบเหี่ยว
-โรคใบจุด ราน้ำค้าง
-โรคราแป้ง
-โรคราสีชมพู กาบใบแห้ง
-โรคผลเน่า ในพริกทุเรียน
-โรคใบไหม้
-โรคเหี่ยวเขียว เหี่ยวเหลือง
-โรครากเน่าโคนเน่า
-โรคเมล็ดเน่า

กลไกการป้องกันโรคพืช
1.เจริญเติบโต แข่งขัน แย่งอาหาร น้ำ และที่อยู่กับเชื้อราสาเหตุโรคพืช จึงทำให้เชื้อโรคลดปริมาณ ลงอย่างรวดเร็ว
2.การสร้างสารปฏิชีวนะ มาทำลายผนังเซลล์เชื้อราโรคพืช ทำให้เส้นใยเชื้อราโรคพืชเกิดการไหม้ และตาย 
3.เป็นปรสิต สร้างเส้นใยพันรัดน้ำเลี้ยงจากเชื้อโรคพืช ทำให้เส้นใยสลายลดการขยาย เผ่าพันธุ์ลง



สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
3569 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 9 รายการ
|-Page 314 of 357-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
เพลี้ยในต้นมันสำปะหลัง: กลยุทธ์ในการป้องกันและกำจัดศัตรูพืช
Update: 2566/11/20 13:08:59 - Views: 3515
หนอนใยผัก หนอนกระทู้หอม แมลงศัตรู ที่สําคัญ พืชตระกูลกะหล่ำ และการป้องกันกําจัด
Update: 2564/03/10 22:17:18 - Views: 3506
เทคนิค การเก็บเมล็ดพันธุ์ พื้นบ้าน โดยเกษตรกร
Update: 2562/08/18 23:51:03 - Views: 3788
การป้องกันและกำจัด กล้วยตายพราย เชื้อรา Fusarium oxysporum f.sp. หรือโรคเหี่ยวในกล้วย
Update: 2566/03/11 09:01:40 - Views: 3568
การใช้คาร์รอน (Diuron 80% WG) ในกำจัดหญ้าและวัชพืชในสวนฟักทอง
Update: 2567/02/13 09:11:12 - Views: 3471
การรับมือกับ โรคใบไหม้ ใบจุด ราสนิม และราน้ำค้าง: ศึกษาเชื้อราและวิธีป้องกันในพืช
Update: 2566/11/20 08:55:34 - Views: 3448
การจัดการโรคราน้ำค้างในแตงกวา: วิธีป้องกันและการดูแลเพื่อผลผลิตที่สมบูรณ์
Update: 2566/11/13 12:39:40 - Views: 3543
คู่มือการปลูกทุเรียน: วิธีปลูกและดูแลต้นทุเรียน
Update: 2566/04/28 13:12:43 - Views: 3695
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในผลฝรั่งอย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2566/05/04 09:51:31 - Views: 3453
วิธีปลูกทุเรียนอย่างละเอียด ตั้งแต่การคัดเลือกพันธุ์ ไปจนถึงการเก็บเกี่ยว
Update: 2564/05/31 08:12:06 - Views: 6132
คู่มือป้องกันกำจัดโรคขนุน ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคใบไหม้ ขนุนผลเน่า เชื้อราต่างๆ
Update: 2566/04/30 10:12:58 - Views: 3521
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน มังคุด เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/19 15:27:34 - Views: 3519
แมคคาเดเมีย Macadamia
Update: 2564/04/04 08:36:56 - Views: 3536
การจัดการดินและระบบการปลูกมันสำปะหลัง
Update: 2553/02/20 10:47:38 - Views: 3837
การป้องกันและกำจัด โรคเหี่ยว จากเชื้อรา ฟิวซาเรียม ในเมล่อน ด้วยสารอินทรีย์
Update: 2566/01/11 09:56:58 - Views: 3477
การป้องกันกำจัดโรคแอนแทรกโนสในทุเรียนด้วยสารอินทรีย์ ไอเอส
Update: 2566/01/06 14:13:27 - Views: 3525
การจัดการและป้องกันการระบาดของเพลี้ยในต้นดอกกล้วยไม้: วิธีการแก้ไขปัญหาแมลงในสวน
Update: 2566/11/23 13:09:27 - Views: 3510
กัญชาใบไหม้ โรคกัญชา โรคราสนิม โรคใบเหลือง
Update: 2564/06/07 08:04:31 - Views: 3888
การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี
Update: 2563/11/12 09:26:17 - Views: 3495
เพลี้ยแป้งลำไย
Update: 2564/08/30 06:44:26 - Views: 3489
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022