[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3569 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 9 รายการ

 
รู้หรือไม่? ปลานิล ปลาทับทิม ที่เราได้ทานกันทุกวันนี้ มีที่มาอย่างไร
รู้หรือไม่? ปลานิล ปลาทับทิม ที่เราได้ทานกันทุกวันนี้ มีที่มาอย่างไร
จาก “ปลานิล” สู่ “ปลาทับทิม” อีกปลาเศรษฐกิจของคนไทย
“ปลานิล” เป็นอีกสัญลักษณ์หนึ่งที่แสดงถึงพระอัจฉริยภาพในองค์พระบาทสมเด็จ

พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช หลังจากที่สมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะเมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศมกุฎราชกุมารแห่งประเทศญี่ปุ่นได้ถวายปลานิล จำนวน 50 ตัว เมื่อวันที่ 25 มี.ค.2508 และโปรดเกล้าฯ ให้ทดลองเลี้ยงปลานิลในบ่อภายในสวนจิตรลดา เป็นที่มาของชื่อ ปลานิลจิตรลดา

ต่อมาทรงพระราชทานพันธุ์ปลาดังกล่าวให้กับกรมประมง จำนวน 10_000 ตัว เมื่อวันที่ 17 มี.ค.2509 เพื่อนำไปขยายพันธุ์และแจกจ่ายแก่พสกนิกร และปล่อยลงไว้ตามแหล่งน้ำต่าง ๆ ตามที่เห็นว่าเหมาะสม เนื่องจากปลานิลมีคุณลักษณะพิเศษหลายอย่าง เช่น เลี้ยงง่าย โตเร็ว กินอาหารได้ทุกชนิด เช่น ไรน้ำ ตะไคร่น้ำ ตัวอ่อนของแมลงและสัตว์น้ำเล็กๆ

รวมทั้งมีขนาดลำตัวใหญ่ ขยายพันธุ์ง่าย และมีรสชาติดี กลายเป็นปลาเศรษฐกิจที่สร้างงานให้คนไทยนับล้าน และเป็นโปรตีนราคาถูกให้พสกนิกรทั่วประเทศของพระองค์ได้บริโภค

นอกจากปลานิลสายพันธุ์ทั่วไปแล้ว ยังมีปลาที่มีลักษณะคล้ายปลานิลแต่มีสีแดง ซึ่งปัจจุบัน เกษตรกรโดยเฉพาะในภาคกลางและภาคเหนือ ได้ทำการเพาะเลี้ยงปลานิลควบคู่ไปกับปลานิลสีแดง โดยมีการพบครั้งแรกในราวปี2511 ที่จ.อุบลราชธานี โดยนักวิชาการประมงของสถานีประมงจังหวัดอุบลราชธานีและเกษตรกรในจังหวัดนั้น ได้ปลานิลแดงปะปนอยู่ในบ่อเลี้ยงปลานิล

นักวิชาการประมงประจำสถานีฯ จึงได้ทำการคัดเลือกปลานิลที่มีสีแดงทั้งตัวแยกเพาะเลี้ยงไว้ต่างหากจากปลานิลพันธุ์ปกติ โดยในขณะนั้นยังไม่มีการศึกษาด้านพันธุกรรมของปลานิลชนิดนี้

ต่อมาในปี2525 กลุ่มวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ สถาบันประมงน้ำจืดแห่งชาติ ได้นำลูกปลานิลสีแดงขนาด 2–3 เซนติเมตร จำนวน 1_000 ตัว จากสถานีประมงจังหวัดอุบลราชธานีมาเลี้ยงไว้เพื่อทำการคัดพันธุ์และศึกษาวิจัยด้านพันธุกรรม ภายใต้โครงการ “พันธุกรรมปลา” ในปี 2527 กรมประมงได้ส่งตัวอย่างปลานิลแดงนี้ไปตรวจสอบพันธุ์ ณ มหาวิทยาลัยสเตอร์ริง สหราชอาณาจักรและมหาวิทยาลัยฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐฟิลิปปินส์

จากการศึกษาสายพันธุ์โดยการวิเคราะห์ในระดับโปรตีนที่ถูกควบคุมด้วยยีนบางชนิดพบว่า ปลานิลแดงเป็นปลาลูกผสมระหว่างปลานิลกับปลาหมอเทศ ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามมกุฏราชกุมารี ได้ทรงพระราชทานชื่อปลาชนิดนี้ว่า “ปลานิลสีแดง” แต่มักจะเรียกกันว่า “ปลานิลแดง”

ส่วน “ปลาทับทิม” เป็นการพัฒนาสายพันธุ์ปลานิลโดยภาคเอกชนคือเครือเจริญโภคภัณฑ์ โดยซีพีเอฟทำการพัฒนาสายพันธุ์ปลาตามแนวพระราชดำริด้วยวิธีธรรมชาติ ไม่ใช่การตัดแต่งพันธุกรรม ด้วยการนำปลานิลแดงมาพัฒนาต่อ โดยผสมข้ามสายพันธุ์กับปลานิลแดงที่มีลักษณะเด่นมากในด้านต่างๆจากหลายประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา อิสราเอลและไต้หวัน

โดยทำการปรับปรุงสายพันธุ์ทางด้านคุณภาพ ความต้านทานโรค ลักษณะเนื้อและรสชาติให้ดีขึ้นด้วยวิธีตามธรรมชาติ กระทั่งได้ปลาเนื้อพันธุ์ใหม่ที่มีลักษณะภายนอกโดดเด่นคือสีของเกล็ดและตัวปลาที่มีสีแดงอมชมพู และสามารถเลี้ยงให้เติบโตได้ดีในน้ำที่มีความเค็ม

เมื่อวันที่ 22 ม.ค.2541 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระราชทานนามปลาชนิดใหม่นี้ว่า “ปลาทับทิม”

กล่าวได้ว่าปลาทับทิมถือกำเนิดขึ้นจากปลานิลจิตรลดาและเกิดขึ้นจากพระมหากรุณาธิคุณแห่งพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชโดยแท้

ปัจจุบัน “ปลาทับทิม” มีการเพาะพันธุ์จำหน่ายโดยเกษตรกรและบริษัทต่างๆมากมาย มิใช่เพียงเครือเจริญโภคภัณฑ์ และปลาทับทิมก็ได้รับความนิยมทั้งจากเกษตรกร ผู้ประกอบการร้านอาหาร และผู้บริโภคอย่างแพร่หลาย กลายเป็นปลาเนื้อเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่งที่มีคุณภาพสูง เป็นปลาของคนไทยที่สามารถสร้างงานสร้างอาชีพ และรายได้แก่เกษตรกรอย่างยั่งยืน

อ้างอิง bangkokbiznews.com/ blog/detail/639647
อ่าน:3698
โรคพืชตระกูลแตง โรคราน้ำค้าง และ โรคราแป้ง
โรคพืชตระกูลแตง โรคราน้ำค้าง และ โรคราแป้ง
ในเขตภาคกลางระยะนี้จะมีอากาศร้อนช่วงกลางวัน และมีอากาศเย็นในช่วงกลางคืน กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลแตง อาทิ แตงกวา แตงโม เมล่อน ซูกินี ฟักเขียว มะระจีน และบวบ ให้เกษตรกรหมั่นสังเกตอาการของโรคราน้ำค้าง และโรคราแป้ง ที่สามารถพบได้ทุกระยะการเจริญเติบโตของพืชตระกูลแตง

โรคราน้ำค้าง

โรคราน้ำค้าง มักพบมีแผลเหลี่ยมเล็กสีเหลืองบนใบ และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มหรือเทาดำ กรณีที่มีความชื้นสูงในตอนเช้า จะพบเส้นใยเชื้อราเป็นขุยสีเทาดำตรงแผลใต้ใบ หากสภาพแวดล้อมเหมาะสมโรคจะระบาดรวดเร็ว ทำให้ใบเหลืองและแห้งตายทั้งต้น แตงที่เป็นโรคจะติดผลน้อย ผลมีขนาดเล็ก และความหวานลดลง

โรคราแป้ง

โรคราแป้ง จะพบโรคในช่วงอากาศแห้งและเย็น หรือประมาณเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ มักพบเชื้อราคล้ายผงแป้งสีขาวเป็นหย่อมๆ บนใบส่วนล่างของต้นก่อน กรณีสภาพแวดล้อมเหมาะสม โรคจะกระจายทั่วทั้งใบและลุกลามขึ้นไปยังใบส่วนบนของต้น โดยเห็นเชื้อราคล้ายผงแป้งสีขาวปกคลุมใบเกือบทั้งต้น ต่อมาใบจะซีดเหลืองและแห้ง หากรุนแรง จะลุกลามไปยังทุกส่วนของพืช ทำให้ต้นแห้งตายในที่สุด ถ้าแตงเป็นโรคในระยะติดผลอ่อน ผลจะแกร็น บิดเบี้ยว ผิวขรุขระ เป็นตุ่ม หรือมีแผลที่เปลือก

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคราแป้ง และ โรคราน้ำค้าง ฉีดพ่น ไอเอส

ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต เสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรคและแมลง เพิ่มปริมาณและ คุณภาพของผลผลิต

คู่มือการปลูกทุเรียน: วิธีปลูกและดูแลต้นทุเรียน
คู่มือการปลูกทุเรียน: วิธีปลูกและดูแลต้นทุเรียน
ทุเรียนหรือที่รู้จักกันในนาม "ราชาแห่งผลไม้" เป็นผลไม้เมืองร้อนที่เป็นที่ต้องการอย่างสูง ซึ่งเป็นที่รู้จักจากกลิ่นเฉพาะตัวที่ฉุนและเนื้อครีมที่อร่อย หากคุณสนใจที่จะปลูกต้นทุเรียนของคุณเอง คู่มือนี้จะให้ข้อมูลที่จำเป็นในการเริ่มต้น

ข้อกำหนดด้านสภาพอากาศและดิน
ต้นทุเรียนเจริญเติบโตได้ดีในสภาพอากาศชื้นและอบอุ่น โดยมีอุณหภูมิระหว่าง 22°C ถึง 32°C พวกเขาต้องการดินที่ระบายน้ำได้ดีและเป็นกรดเล็กน้อยที่มีช่วง pH 5.0 ถึง 6.5 ดินควรอุดมด้วยอินทรียวัตถุและสามารถกักเก็บน้ำได้ดี

ปลูก
ควรปลูกเมล็ดทุเรียนในแปลงเพาะที่เตรียมไว้อย่างดี โดยแต่ละเมล็ดปลูกที่ความลึก 2.5 ถึง 5 ซม. ควรย้ายต้นกล้าไปที่แปลงหลักเมื่ออายุได้ 6 ถึง 8 เดือน โดยมีความสูงประมาณ 30 ซม. ระยะห่างระหว่างต้นไม้แต่ละต้นควรอยู่ที่ 8 ถึง 10 เมตร

การดูแลต้นทุเรียน
ต้นทุเรียนต้องการการรดน้ำอย่างสม่ำเสมอโดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง ควรใส่ปุ๋ยด้วยปุ๋ยที่สมดุลซึ่งประกอบด้วยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม การตัดแต่งกิ่งเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้ต้นไม้แข็งแรงและรักษารูปร่าง

การควบคุมศัตรูพืชและโรค
ต้นทุเรียนอ่อนแอต่อแมลงศัตรูพืชและโรคต่าง ๆ รวมทั้งแมลงวันผลไม้ เพลี้ยแป้ง และ Phytophthora palmivora ในการควบคุมศัตรูพืช ใช้ยาฆ่าแมลงที่ปลอดภัยต่อต้นทุเรียน และในการควบคุมโรค ใช้ยาฆ่าเชื้อราที่มีคอปเปอร์ออกซีคลอไรด์หรือแมนโคเซบ

การเก็บเกี่ยว
ผลทุเรียนพร้อมเก็บเกี่ยวหลังดอกบาน 3-4 เดือน ผลสุกเมื่อสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองและส่งกลิ่นหอมหวานเข้มข้น ควรเก็บผลไม้โดยการตัดก้านด้วยมีดที่คม ผลทุเรียนมีอายุการเก็บรักษาสั้นและควรบริโภคภายในไม่กี่วันหลังจากเก็บเกี่ยว

โดยสรุปแล้ว การปลูกทุเรียนต้องมีสภาพอากาศอบอุ่น ชื้น ระบายน้ำดี ดินเป็นกรดเล็กน้อย ต้นทุเรียนต้องการการรดน้ำ ใส่ปุ๋ย และตัดแต่งกิ่งอย่างสม่ำเสมอ การควบคุมศัตรูพืชและโรคก็มีความสำคัญเช่นกันเพื่อให้แน่ใจว่าพืชผลแข็งแรง ด้วยการดูแลที่เหมาะสม ต้นทุเรียนสามารถเก็บเกี่ยวผลไม้ที่อร่อยและเป็นเอกลักษณ์นี้ได้มากมาย
อ่าน:3696
คู่มือการป้องกันกำจัดโรคทุเรียนจากเชื้อราต่างๆ
คู่มือการป้องกันกำจัดโรคทุเรียนจากเชื้อราต่างๆ
ทุเรียนเป็นผลไม้ที่มีมูลค่าสูงในหลายๆ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ก็มีแนวโน้มที่จะเกิดโรคเชื้อราที่สามารถทำลายพืชผลและทำให้ผลผลิตลดลงได้ โรคเชื้อราที่พบบ่อยชนิดหนึ่งที่ส่งผลต่อต้นทุเรียนคือ โรคแอนแทรคโนส ซึ่งเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides อาการของโรคแอนแทรคโนส ได้แก่ โรคใบจุด โรคใบติดทุเรียน โรคทุเรียนใบไหม้ โรคแคงเกอร์ที่ลำต้น และผลเน่า ซึ่งอาจทำให้เกษตรกรเสียหายอย่างมาก

เพื่อป้องกันและควบคุมโรคจากเชื้อรา เช่น แอนแทรคโนส เกษตรกรสามารถใช้ผลิตภัณฑ์ที่เรียกว่า IS ซึ่งเป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา IS ทำงานโดยเสริมสร้างการป้องกันตามธรรมชาติของพืช ทำให้มันต้านทานต่อการติดเชื้อราได้มากขึ้น นอกจากนี้ IS ยังมี FK-1 ซึ่งเป็นปุ๋ยที่มีศักยภาพซึ่งช่วยบำรุงพืชและเพิ่มผลผลิต

ในการใช้ IS เกษตรกรควรผสมผลิตภัณฑ์ 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ควรใช้น้ำยาฉีดพ่นที่ใบและลำต้นของต้นทุเรียน ควรทำทุก 7-10 วันเพื่อรักษาป้องกันโรคเชื้อรา

นอกจากการใช้ IS แล้ว เกษตรกรยังสามารถใช้มาตรการอื่น ๆ เพื่อป้องกันโรคเชื้อราในต้นทุเรียน สิ่งเหล่านี้รวมถึงการฝึกสุขอนามัยที่ดีโดยการกำจัดเศษพืชที่ติดเชื้อ หลีกเลี่ยงการรดน้ำเหนือศีรษะ และการปลูกพันธุ์ที่ต้านทานโรค ด้วยการดูแลและจัดการที่เหมาะสม เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนสามารถป้องกันและควบคุมโรคเชื้อราได้ ทำให้พืชผลแข็งแรงและให้ผลผลิตดี
อ่าน:3695
โรคราน้ำค้างแตงโม
โรคราน้ำค้างแตงโม
โรคราน้ำค้างที่เกิดกับแตงโม ลักษณะที่มองเห็นได้ คือ เกิดจุดสีเหลืองบนหลังใบ และขยายตัวใหญ่ขึ้น จำนวนจุดสีเหลืองเพิ่มปริมาณมากขึ้น และใต้ใบตรงตำแหน่งเดียวกัน จะมีกลุ่มของเชื้อราสีม่วงอมเทาเกาะเป็นกลุ่มอยู่ เชื้อโรคนี้เจริญได้อย่างรวดเร็ว เมื่ออากาศอุ่นและชุ่มชื้น เมื่อใบแก่ตายเชื้อก็จะไปทำลายใบอ่อนต่อไป เมื่อใบแห้งไปหมดแล้ว ผลที่เกิดขึ้นมาก็คือ แตงติดผลน้อยและคุณภาพผลแก่ก็ต่ำด้วย สปอร์ของเชื้อรานี้แพร่ระบาดไปโดยลมและโดยแมลงพวกเต่าแตง

สาเหตุของโรคราน้ำค้างแตงโม

คล้ายๆกับโรคราน้ำค้างทั่วๆ ไป คือ ชอบอุณหภูมิที่ค่อนข้างเย็นและความชื้นสูงในการเกิด และการเข้าทำลายพืช โรคราน้ำค้างของแตงโมจะเจริญเติบโตระบาดได้ดีในช่วงของอุณหภูมิระหว่าง 16-27 องศาเซลเซียส แต่จะดีที่สุดที่ 20 องศาเซลเซียสส่วนความชื้นนั้นต้องสูงเกินกว่า 86% ขึ้นไป

การป้องกันและกำจัดโรคราน้ำค้าง

ขจัดทำลายวัชพืชพวกแตงต่างๆ และต้นที่งอก หรือหลงเหลือจากการเก็บเกี่ยวให้หมดจากบริเวณหรือแปลงปลูก

เมื่อปรากฏมีโรคเกิดขึ้นในแปลงปลูก ให้รีบป้องกันการระบาดเพื่อรักษาต้นที่ยังดีอยู่โดยการใช้สารป้องกันกำจัดโรคพืชจากเชื้อรา

อ้าอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

FK-1 ฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการแตกยอด แตกใบใหม่ ส่งเสริมผลผลิต

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
ข้าวแดง ข้าวลาย ข้าวหาง ข้าวดีด ข้าวเด้ง
ข้าวแดง ข้าวลาย ข้าวหาง ข้าวดีด ข้าวเด้ง
ข้าวแดง ข้าวลาย ข้าวหาง ข้าวดีด ข้าวเด้ง
ข้าวดีด ข้าวเด้ง เป็นข้าวอีกชนิดหนึ่งที่ถือว่าเป็นข้าววัชพืช ที่มาของชื่อ ข้าวดีด ข้าวเด้ง คือ เนื่องจากเมื่อเมล็ดแก่ และถูกลมพัดหรือเมื่อคนไปสัมผัส เมล็ดจะร่วง ข้าวดีดหรือข้าวเด้ง เป็นข้าววัชพืชที่มีลักษณะร่วงง่ายและร่วงเร็ว โดยทยอยร่วงตั้งแต่หลังดอกบาน 9 วันเป็นต้นไป เมล็ดข้าวเปลือกส่วนใหญ่มีหางสั้นหรือไม่มีหาง ข้าวเปลือกส่วนใหญ่มีสีเหลืองฟาง สีของเยื่อหุ้มเมล็ดมีทั้งแดงและขาว

ส่วน ข้าวแดง หรือ ข้าวลาย คือข้าววัชพืชที่มีลักษณะสีข้าวเปลือกมักมีสีเข้ม ไปจนถึงลายสีน้ำตาลแดง เมล็ดข้าวเปลือกส่วนใหญ่ไม่มีหาง เมล็ดมีทั้งร่วงและไม่ร่วงก่อนเก็บเกี่ยว แต่สีของเยื่อหุ้มเมล็ดส่วนใหญ่มีสีแดง

ที่มา : องค์ความรู้เรื่องข้าว สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว

สินค้าจากเรา

ชุดย่อยสลายฟางข้าว ชุดย่อยสลายตอฟาง ย่อยสลายใน 7วัน ไม่ต้องเผา

ลดข้าวดีดมากกว่า 70% รวดเร็วในการย่อยสลายตอซังฟางข้าว ภายใน 5-7 วัน โดยไม่ต้องเผา ปรับสภาพดินในนาข้าว สามารถไถพรวนได้ง่าย เพิ่มจุลธาตุอาหารให้แก่นาข้าวหลังการเก็บเกี่ยว สามารถลดปัญหาข้าวดีด และข้าววัชพืชอื่น ๆ ในนาข้าวได้

#ย่อยสลายฟางข้าว #ย่อยสลายตอฟาง #ย่อยสลายตอซัง

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อ ชุดย่อยสลายตอซังฟางข้าว กับ Lazada : http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อ ชุดย่อยสลายตอซังฟางข้าว กับ Shopee : http://www.farmkaset..link..
พืชใบหงิกงอ พืชใบม้วน ใบด่าง ควรใช้ยาอะไร ต้องสังเกตุที่ต้นเหตุ แล้วเลือกใช้ยาแก้อาการ - ฟาร์มเกษตร
พืชใบหงิกงอ พืชใบม้วน ใบด่าง ควรใช้ยาอะไร ต้องสังเกตุที่ต้นเหตุ แล้วเลือกใช้ยาแก้อาการ - ฟาร์มเกษตร
พืชใบหงิกงอ พืชใบม้วน ใบด่าง ควรใช้ยาอะไร ต้องสังเกตุที่ต้นเหตุ แล้วเลือกใช้ยาแก้อาการ - ฟาร์มเกษตร

อาการพืชใบหงิก ใบม้วน ใบด่าง ต้องตรวจสอบให้ดี ก่อนเลือกซื้อยามาแก้ไข เป็นไปได้จากหลายสาเหตุ อาทิเช่น เกิดการเพลี้ย ดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ผิวใบ ทำให้ใบพืชด่าง สีจางลงเป็นหย่อมๆ เป็นจุดๆ และทำให้ใบพืชหดตัว ส่งผลให้เริ่มหงิกงอ หรือ อาจจะเป็นโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ไวรัสต่างๆก็เป็นได้ และอีกกรณีที่เป็นไปได้ อาจจะเกิดจากการขาดธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อความสมบูรณ์แข็งแรงของพืช - ฟาร์มเกษตร

https://www.youtube.com/watch?v=JAVPmUdSfak
อ่าน:3690
โรคราสนิมต้นลีลาวดี โรคราสนิมลั่นทม [ใช้ ไอเอส + FK-1 ]
โรคราสนิมต้นลีลาวดี โรคราสนิมลั่นทม [ใช้ ไอเอส + FK-1 ]
ในช่วงฤดูฝน ความช้ืนในอากาศสูง เหมาะกบัการเจริญเติบโตของเช้ือราสาเหตุโรคพืชหลายชนิด ต้นลีลาวดีเป็นต้นไม้ ที่เกิดโรคราสนิมได้ง่าย ในสภาพแวดล้อมดังนี้

1. ความชื้นสูงเป็นเวลานาน

2. รับแสงแดดไม่เพียงพอ ทำให้ต้านทานต่อโรคได้ต่ำ

3. ใบหนาทึบ ไม่โปร่งแสง แดดสาดส่องไม่ถึง

4. พืชอื่นๆ บริเวณใกล้เคียง มีการระบาดของโรคราสนิม

โรคราสนิมลีลาวดี เกิดจากเชื้อสาเหตุ Coleosporium plumeriaePat.

ลักษณะอาการ พบระยะ uredinium มักพบใต้ใบมากกว่าบนใบ เป็นจุดนูนกลม สีเหลืองถึงส้ม เกิดเป็นกลุ่มกระจายทั่วไป ต่อมาจะเกิดอาการใบแห้ง ลีลาวดีใบไหม้เป็นสีน้ำตาล และร่วงหล่น

การป้องกันกำจัดโรคราสนิมลีลาวดี

1. ตัดใบที่เป็นโรคราสนิมเผาทำลาย

2. กำจัดวัดพืช ตัดแต่งกิ่งให้โปร่ง แดดสาดส่องถึง

ป้องกันกำจัด โรคราสนิมลีลาวดี ราสนิมลั่นทม โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
กำจัดหนอนชอนใบมะนาว ด้วย ไอกี้-บีที ยากำจัดหนอนปลอดสารพิษ
กำจัดหนอนชอนใบมะนาว ด้วย ไอกี้-บีที ยากำจัดหนอนปลอดสารพิษ
กำจัดหนอนชอนใบมะนาว ด้วย ไอกี้-บีที ยากำจัดหนอนปลอดสารพิษ
ไอกี้-บีที ใช้ป้องกันและกำจัดหนอนชอนใบมะนาว และหนอนชนิดต่างๆ เป็นสารชีวินทรีย์ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอกี้-บีที เพื่อเร่งมะนาวให้ฟื้นตัวจากการถูกหนอนเข้าทำลายได้อย่างรวดเร็ว กลับมาโตไว ให้ผลผลิตดีขึ้น

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/..

🎗เพลี้ยไฟกุหลาบ
🎗เพลี้ยไฟกุหลาบ
🎗เพลี้ยไฟกุหลาบ
เพลี้ยไฟ เป็นแมลงศัตรูกุหลาบ ที่สำคัญชนิดหนึ่ง เพลี้ยไฟกุหลาบ จะดูดกินน้ำเลี้ยงในส่วนที่อ่อนของพืช เช่น ยอดอ่อนของกุหลาบ ตาดอก ใต้กลีบดอกกุหลาบ และใต้ใบ เป็นแห่งที่ซ่อนของเพลี้ยไฟ เมื่อเพลี้ยไฟเข้าทำลายกุหลาบ จำทำให้ดอกมีสีซีดเป็นทางสีขาว น้ำตาล และ ดำ ใบกุหลาบจะหงิกงอ เป็นคลื่น ยอดกุหลาบหงิก ใบกุหลาบบิดเบี้ยง เสียรูปทรง ดอกกุหลาบไม่บาน หนักเข้า ก็อาจจะเหี่ยว แห้ง และตายได้ในที่สุด

🦗 ฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ กำจัด เพลี้ย แมลงหวี่ขาว แมลงพาหะของโรค และแมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🌿 ฉีดพ่น FKธรรมชาตินิยม เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

🎯 สามารถผสม FKธรรมชาตินิยม ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🦗ข้อมูล มาคา

มาคา เป็นยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ กำจัดแมลงศัตรูพืช
สกัดจากพืช_ 100% จากธรรมชาติ ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค
*การใช้มาคากำจัด เพลี้ย และแมลงศัตรูพืช กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿เกี่ยวกับ FKธรรมชาตินิยม

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum

FKธรรมชาตินิยม ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ

การฉีดพ่น FKธรรมชาตินิยม ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น

🎖คลิกลิงค์เพื่อสั่งซื้อผ่านหน้าเว็บ http://www.farmkaset..link..

อ้างอิง

http://www.farmkaset..link..
3569 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 9 รายการ
|-Page 18 of 357-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
วิธีปลูกทุเรียนอย่างละเอียด ตั้งแต่การคัดเลือกพันธุ์ ไปจนถึงการเก็บเกี่ยว
Update: 2564/05/31 08:12:06 - Views: 6226
อันตรายของเชื้อราสีดำใน มะม่วง
Update: 2566/05/17 09:16:08 - Views: 3433
การดูแลรักษามะม่วง และเก็บเกี่ยว
Update: 2564/05/28 08:42:32 - Views: 4034
12 อาการต้นไม้ขาดธาตุอาหาร พร้อมวิธีดูแลต้นไม้ให้ฟื้นคืนชีพ
Update: 2565/07/26 00:53:17 - Views: 3463
ปลูกพืชในดินลูกรัง การจัดการ ดินลูกรัง ที่ถูกวิธี ช่วยเพิ่มผลผลิตพืชได้
Update: 2565/07/28 07:10:49 - Views: 3901
การรู้จักและจัดการกับหนอนศัตรูพืชที่เข้าทำลายต้นพุทรา
Update: 2566/11/11 10:39:32 - Views: 3565
เมล่อน แคนตาลูป โรคราน้ำค้างแคนตาลูป โรคใบจุดในแคนตาลูป โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/09/23 21:05:07 - Views: 3488
หนอนในต้นมะเขือเทศ: วิธีแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในสวนผักของคุณ
Update: 2566/11/17 14:27:57 - Views: 3457
โรคใบไหม้ของต้นมะยงชิด
Update: 2566/05/17 12:01:33 - Views: 3604
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนเจาะสมอฝ้าย ใน กระเจี๊ยบเขียว และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/16 13:19:07 - Views: 3500
การทำไร่อ้อย ใน 4 ขั้นตอนหลักๆ
Update: 2563/09/27 20:19:32 - Views: 4127
การป้องกันกำจัด โรคราดำทุเรียน โรคราแป้งในต้นทุเรียน ด้วย ไอเอส และ FK-1
Update: 2566/02/27 10:17:36 - Views: 3436
มันสำปะหลังใบเหลืองขอบใบไหม้ ใช้ ไอเอส และ FK-1
Update: 2563/04/17 10:06:13 - Views: 3474
โรคมะยงชิด โรคมะปรางหวาน แอนแทรคโนส โรคใบไหม้ ใบจุด ราสนิม โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/15 23:54:39 - Views: 3637
การป้องกันและรักษาโรคเชื้อราในต้นหม่อน: แนวทางการดูแลและการใช้สารป้องกันกำจัดโรค
Update: 2566/11/21 09:16:00 - Views: 3503
โรคพืชต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ โรคใบจุดสีน้ำตาล โรคยอดแห้ง โรคแคงเกอร์ โรคไฟทอปโธร่า
Update: 2564/02/07 22:04:38 - Views: 3447
โรคลิ้นจี่ และการป้องกันกำจัด
Update: 2564/09/03 22:59:21 - Views: 3520
ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบสำหรับอ้อย
Update: 2564/08/27 22:13:46 - Views: 3617
โรคพริก โรคกุ้งแห้ง โรคแอนแทรคโนสพริก โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/10 02:47:45 - Views: 3526
การป้องกันและกำจัด โรคเหี่ยว จากเชื้อรา ฟิวซาเรียม ในเมล่อน ด้วยสารอินทรีย์
Update: 2566/01/11 09:56:58 - Views: 3478
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022