[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3582 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 358 หน้า, หน้าที่ 359 มี 2 รายการ

 
ไขข้อข้องใจ … ทำไมแหนมถึงกินดิบได้?
ไขข้อข้องใจ … ทำไมแหนมถึงกินดิบได้?
ไขข้อข้องใจ … ทำไมแหนมถึงกินดิบได้?
การรับประทานอาหารดิบนั้นเสี่ยวต่อการเป็นโรคพยาธิ ปวดท้อง อุจจาระร่วง กล้ามเนื้ออักเสบ หายใจไม่สะดวกและอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ ดังนั้นเราจึงไม่นิยมรับประทานอาหารแบบดิบหรือกึ่งสุกกึ่งดิบกันมากนัก แต่มีอาหารอยู่ชนิดหนึ่งที่มักจะเห็นหลายๆ คนรับประทานแบบดิบกันนั่นก็คือ แหนม นั่นเอง

แหนมทำมาจากเนื้อหมูดิบที่ผ่านกระบวนการหมักออกมาให้เราได้รับประทานกัน ซึ่งการหมักนั้นจะเกิดเชื้อจุลินทรีย์ต่างๆ ที่ก่อให้เกิดโรคได้หากผ่านการหมักไม่ได้มาตรฐาน แต่หลายๆ คนก็หลงลืมและมองข้ามไปแล้วนำมากินดิบๆ กัน โดยเฉพาะนักดื่มทั้งหลายมักจะนำแหนมมากินดิบเพื่อแกล้มกับเครื่องดื่ม ซึ่งถือว่าเสี่ยงต่ออาการเจ็บป่วยมาก ดังนั้นเราแนะนำว่าให้เพื่อนๆ รับประทานเมนูแหนมต่างๆ แบบปรุงสุกให้ดีเสียก่อน แต่หลายๆ คนก็บอกว่าชอบรสชาติของการกินดิบมากกว่า จะมีวิธีไหนบ้างที่จะทำให้เราได้กินดิบๆ แบบสะอาดและปลอดภัยเพราะเห็นบางคนก็กินดิบกันแล้วไม่เป็นอันตรายอะไร

หากเพื่อนๆ อยากกินดิบเราแนะนำให้กินแหนมฉายรังสี เพราะแหนมฉายรังสีคือแหนมที่ทำมาเพื่อให้เรากินดิบได้โดยเฉพาะ และควรเลือกยี่ห้อที่ได้มาตรฐาน อย่าง แหนมสุทธิลักษณ์ ที่ผ่านการฉายรังสี 2 กิโลเกรย์ ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่ปลอดภัยต่อการรับประทานและยังได้รับการรับรองจาก WHO องค์การอนามัยโลก_ FAO องค์การอาหารและเกษตรสหประชาชาติ และ IAEA ทบวงการพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ และก็ไม่ต้องกังวลว่าแหนมฉายรังสีจะเป็นอันตราย เพราะว่าปลอดภัยมากๆ แถมยังสะอาดและได้มาตรฐานอีกด้วย

เพียงเท่านี้ก็เห็นแล้วว่าการรับประทานแหนมแบบดิบเป็นเรื่องที่สามารถทำได้ เพียงแต่ต้องเลือกแหนมที่ผ่านการฉายรังสีและมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ หากคราวหน้าอยากรับประทานแบบดิบๆ ก็เลือกยี่ห้อที่ได้มาตรฐาน


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
เพลี้ยอ่อน
เพลี้ยอ่อน
เพลี้ยอ่อน
เพลี้ยอ่อน หนึ่งในแมลงพาหะตัวร้ายที่แพร่กระจายเชื้อโรคไปสู่พืชผักและทำลายด้วยตัวมันเองได้ ซึ่งเพลี้ยอ่อนมีกระจายไปทั่วโลกมากกว่า 4_000 ชนิด และมีจำนวน 250 ชนิดที่คอยก่อกวนพืช โดยใช้ปากที่แหลมคมเจาะลำต้นอ่อนและโคนใบพืชเพื่อดูดอาหารจากเซลล์พืช จนทำให้ใบพืชผักโดนทำลายจนเสียหาย เพราะสามารถระบาดได้อย่างรวดเร็วและสร้างความเสียหายให้แก่พืชทั่วประเทศ

การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืชนั้น เป็นเรื่องใหญ่ที่ส่งผลกระทบต่อการทำเกษตรกรรม จนพวกเราที่ประกอบอาชีพเกษตรกรต่างไม่อยากจะพบเจอ โดยเฉพาะกับแมลงศัตรูที่มีขนาดเล็กมากอย่างเพลี้ยอ่อนนี้ ถ้าเราไม่สังเกตอาจจะมองไม่เห็น ยิ่งเป็นเกษตรกรมือใหม่ด้วยแล้วอาจจะพลาดได้ เพราะแมลงขนาดที่เล็กและแพร่พันธุ์ได้เก่งชนิดนี้กลับสร้างความเสียหายแก่พืชผลเป็นอย่างมาก ทำให้การลงทุนทั้งเงินและแรงของเกษตรกรต้องขาดทุนไปทันที

เพลี้ยอ่อนเป็นแมลงตัวจิ๋ว ที่มีความยาวไม่เกิน 4 มิลลิเมตร หัวเล็กเท่าหัวเข็ม รูปร่างรีและโค้งมนป่องด้านท้าย สามารถออกลูกได้วันละ 10-11 ตัว สามารถออกลูกได้สูงสุดถึงตัวละ 450ตัว ทำให้มีการแพร่พันธุ์อย่างรวดเร็วและเกิดความเสียหายลุกลามได้ เพลี้ยชนิดนี้จะสามารทำลายพืชได้ทุกระยะเน้นทำลายจุดสำคัญของพืช ทั้งลำต้น ใบ ดอก ผล โดยเจาะกินน้ำหวานที่ใต้ใบที่มันอาศัยอยู่ โดยทั่วไปเพลี้ยผัก จะมีจำนวนน้อยลงเมื่อเริ่มมีฝนเข้ามาชะล้างและมีภูมิอากาศมากขึ้น และจะมีจำนวนมากขึ้นในช่วงที่มีอากาศหนาวเย็น

การควบคุมและกำจัดเพลี้ยอ่อนนั้น เริ่มจากการหมั่นสำรวจพืชผลเพื่อจะได้สังเกตเห็นว่ามีเพลี้ยอ่อนเกาะติดพืชผลหรือไม่ และป้องกันด้วยการขยันรดน้ำ พ่นน้ำที่ยอดผัก เพื่อทำลายถิ่นที่อยู่ของเพลี้ยที่อาศัยใต้ใบ เป็นการชะล้างออกในระดับหนึ่ง และนำแมลงห้ำที่นักล่า อย่างตัวอ่อนแมลงช้างปีกใส ด้วงเต่าลายสมอ ด้วงเต่าลายหยัก และด้วงเต่าอื่นๆ รวมทั้ง ตัวอ่อนแมลงวันดอกไม้ มาปล่อยไว้ในแปลงเพาะปลูก เพื่อห้ำหั่นกับเพลี้ยตั้งแต่ต้น และนำแมลงเบยอย่างแตนเบียนดักแด้ มาปล่อยไว้ด้วย ก่อนที่จะมีการระบาด และหากมีการระบาดแล้ว ต้องใช้จุลินทรีย์จากเชื้อรา เช่น บิวเวอเรียหรือเม็ตตะไรเซี่ยม มาทำลายทันทีก่อนที่จะระบาดหนัก หรือจะนำสมุนไพรไทยเราอย่าง หางไหลสัดส่วน 1 กิโลกรัมผสมกับน้ำ 20 ลิตร เพื่อฉีดพ่นกำจัด หากมีความจำเป็นเร่งรีบอาจจะต้องใช้สารเคมีเข้าช่วย แต่อยากให้เลือกเป็นวิธีการสุดท้ายครับ โดยให้พ่นในสัดส่วนที่ข้างกระป๋องระบุไว้เท่านั้นนะครับ เพื่อไม่ให้เกิดความเป็นพิษต่อพืชผล ตัวเรา และสิ่งแวดล้อมครับ

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
การป้องกัน กำจัด โรคแอนแทรคโนสในทุเรียน
การป้องกัน กำจัด โรคแอนแทรคโนสในทุเรียน
อ่านที่ http://www.farmkaset..link..
#แอนแทรคโนสทุเรียน #โรคทุเรียน #ใบจุดทุเรียน
อ่าน:6026
แก้ทุเรียนเล็กใบไหม้ ใบแห้ง ยอดไหม้ ใบเหลือง เพราะโรคจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
แก้ทุเรียนเล็กใบไหม้ ใบแห้ง ยอดไหม้ ใบเหลือง เพราะโรคจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
แก้ทุเรียนเล็กใบไหม้ ใบแห้ง ยอดไหม้ ใบเหลือง เพราะโรคจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
อาการใบไหม้ ขอบใบไหม้ ในทุเรียน มีสาเหตุจากเชื้อรา โดยเฉพาะหากบริเวณใกล้เคียง สวนใกล้เคียง มีอาการเหล่านี้ โรคจากเชื้อรา จะลุกลาม แพร่กระจายมาติดในสวนของเรา ทำให้เกิดอาการใบไหม้ได้เช่นกัน

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สำหรับป้องกันและยับยั้งเชื้อรา สกัดจากพืช ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ปลอดสารพิษ ไม่มีสารตกค้าง ใช้ฉีดพ่นเพื่อป้องกันและยับยั้งโรคพืชทุกชนิด ที่มีสาเหตุมากจากเชื้อรา



สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/products/fk-3-i388594842-s754764572.html

อ่าน:5822
ยาแก้เพลี้ย ใน ผักกวางตุ้ง ผักกวางตุ้งฮ่องเต้ กวางตุ้งดอกฮ่องกง ยากำจัดหนอน ยาแก้โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ และ ปุ๋ย สำหรับ ผัก กวางตุ้ง
ยาแก้เพลี้ย ใน ผักกวางตุ้ง ผักกวางตุ้งฮ่องเต้ กวางตุ้งดอกฮ่องกง ยากำจัดหนอน ยาแก้โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ และ ปุ๋ย สำหรับ ผัก กวางตุ้ง
ยายับยั้งและป้องกัน โรคใบไหม้ โรคต่างๆจากเชื้อรา ยาแก้เพลี้ย ยากำจัดหนอน และปุ๋ย สำหรับ ผัก กวางตั้ง กวางตุ้งฮ่องเต้ และ กวางตุ้งดอกฮ่องกง

หนอนใยผัก ใน ผัก กวางตุ้ง และหนอนคืบกะหล่ำ

ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plutella xylostella เป็นหนอนผีเสื้อ ตามใต้ใบพืช ตัวหนอนส่วนท้ายมีปุ่ม แยกยื่นออกมาเป็นสองแฉก ตัวสีเขียวปนเทาอ่อน หรือสีเขียวปนเหลือง หนอนจะกัดกินผิวใบ ทางด้านล่าง จนใบเป็นรูพรุน และเข้ากัดกินยอดผัก

ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ใน ผัก กวางตุ้ง ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

เพลี้ยอ่อน ผัก กวางตุ้ง และเพลี้ยต่างๆ

อาการที่แสดงให้เห็น เมื่อเพลี้ยเข้าทำลาย คือใบม้วนหงิก ใบแห้งกร้าน ใบกรอบ มีสีจางเป็นจุดๆ กระจายตามจุดต่างๆของใบ เป็นอาการที่เพลี้ยอ่อนเข้าทำลาย โดยการดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ผิวใบ ทำให้ใบด่างเป็นจุดๆ ใบพืชหดตัว และเริ่มหงิกงอ

ป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ใน ผัก กวางตุ้ง ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

โรคราน้ำค้าง ใน ผัก กวางตุ้ง

พบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต สังเกตุที่ใบเลี้ยงจะเป็นแผลสีน้ำตาล เป็นสาเหตุให้ลำต้นเน่า ผัก กวางตุ้ง แคระแกร็น หากอาการรุนแรง ใบจะเป็นสีน้ำตาล และค่อยๆแห้งตาย

โรคใบไหม้ ใน ผัก กวางตุ้ง

อาการที่แสดงบนใบเลี้ยง ขอบใบจะไหม้ แห้ง เส้นใบเน่าเป็นสีดำ และต่อมาใบจะแห้งเป็นสีน้ำตาล และหลุดออกจากต้น ทำให้ ผัก กวางตุ้ง แคระ แกร็น หรือหยุดชะงักการเจริญเติบโต

การป้องกันและยับยั้ง โรค ผัก กวางตุ้ง ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต ผัก กวางตุ้ง ฉีดพ่นทางใบ

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:5499
ทุเรียนใบไหม้ ใบจุด แอนแทรคโนส โคนเน่า ราแป้ง ราสีชมพู โรคต่างๆจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส
ทุเรียนใบไหม้ ใบจุด แอนแทรคโนส โคนเน่า ราแป้ง ราสีชมพู โรคต่างๆจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส
ทุเรียนใบไหม้ ใบจุด แอนแทรคโนส โคนเน่า ราแป้ง ราสีชมพู โรคต่างๆจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส

โรคใบจุด (Leaf Spot)

.
เกิดจากเชื้อราหลายชนิด โดย หากเป็นเชื้อ Colletotrichum sp. ซึ่งทำให้เกิดโรคแอนแทรคโนส ใบอ่อนจะมีสีซีดคล้ายโดนน้ำร้อนลวก ส่วนขยายพันธุ์เป็นจุดดำ ๆ ส่วนใบแก่เป็นจุดกลมขอบแผลสีเข้ม และมีการขยายขนาด ส่วนเชื้อรา Phomopsis sp. ทำให้เกิดเนื้อเยื่อตายบริเวณใบแก่ มีขนาดจำกัด

.

เชื้อรา Phyllosticta sp. ทำให้เนื้อเยื่อตายบริเวณปลายใบ และมักมีเชื้อรา Pestalotiopsis sp. ปะปนเล็กน้อย

.

เชื้อรา Pseudocercospora sp ทำให้เนื้อตายเป็นจุดเหลี่ยม ๆ เล็ก ๆ กระจัดกระจายบนใบ และใต้ใบมีกลุ่มสปอร์สีดำ ทำให้ใบร่วงรุนแรงได้

.
โรคราสีชมพู (Pink disease)

เกิดจากเชื้อรา Erythricium Salmonicolor กิ่งมีลักษณะคราบสีขาวแกมชมพูแห้งแข็งบนผิวเปลือก เมื่อใช้มีดถากเปลือกบริเวณที่เป็น จะพบเนื้อเยื่อเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม

.

โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)

เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum Zibethinum ทำลายช่อดอกในระยะช่อบาน ทำให้ดอกมีสีคล้ำ เน่าดำก่อนบาน มีราสีเทาดำปกคลุมเกสร กลีบดอก ทำให้ดอกแห้ง ร่วงหล่น

.

โรคราแป้ง (Powdery mildew)

เกิดจากเชื้อรา Oidium sp. มักแพร่ระบาดในช่วงที่อากาศแห้งและเย็น เข้าทำลายในระยะดอกบานและติดผลอ่อน เชื้อรามีสีขาวคล้ายฝุ่นแป้ง ปกคลุมกลีบดอกและผลอ่อน ทำให้แลดูขาวโพลน ต่อมาดอกและผลอ่อนจะร่วง ส่วนผลที่พัฒนาโตขึ้น จะมีเชื้อราสีขาวปกคลุมบาง ๆ อาจทำให้ผลชะงักการเจริญเติบโต ทำให้ผลผิวหยาบไม่สวย รสชาติอาจเปลี่ยนแปลง และมีเปลือกหนา

.

โรคโคนเน่า รากเน่า ผลเน่า และแคงเคอร์ที่กิ่ง

เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora โดยเชื้อราจะเข้าทำลายระบบราก และโคนต้น ปรากฎจุดฉ่ำน้ำ และมักมีน้ำเยิ้มออกมา เมื่อใช้มีดถากดูจะพบว่ามีน้ำไหลทะลักออกมา เนื้อเยื่อเปลือกและเนื้อไม้เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม หากอาการเน่าลุกลาม จะทำให้ใบร่วง โดยเริ่มจากปลายกิ่ง ในที่อากาศชื้น เชื้อราสามารถแพร่ทางลม เข้าทำลายกิ่งและผลได้ โดยมักพบเชื้อรา Lasiodiplodia sp. ร่วมด้วยเสมอ

.

โรคใบติด ใบไหม้ ใบร่วง (Leaf blight, leaf fall)

เกิดจากเชื้อรา Rhizoctonia solani ลักษณะอาการใบจะไหม้ แห้ง และติดกันเป็นกระจุก และร่วงจำนวนมาก ใบติดกันด้วยเส้นใยของเชื้อรา ใบคล้ายถูกน้ำร้อนลวก สีซีด ขอบแผลสีเขียวเข้ม

.

โรคใบจุดสนิม จุดสาหร่าย

เกิดจากสาหร่าย Cephaleuros virescens Kunze พบ ในใบแก่ ลักษณะเป็นจุดฟูเสีเขียวแกมเหลือง ต่อมาเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแกมส้ม ซึ่งเป็นระยะที่สาหร่ายสร้างสปอร์ เพื่อใช้ในการแพร่ระบาด

.

ป้องกันและกำจัด โรคต่างๆของทุเรีน ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่นด้วย ไอเอส

.

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สำหรับป้องกันและยับยั้งเชื้อรา สกัดจากพืช ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ปลอดสารพิษ ไม่มีสารตกค้าง ใช้ฉีดพ่นเพื่อป้องกันและยับยั้งโรคพืชทุกชนิด ที่มีสาเหตุมากจากเชื้อรา

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/..

อ่าน:5436
แช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลังก่อนปลูกด้วย กู๊ดโซค น้ำยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง เร่งราก ป้องกันโรค สะสมอาหารในท่อนพันธุ์
แช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลังก่อนปลูกด้วย กู๊ดโซค น้ำยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง เร่งราก ป้องกันโรค สะสมอาหารในท่อนพันธุ์
แช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลังก่อนปลูกด้วย กู๊ดโซค น้ำยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง เร่งราก ป้องกันโรค สะสมอาหารในท่อนพันธุ์
กู๊ดโซค น้ำยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง 430 บาท บรรจุ 500ซีซี ผสมน้ำได้ 200 ลิตร ใช้จุ่มท่อนพันธุ์ก่อนปลูกได้ประมาณ 5 ไร่

FK-1 ใช้เร่งฟื้นตัว เร่งโตแตกยอดแตกใบใหม่ ราคา 890 บาท บรรจุ 2 กิโลกรัม_ FK-1 เป็นธาตุหลัก N-P-K บวกธาตุรองธาตุเสริม สารจับใบ (ปุ๋ยเคมี ธาตุ N-P-K ไม่ได้อันตรายเหมือนสารเคมีหรือยาเคมี แต่ สำหรับคนที่กังวล ไม่ต้องซื้อตัวนี้ค่ะ ตัดออกไปเลย)

FK-3C ฉีดพ่นมันสำปะหลังอายุ 3 เดือนขึ้นไป เน้นธาตุโพแตสเซียม ส่งเสริมกระบวนการเคลื่อนย้ายแป้งและน้ำตาล ทำให้กระบวนการสะสมอาหารลงหัวได้รวดเร็ว เร่งหัวให้โต ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มเปอร์เซนต์แป้ง ราคา 950 บาท บรรจุ 2 กิโลกรัม ฉีดพ่นในพื้นที่ประมาณ 5 ไร่

การสั่งซื้อ
ทักแชทได้เลยค่ะ..
หรือ ไลน์ไอดี PrimPB
หรือ โทร 090-592-8614
โรคใบด่างมะละกอ เชื้อไวรัสในมะละกอ ต้องกำจัดเพลี้ยอ่อน ซึ่งเป็นพาหะนำโรค และมีดตอนกิ่งที่ไม่สะอาดก็มีส่วน
โรคใบด่างมะละกอ เชื้อไวรัสในมะละกอ ต้องกำจัดเพลี้ยอ่อน ซึ่งเป็นพาหะนำโรค และมีดตอนกิ่งที่ไม่สะอาดก็มีส่วน
แนะนำแก้โรคใบด่าง จากเชื้อไวรัส ในมะละกอ

คุณนวลจันทร์ ฉัตรเท เกษตรอำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด ได้มอบหมายให้ นางสาวธารทิพย์ สุธรรม นักวิชาการส่งเสริมการเกษตร และเจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด เข้าสำรวจแปลงปลูกมะละกอของเกษตรกรในพื้นที่ที่รับผิดชอบ

หลังจากที่มีเกษตรกร หมู่ 3 ตำบลแหลมงอบ อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราด มาขอคำแนะนำและปรึกษาเกี่ยวกับโรคที่เกิดกับมะละกอที่ปลูก ซึ่งจากการสำรวจแปลงปลูกพบว่ามะละกอของเกษตรกรเป็นโรคใบด่างจากเชื้อไวรัส

สาเหตุหลัก เกิดจากการใช้มีดตอนกิ่งมะละกอ โดยไม่ทำความสะอาด

และจากการสอบถามเกษตรกรพบว่า สาเหตุหลักมาจากการใช้มีดในการตอนกิ่งมะละกอเล่มเดียวกันโดยไม่ได้ทำความสะอาด เมื่อเปลี่ยนต้นในการตอน และอาจจะมีมะละกอบางต้นที่เป็นโรคนี้อยู่ก่อนแล้ว จึงเป็นสาเหตุให้เชื้อไวรัสติดไปยังกิ่งตอนอื่น ๆ เมื่อนำมาปลูกจึงเกิดการระบาดในแปลงปลูก เพราะจากการสำรวจพบว่าที่เป็นโรคจะเกิดเฉพาะต้นที่ตอนกิ่งมาเท่านั้น

ทั้งนี้เจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอแหลมงอบ ได้ให้คำแนะนำแก่เกษตรกรในการทำลายมะละกอต้นที่เกิดโรค และการดูแลรักษาต้นมะละกอ ตลอดถึงการป้องกันกำจัดโรคและแมลงในพริก มะเขือและพืชผักอื่น ๆ ที่เกษตรกรนำมาปลูกเสริมในแปลงปลูกมะละกอให้แก่เกษตรกร เพื่อให้เกษตรกรนำความรู้และวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องตามหลักวิชาการไปปฏิบัติใช้อย่างถูกต้องในการดูแลแปลงปลูกพืชของตนเองเพื่อลดและป้องกันการระบาดเพิ่มอีกด้วย

สำหรับโรคใบด่างจากเชื้อไวรัสนั้น หน่วยงานที่เกี่ยวข้องระบุว่า เกิดจากเชื้อไวรัสเข้าทำลาย ซึ่งเชื้อจะเข้าทำลายได้ทุกระยะของการเจริญเติบโตของมะละกอ จะทำให้ต้นแคระแกร็น ใบด่างเหลือง บิดเบี้ยวเสียรูป ใบจะหงิกงอ เรียวเล็กเหมือนหางหนู ถ้าเป็นรุนแรงใบจะเหลือแค่เส้นใบดูเหมือนเส้นด้าย และต้นกล้าอาจตายได้หรือไม่เจริญเติบโต ในต้นที่โตแล้ว ใบจะมีอาการด่าง บิดเบี้ยว หงิกงอ ยอดและใบมีสีเหลืองกว่าต้นที่ไม่เป็นโรค และจะสังเกตเห็นลักษณะจุดหรือทางยาวสีเขียวเข้ม ดูช้ำตามก้านใบ ลำต้น การติดผลจะไม่ดีหรือไม่ติดเลย 

ในต้นที่ยังติดผล ผลก็อาจบิดเบี้ยว มีจุดลักษณะเป็นวงแหวน ทั่วทั้งผล เนื้อบริเวณที่เป็นจุดวงแหวนมักจะเป็นไตแข็ง มีรสขม ถ้าเป็นรุนแรงแผลเหล่านี้จะมีลักษณะคล้ายสะเก็ด หรือหูดนูนขึ้นมา บนผิวของผลจะขรุขระ ต้นที่เป็นโรคในระยะออกดอก จะทำให้ติดผลไม่ดี และผลที่ได้จะมีจุดวงแหวนเห็นได้ชัด นอกจากนี้ดอกในรุ่นต่อ ๆ ไปก็จะร่วง ไม่ติดผลอีกด้วย 

เพลี้ยอ่อน เป็นพาหะ นำไวรัสมะละกอมาติด และระบาดในสวนมะละกอ

และโรคนี้สามารถแพร่ระบาดไปได้โดยมีเพลี้ยอ่อนหลายชนิดเป็นพาหะ เช่น เพลี้ยอ่อนถั่ว เพลี้ยอ่อนยาสูบ โดยเฉพาะเพลี้ยอ่อนฝ้ายที่จะเป็นพาหะสำคัญที่แพร่ระบาดของโรคนี้ โดยเพลี้ยอ่อนจะดูดน้ำเลี้ยงจากต้นเป็นโรค เชื้อไวรัสจะติดอยู่กับส่วนปากของแมลง และเมื่อบินหรือย้ายไปดูดน้ำเลี้ยงจากต้นมะละกอที่ไม่เป็นโรค ก็จะถ่ายเชื้อไวรัสเข้าไป

ซึ่งการถ่าย ทอดโรคนี้จะใช้เวลาสั้นมาก โดยดูดจากต้นเป็นโรคประมาณ 10-30 วินาที ก็สามารถถ่ายโรคไปยังต้นอื่นได้ ภายหลังมะละกอได้รับเชื้อไวรัสแล้วประมาณ 15-30 วินาที ก็จะแสดงอาการของโรคให้เห็น และที่ผ่านมาค่อนข้างยากที่จะหาวิธีป้องกันหรือกำจัดโรคนี้โดยตรง แต่เกษตรกรสามารถป้องกันได้ด้วยการทำลายต้นที่ติดเชื้อโรคที่แสดงอาการอย่างแน่ชัด โดยการเผาหรือฝังในดินให้ลึก และปลูกมะละกอพันธุ์ที่ทนทานต่อโรคนี้ เช่น ปากช่อง 1 แขกดำ ท่าพระ โดยบริเวณปลูกต้องกำจัดวัชพืชให้หมด เพื่อป้องกันไม่ให้เป็นที่อยู่อาศัยของเพลี้ยอ่อน

การปลูกมะละกอให้ห่างจากพืชตระกูลแตง หรือปลูกเหนือลม ช่วยป้องกันการระบาดของไวรัสมะละกอได้ดี

และควรปลูกห่างจากพืชตระกูลแตงและนำพืชตระกูลแตงมาปลูกบริเวณด้านเหนือลม เพื่อเป็นกับดักตามธรรมชาติให้เพลี้ยอ่อนเข้าดูดกิน และสูญเสียการถ่ายเชื้อไวรัสเข้าสู่มะละกอ ก็จะช่วยได้ในระดับหนึ่ง

แหล่งข้อมูลอ้างอิง
dailynews.co.th/ agriculture/555912

*สินค้าจาก ฟาร์มเกษตร สำหรับการป้องกัน และรักษาโรคไวรัสมะละกอ เป็นการป้องกันกำจัดพาหะนำโรค คือเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วยมาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด หากต้องการบำรุง ให้มะละกอฟื้นตัวเร็ว เจริญเติบโตดี แข็งแรง และต้านทานต่อโรคมากขึ้น สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจัดใบนั่นเอง)
อ่าน:5265
มะยงชิดใบไหม้ โรครามะปรางหวาน ใบจุดสีน้ำตาล ใบเหี่ยว แก้ด้วย ไอเอส
มะยงชิดใบไหม้ โรครามะปรางหวาน ใบจุดสีน้ำตาล ใบเหี่ยว แก้ด้วย ไอเอส
มะยงชิดใบไหม้ โรครามะปรางหวาน ใบจุดสีน้ำตาล ใบเหี่ยว แก้ด้วย ไอเอส
โรคต่างๆของ มะยงชิด มะปรางหวาน ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคใบใบ้ มะยงชิดใบเหลือง ใบจุดสีน้ำตาล ขั้วผลเน่า ผลหลุดร่วง ใบแห้ง ยอดไหม้ กิ่งเปราะ หักง่าย ใช้ ไอเอส ฉีดพ่นเพื่อป้องกันรักษาโรคต่างๆเหล่านี้ ซึ่งมีสาเหตุจากเชื้อรา

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/..

อ่าน:5255
แก้ โรคแอนแทรคโนส ในมะม่วง ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน ยับยั้งเชื้อรา
แก้ โรคแอนแทรคโนส ในมะม่วง ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน ยับยั้งเชื้อรา
แก้ โรคแอนแทรคโนส ในมะม่วง ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน ยับยั้งเชื้อรา
โรคแอนแทรคโนส มีสาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides เชื้อราก่อโรคแอนแทรคโนส สามารถสร้างส่วนขยายพันธุ์ขึ้นใหม่ และเข้าทำลายพืชได้ทุกระยะการเจริญของมะม่วงตลอดฤดูการปลูก อาการของโรคมี อาการใบจุด ใบและกิ่งแห้งตาย เชื้อจะอยู่ในระยะพักตัว จนกระทั่งมะม่วงแก่และถึงระยะเก็บเกี่ยว ต่อมาเมื่อผลใกล้สุก เชื้อจะเริ่มพัฒนาใหม่และทำลายผลมะม่วงก่อให้เกิดอาการผลเน่าเสีย

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สำหรับป้องกันและยับยั้งเชื้อรา สกัดจากพืช ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ปลอดสารพิษ ไม่มีสารตกค้าง ใช้ฉีดพ่นเพื่อป้องกันและยับยั้งโรคพืชทุกชนิด ที่มีสาเหตุมากจากเชื้อรา

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/products/fk-3-i388594842-s754764572.html

อ่าน:5006
3582 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 358 หน้า, หน้าที่ 359 มี 2 รายการ
|-Page 3 of 359-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 | 358 | 359 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
กิ่งพันธ์มะนาว พิจิตร1 และมะนาวไร้เมล็ด
Update: 2553/08/19 08:24:19 - Views: 3504
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น แตงกวา ผลใหญ่ ดกเต็มต้น น้ำหนักดี ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/02/28 14:15:13 - Views: 3550
คำนิยม - ขอบคุณลูกค้าปลูกแตงกวาปลอดสารเคมี ใช้สินค้าหลายอย่างจากเราเลยค่ะ
Update: 2562/10/25 21:28:34 - Views: 3437
กำจัดเชื้อรา กาแฟ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/22 10:10:14 - Views: 3461
โรคทุเรียนต่างๆ ทุเรียนใบไหม้ ราสีชมพูในทุเรียน โรคทุเรียนก้านธูป เชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส
Update: 2566/10/28 12:25:31 - Views: 11271
ปุ๋ยสำหรับอ้อย ทดแทนปุ๋ยเม็ด คุณภาพสูง ยารักษาโรคอ้อย อ้อยใบไหม้ หนอนกออ้อย แก้เพลี้ย เลือกซื้อกับ ฟาร์มเกษตร
Update: 2565/05/18 19:54:11 - Views: 3524
คาดการณ์ราคารับซื้อมะพร้าวในประเทศไทย ปี 2568
Update: 2567/11/28 06:42:10 - Views: 246
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น พริก เม็ดใหญ่ ดกเต็มต้น น้ำหนักดี ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/02/28 14:19:16 - Views: 3506
ปาล์มน้ำมัน ระวังการระบาดของ โรคใบไหม้ปาล์มน้ำมัน ป้องกัน กำจัด หมั่นสังเกตุใบอ่อน
Update: 2564/01/23 08:50:07 - Views: 3769
คู่มือการป้องกันกำจัดโรคทุเรียนจากเชื้อราต่างๆ
Update: 2566/04/29 14:37:12 - Views: 3846
กำจัดเพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด ใน พุทรา และพืช ทุกชนิด เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/04/06 11:44:12 - Views: 3483
การกำจัดข้าววัชพืช (ข้าวดีด ข้าวเด้ง อีดีด อีเด้ง)
Update: 2564/08/26 00:29:19 - Views: 3875
วิธีปลูกทุเรียนอย่างละเอียด ตั้งแต่การคัดเลือกพันธุ์ ไปจนถึงการเก็บเกี่ยว
Update: 2564/05/31 08:12:06 - Views: 6683
โรคเชื้อราในต้นดอกมะลิ: แนวทางในการป้องกันและรักษา
Update: 2566/11/11 09:28:09 - Views: 3675
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยไฟ ในมะเขือ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/01 14:33:16 - Views: 3506
อยากเป็นเจ้าของแบรนด์ ยาดมสมุนไพร ไม่ยากอย่างที่คิด
Update: 2565/09/10 21:19:28 - Views: 3659
แก้ โรคแอนแทรคโนส ในมะม่วง ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน ยับยั้งเชื้อรา
Update: 2564/05/05 12:10:03 - Views: 5006
ผักกาดขาว รากเน่า!! ใบไหม้ ใบจุด ใบเหลือง ราน้ำค้าง ราเม็ด โรคราต่างๆ ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วยปุ๋ย FK-T
Update: 2567/03/21 11:14:20 - Views: 3682
การปลูกเงาะ เพิ่มผลผลิตเงาะ สูงสุด ด้วยปุ๋ยตรา FK
Update: 2566/01/02 14:51:31 - Views: 3493
แก้ปัญหา มะพร้าวใบเหลือง ผลเล็ก ไม่ติดผล ด้วยปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/03/15 13:35:04 - Views: 4211
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022