[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3582 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 358 หน้า, หน้าที่ 359 มี 2 รายการ

 
การควบคุมเพลี้ยในต้นแตงโม: วิธีการป้องกันและจัดการเพลี้ยเพื่อสุขภาพแตงโมที่แข็งแรง
การควบคุมเพลี้ยในต้นแตงโม: วิธีการป้องกันและจัดการเพลี้ยเพื่อสุขภาพแตงโมที่แข็งแรง
การจัดการกับเพลี้ยในต้นแตงโมเป็นเรื่องสำคัญเพื่อป้องกันการเสื่อมโทรมของพืชและส่งผลให้ผลผลิตลดลง นอกจากนี้เพลี้ยยังสามารถเป็นพาหะเชื้อโรคได้ด้วย
ดังนั้นการควบคุมเพลี้ยจึงเป็นเรื่องสำคัญในการดูแลแปลงปลูกแตงโมของคุณ นี่คือบางวิธีที่คุณสามารถลองใช้:

การใช้สารเคมี:

ใช้สารเคมีที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมเพลี้ย เช่น อิมิดาโคลพริด ไทอะมีทอกแซม สไปแรม คลอไรด์ไพริด หรือฟิโพรนิล.
ควรปฏิบัติตามคำแนะนำของผู้ผลิตสารเคมีและการใช้วิธีนี้อย่างระมัดระวัง เพื่อไม่ให้สารเคมีทำลายศัตรูธรรมชาติและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม.

การใช้ศัตรูธรรมชาติ:

ใช้ศัตรูธรรมชาติเช่น แตนิเด้วา พาราไซตอยด์ หรือลูเฟอร์.
การใช้ศัตรูธรรมชาติมีข้อดีต่อสิ่งแวดล้อมและไม่ก่อให้เกิดความต้านทานต่อสารเคมีในธรรมชาติ.

การใช้น้ำล้าง:

ใช้น้ำล้างเพื่อล้างเพลี้ยจากใบและต้นแตงโม.
น้ำล้างจะช่วยลดจำนวนเพลี้ยและล้างความเสียหายที่เกิดจากน้ำหล่อเล็กน้อย.

การใช้สัตว์เลี้ยงเพลี้ย:

การใช้สัตว์เลี้ยงเพลี้ย เช่น แตนเบีย ปีกแข็ง หรือไข่แมลงต่าง ๆ เป็นวิธีทางธรรมชาติในการควบคุมเพลี้ย.

การควบคุมเพลี้ยในต้นแตงโมต้องเป็นกระบวนการที่ร่วมมือกันระหว่างการใช้วิธีทางชีวภาพ การใช้สารเคมีอย่างมีความระมัดระวัง และการดูแลรักษาแปลงปลูกให้เหมาะสมที่สุด.

.
มาคา เป็นสารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัด เพลี้ยในต้นแตงโม
มาคา สามารถป้องกันกำจัดเพลี้ยต่างๆ ในพืชทุกชนิดได้เช่นกัน
.
สั่งซื้อ มาคา ได้ที่ ลาซาด้า คลิก http://ไปที่..link.. .
หรือ โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset
.
อ่าน:3537
การจัดการและป้องกันหนอนในต้นฟักทอง: วิธีการแก้ไขปัญหาในการปลูกฟักทอง
การจัดการและป้องกันหนอนในต้นฟักทอง: วิธีการแก้ไขปัญหาในการปลูกฟักทอง
หากคุณพบหนอนในต้นฟักทอง มีโอกาสที่มันอาจเป็นหนอนฟักทอง (Squash Vine Borer) ซึ่งเป็นปัญหาที่พบบ่อยในพื้นที่ที่ปลูกฟักทอง และพืชญี่ปุ่นที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ หนอนเหล่านี้สามารถทำลายต้นและลำต้นของพืชได้ โดยส่วนมากพบมากในช่วงกลางถึงปลายฤดูร้อน.

นอกจากหนอนฟักทองแล้ว ยังมีหลายชนิดอื่น ๆ ของหนอนที่สามารถเจอในต้นฟักทองได้ ได้แก่ หนอนหัวดำ หนอนแรด หนอนกระทิง ฯลฯ
การจัดการกับปัญหานี้ทำได้ด้วยวิธีต่าง ๆ ตามนี้:

ตัดแต่งใบที่เสียหายหรือถูกตำแหน่งที่มีการทำลายออกเพื่อลดการแพร่กระจายของหนอน.
ทำความสะอาดต้นฟักทองเพื่อลดโอกาสที่หนอนจะติดตัว.

การใช้สารเคมี:

ใช้สารเคมีที่เป็นพิษต่อหนอนฟักทอง โดยใช้สารเคมีที่ผู้เชี่ยวชาญแนะนำ.
ควรใช้สารเคมีตามคำแนะนำและอ่านฉลากให้ดีก่อนการใช้.

การใช้วิธีป้องกัน:

การใช้ทางป้องกันคือการติดตั้งผ้าคลุมรอบต้นฟักทองเพื่อป้องกันการวางไข่ของหนอน.
การใช้กลุ่มของสารเคมีที่มีต่อผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย.

สำหรับการจัดการทางวิทยาศาสตร์และป้องกันโดยทั่วไป ควรปฏิบัติตามคำแนะนำจากสำนักงานเกษตรและทรัพยากรธรรมชาติท้องถิ่นหรือรับคำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญด้านการปลูกสวน.

.
ไอกี้-บีที เป็นสารชีวินทรีย์ ป้องกัน กำจัด หนอน ในต้นฟักทอง
ไอกี้-บีที สามารถป้องกันกำจัดหนอนต่างๆ ในพืชทุกชนิดได้เช่นกัน
.
สั่งซื้อ ไอกี้-บีที ได้ที่ ลาซาด้า คลิก http://ไปที่..link..
หรือ โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset
.
อ่าน:3537
กำจัดหนอนกอในนาข้าว ป้องกันเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล โรคข้าวใบไหม้ โรคาต่างๆจากเชื้อรา..
กำจัดหนอนกอในนาข้าว ป้องกันเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล โรคข้าวใบไหม้ โรคาต่างๆจากเชื้อรา..
🔥หนอนกอในนาข้าว หนอนต่างๆในนาข้าว ใช้ ไอกี้
โรคข้าวจากเชื้อรา ข้าวหักคอรวง ราสนิม ข้าวใบลาย ใบจุดสีน้ำตาล ใช้ไอเอส
เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยต่างๆในนาข้าว ใช้ มาคา
.
หนอนมาใช้ ไอกี้_ เจ้าเพลี้ยตัวดีใช้ มาคา_ หากเจอโรคใบไหม้โรคเชื้อราใช้ ไอเอส_ ใจร้อนอยากให้พืชฟื้นตัวเร็วใช้ FK-1 เร่งฟื้นตัว เร่งเขียว เร่งโตนะคะ
..สนใจทักแชทเลย..
.
ทั้งหมดนี้ ใช้ได้กับทุกพืชค่ะ
.
ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค
.
ไอกี้ กำจัดหนอน 490 บาท บรรจุ 500กรัม_ ไอกี้ เป็นสารชีวินทรีย์ แบคทีเรียแกรมบวก ใช้กำจัดหนอนทุกชนิดโดยเฉพาะ
.
มาคา กำจัดเพลี้ย 470 บาท บรรจุ 1 ลิตร_ มาคา เป็นสารอินทรีย์สกัดจากพืช
.
ไอเอส กำจัดโรคใบไหม้ โรคเชื้อรา 450 บาท บรรจุ 1 ลิตร_ ไอเอส เป็นสารอินทรีย์ ทำงานแบบ อีออนคอนโทรลในการกำจัดโรคราต่างๆ
.
FK-1 ใช้เร่งฟื้นตัว เร่งโตแตกยอดแตกใบใหม่ ราคา 890 บาท บรรจุ 2 กิโลกรัม_ FK-1 เป็นธาตุหลัก N-P-K บวกธาตุรองธาตุเสริม สารจับใบ (ปุ๋ยเคมี ธาตุ N-P-K ไม่ได้อันตรายเหมือนสารเคมีหรือยาเคมี แต่ สำหรับคนที่กังวล ไม่ต้องซื้อตัวนี้ค่ะ ตัดออกไปเลย)
.
การสั่งซื้อ
ทักแชทได้เลยค่ะ..
หรือ ไลน์ไอดี PrimPB
หรือ โทร 090-592-8614
อ่าน:3537
แก้โรคใบไหม้ในมันสำปะหลัง และโรครากเน่าโคนเน่า โรคมันสำปะหลังจากเชื้อราต่างๆ
อ่าน:3537
ทานตะวัน:ไม้ดอกยอดนิยมปลูกได้โดยไม่ต้องใช้สารเคมี
ทานตะวัน:ไม้ดอกยอดนิยมปลูกได้โดยไม่ต้องใช้สารเคมี
ทานตะวันเป็นไม้ล้มลุกอายุ 1 ปี ใบรูปกลมรี โคนใบโค้งเว้าเป็นรูปหัวใจปลายใบแหลมขอบใบหยักแบบฟันปลา หลังและใต้ท้องใบมีขนสาก ดอกออกเป็นช่อหรือกระจก กลีบดอกวงในมีสีเหลือง กลีบดอกวงนอกสีเหลืองอ่อนหรือเหลืองทอง ล้อมรอบเกสรขนาดใหญ่คล้ายจานเป็นไม้ดอกที่มีลักษณะพิเศษคือ ดอกจะหันหน้าเข้าหาดวงอาทิตย์เสมอ

พันธุ์ที่นิยมปลูกเป็นไม้ตัดดอก เช่น พันธุ์คัลเลอร์ แฟชั่น (Color Fashion) อิตาเลี่ยน ไวท์ (Italian White) ซึ่งเป็นชนิดที่แตกกิ่งก้านสาขา มีลำต้นสูงประมาณ 4-5 ฟุต ขนาดดอกประมาณ 3-4 นิ้ว

การขยายพันธุ์

ทานตะวันขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด ซึ่งนิยมเพาะเมล็ดในแปลงปลูกโดยตรง ทานตะวันสามารถปลูกได้ดีในดินทุกชนิด ทนต่อสภาพแวดล้อมได้ดี และชอบแสงแดดจัด

การเลือกสถานที่ปลูก

สถานที่ปลูกทานตะวันควรเป็นที่โล่งแจ้ง ได้รับแสงอย่างน้อยไม่ต่ำกว่าวันละ 8-10 ชั่วโมง หากปลูกในที่ที่ได้รับแสงน้อยจะให้ผลผลิตต่ำ ขนาดดอกเล็ก และมักพบว่าต้นอ่อนแอต่อโรคได้ง่าย

การเตรียมแปลงปลูก

ก่อนปลูกควรมีการเตรียมดินหรือปรับปรุงดินให้มีคุณภาพ มีธาตุอาหารเพียงพอต่อการเจริญเติบโต โดยขุดดินให้ลึกประมาณ 1 ฟุต แล้วตากดินเพื่อฆ่าเชื้อโรคและแมลงประมาณ 1 สัปดาห์ หลังจากนั้นให้ย่อยดินให้ละเอียดใส่อินทรีย์วัตถุที่สลายตัวแล้วอย่างเช่น เศษฟาง เปลือกถั่วลิสง ขี้เถ้าแกลบ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยชีวภาพหรือปุ๋ยพืชสด เพื่อให้ดินมีความร่วนซุย สามารถเก็บความชื้นและมีการระบายน้ำดี

ก่อนเพาะเมล็ดให้นำเมล็ดไปแช่ในน้ำสกัดชีวภาพก่อนนำไปปลูก จะช่วยให้เมล็ดงอกเร็วและมีความแข็งแรงขึ้น การเพาะเมล็ดทานตะวันให้หยอดเมล็ดหลุมละ 2 เมล็ด ฝังลึกประมาณ 2 นิ้ว ระยะห่างระหว่างหลุมประมาณ 25×30 ซม. ระยะห่างระหว่างแถวประมาณ 70-75 ซม. ก่อนปลูกควรรองก้นหลุมด้วยปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยชีวภาพที่ให้ธาตุอาหารหลักได้แก่ ไนโตรเจน โปแตสเซียมและฟอสฟอรัสครบถ้วน หลังจากกลบดินเรียบร้อยแล้วควรคลุมแปลงปลูกและรดน้ำให้ชุ่ม การคลุมแปลงจะช่วยรักษาความชื้นรักษาอุณหภูมิและช่วยป้องกันวัชพืช วัสดุที่ใช้คลุมแปลง เช่น ฟางข้าว เศษหญ้าแห้ง เปลือกถั่ว หรือวัสดุอื่นที่มี หลังจากเมล็ดงอกแล้วประมาณ 10 วัน ให้ถอนต้นกล้าออกเหลือเพียงหลุมละ 1 ต้น เพื่อให้ทานตะวันผลิตดอกที่มีคุณภาพต่อไป

การให้น้ำ

ระยะแรกควรให้น้ำวันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น เพื่อรักษาความชื้น ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญให้เมล็ดงอก และเจริญเติบโตได้สมบูรณ์ หลังจากต้นตั้งตัวได้แล้วหรือมีความแข็งแรงเพียงพออาจให้น้ำได้ 1-2 วันต่อครั้งก็ได้

การให้ปุ๋ย

หลังจากปลูกประมาณ 30 วัน ให้ใส่ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูง เพื่อเร่งการเจริญเติบโตของลำต้น กิ่ง และใบ ในระยะนี้หากทานตะวันขาดไนโตรเจนจะโตช้า ใบมีสีเหลือง กิ่งก้านยาว เล็ก และอ่อนแอ เมื่อทานตะวันเริ่มเกิดตาดอกจึงใส่ปุ๋ยที่มีฟอสฟอรัสสูงเพื่อเร่งดอก หลังใส่ปุ๋ยทุกครั้งควรรดน้ำตามทันที หรือฉีดพ่นด้วยน้ำหวานหมักจากผลไม้ ใช้ฉีดพ่นแบบฮอร์โมนพืช ให้ผลในการบำรุงดีมากโดยเฉพาะในช่วงที่พืชกำลังออกดอก

การตัดดอก

การตัดดอกควรทำเมื่อดอกยังไม่บานเต็มที่หรือบานประมาณ 70%หรือสังเกตว่าส่วนใจกลางของดอกยังมีสีเขียวอยู่ วิธีตัดให้ตัดชิดโคนกิ่งหรือให้มีความยาวของก้านดอกประมาณ 10-12 นิ้ว การตัดดอกควรตัดในช่วงเช้า

โรค-แมลงและการป้องกันกำจัด

โรคทานตะวัน

โรคทานตะวันที่สำคัญได้แก่ โรคโคนเน่าหรือต้นเน่า โรคใบจุด ซึ่งโรคเหล่านี้ผู้ปลูกจะทราบก็ต่อเมื่อเชื้อได้เข้าทำลายต้นแล้ว ดังนั้นวิธีการที่ดีที่สุดคือการป้องกันไม่ใช้เชื้อโรคเข้าทำลายต้นได้

1. โรคโคนเน่าหรือต้นเน่า

เกิดจากเชื้อราในดิน ระบาดมากในช่วงฤดูฝนหรือช่วงที่มีน้ำค้าง มีความชื้นสูง ๆ มักเกิดกับต้นแก่มากกว่าต้นอ่อน อาการเริ่มแรกจะพบใบมีสีเหลือง เหี่ยว และแห้งตายทั้งต้น เมื่อถอนต้นขึ้นมาดูจะพบว่าโคนต้นและรากเน่าเป็นสีน้ำตาลหรือดำ พบเส้นใยสีขาอยู่ตามโคนต้นและดิน

การป้องกัน

ไม่ปลูกทานตะวันให้ชิดกันเกินไป เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการบังแสงอันเป็นเหตุให้ต้นมีความชื้นง่ายต่อการเข้าทำลายของโรค เมื่อพบที่เป็นโรคให้ตัดทำลายต้นที่เป็นโรคทิ้งเสีย และอาจใช้วิธีปลูกพืชชนิดอื่นหมุนเวียนกับทานตะวันเพื่อตัดวงจรของโรคให้หายไป โดยให้ปรับปรุงดินด้วยปูนขาวและปุ๋ยคอก สำหรับต้นที่เป็นโรคให้ถอนและขุดดินในหลุมไปเผา จากนั้นใช้ปูนขาวผสมน้ำราดลงไปในดินอีกครั้ง

2. โรคใบจุด

เกิดจากเชื้อรา เกิดได้ตั้งแต่ระยะต้นอ่อนจนถึงตัดดอก อาการเริ่มแรกจะมีจุดสีน้ำตาลเข้มและมีสีเหลืองล้อมรอบ มักเกิดกับใบแก่มากกว่าใบอ่อน ระบาดมากในช่วงฤดูฝน ระหว่างเดือนกันยายน-ตุลาคม หรือช่วงที่มีน้ำค้างมาก หากเป็นมากจะทำให้ทานตะวันไม่ให้ผลผลิตเลย

การป้องกัน

ให้หลีกเลี่ยงการเก็บเมล็ดพันธุ์ที่เป็นโรคไปปลูก และตัดทำลายต้นที่เป็นโรคทิ้งเสีย

แมลงศัตรูทานตะวัน

แมลงศัตรูทานตะวันที่สำคัญ ได้แก่ หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนกระทู้ผัก หนอนม้วนใบส้ม

การป้องกันกำจัด

วิธีที่ดีที่สุดคือดูแลรักษาต้นทานตะวันให้เจริญเติบโตสมบูรณ์แข็งแรง หมั่นกำจัดวัชพืชทำความสะอาดต้นด้วยการ นำใบแก่ที่ร่วงหล่นออกไปให้พ้นบริเวณต้น กำจัดต้นที่เป็นโรคไปเผาทำลาย หรือฉีดพ่นน้ำหมักสะเดาหรือสมุนไพรอื่น ๆ ที่มีฤทธิ์ในการป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช เช่น ตะไคร้หอม ข่า ฟ้าทะลายโจร พริกขี้หนู หรือน้ำหมักชีวภาพ เพื่อขับไล่แมลงศัตรูพืชทุก ๆ สัปดาห์ ก่อนที่จะมีโรคแมลงรบกวน โดยควรทำในช่วงเช้าหรือหลังฝนตกหนัก และควรมีการปลูกพืชหมุนเวียนบำรุงดินชนิดอื่น เพื่อตัดวงจรของโรคแมลง และให้มีการใช้ประโยชน์จากดินอย่างเต็มที่ เพราะพืชแต่ละชนิดมีรากลึกและต้องการธาตุอาหารแตกต่างกัน


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
ข้อมูลรูปภาพจาก http://ไปที่..link..
อ่าน:3537
ลิ้นจี่ใบไหม้ ผลร่วง กำจัดโรคลิ้นจี่ จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ลิ้นจี่ใบไหม้ ผลร่วง กำจัดโรคลิ้นจี่ จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

โรครากเน่าลิ้นจี่ สาเหตุเกิดจากเชื้อรา โรคลิ้นจี่รากเน่า ลักษณะอาการ ต้นที่เป็นโรคจะแสดงใบเหี่ยว ใบไม่เป็นมันและสีจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลืองแล้วร่วงหล่น โรครากเน่าโคนเน่าลำต้นไม่เน่าเปื่อย เมื่อขุดดูระบบรากพบว่ารากแก้ว รากแขนง รากฝอย มีอาการเน่าเป็นสีนํ้าตาล ทําให้ต้นลิ้นจี่ทรุดโทรมและตายในที่สุด

โรคราสนิม สาเหตุเกิดจากเชื้อรา โรคราสนิมลิ้นจี่ ลักษณะอาการ ใบลิ้นจี่ที่แก่บริเวณใต้ทรงพุ่ม แสดงอาการเป็นจุดนูนขนาดเล็กมากสีเหลือง เกิดกระจัดกระจายทางด้านใต้ใบ และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลในระยะต่อมา

โรคลิ้นจี่ผลเน่าภายในหลังการเก็บเกี่ยว สาเหตุ เกิดจากเชื้อราหลายชนิด โรคผลเน่าภายในหลังการเก็บเกี่ยว ลักษณะอาการ ผลลิ้นจี่สุกภายหลังเก็บเกี่ยวที่เก็บรักษาไว้ในสภาพควบคุมความชื้น จะแสดงอาการแผลเน่า สีน้ำตาลเข้มจนถึงสีน้ำตาลดำ ลักษณะแผลค่อนข้างกลมมีขนาดไม่แน่นอน เชื้อราสร้างเส้นใยและมวลสปอร์บนผิวเปลือกที่เป็นโรค ภายใต้สภาพอุณหภูมิห้อง โรคผลเน่าจะ พัฒนาอย่างรวดเร็วภายในเวลา 2-3 วัน การเก็บรักษาผลลิ้นจี่ในสภาพ

โรคราน้ำค้างเทียมลิ้นจี่ หรือโรคผลไหม้สีน้ำตาล สาเหตุเกิดจากเชื้อรา โรคราน้ำค้างเทียม ลักษณะอาการ เกิดแผลสีน้ำตาลดำรูปร่างและขนาดไม่แน่นอน และขอบแผลมีลักษณะไม่ชัดเจนบนก้านผล ผล ใบ และรากลิ้นจี่ เชื้อราสร้างส่วนขยายพันธุ์สีขาวฟูบนแผลในช่วงระยะหลังของการ ติดเชื้อ เมื่อสภาพแวดล้อมชุ่มชื้นและมีฝนตก

โรคลิ้นจี่ราดำ สาเหตุเกิดจากเชื้อรา โรคราดำลิ้นจี่ ลักษณะอาการ ช่อผล ใบ กิ่ง และช่อดอก มีลักษณะเป็นคราบเขม่าหรือฝุ่นผงมีสีดำ ขึ้นเจริญปกคลุมทำให้ชะงักการเจริญเติบโตและผิวของผลไม่สะอาด เมื่อถูกน้ำฝนชะล้างคราบเขม่าสีดำของเชื้อราจะหลุดไปเอง

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย 'การควบคุมประจุไฟฟ้า' สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
มันสำปะหลังอินทรีย์ จ.อุบลราชธานี พืชยกระดับรายได้เกษตรกร มีตลาดรองรับ
นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 11 อุบลราชธานี (สศท.11) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่า จังหวัดอุบลราชธานีนับเป็นแหล่งผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์ที่สำคัญของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จากข้อมูลของสำนักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานี (ณ 31 มีนาคม 2564) พบว่า มีพื้นที่ปลูก 14_048 ไร่ พื้นที่เก็บเกี่ยว 13_978 ไร่ ผลผลิตรวม 48_224 ตัน ซึ่งกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดย กรมส่งเสริมการเกษตร และกรมวิชาการเกษตร ผสานความร่วมมือกับภาคเอกชนให้การสนับสนุนด้านองค์ความรู้ ปัจจัยการผลิต การใช้เทคโนโลยีนวัตกรรมการผลิต รวมถึงการตรวจรับรองมาตรฐานการผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์ นอกจากนี้ มีเกษตรกรบางพื้นที่ได้เข้าร่วมโครงการผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์ ของบริษัทที่เข้ามาส่งเสริมภายใต้การทำ Contract Farming เนื่องจากเกษตรกรมีแรงจูงใจในเรื่องราคาที่ให้ผลตอบแทนดีกว่ามันสำปะหลังทั่วไป และมีตลาดรองรับที่แน่นอน

จากการติดตามสถานการณ์การผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์ในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี พบว่า ปัจจุบันเกษตรกรหันมาปลูกมันสำปะหลังอินทร์กันมากขึ้น โดยบริษัทอุบลไบโอเอทานอล จำกัด (มหาชน) ได้ทำ Contract Farming กับเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี ยโสธร และอำนาจเจริญ ใน ?โครงการปลูกมันสำปะหลังอินทรีย์? ตั้งแต่ปี 2559 โดยรับซื้อผลผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์จากเกษตรกรทั้งหมด ปัจจุบันมีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 939 ราย พื้นที่ปลูก 5_656 ไร่ ดำเนินการมาแล้วทั้งหมด 5 รุ่น ซึ่งผลผลิตของเกษตรกรทั้ง 5 รุ่น ได้ออกสู่ตลาดช่วงเดือนมีนาคมที่ผ่านมาประมาณ 21_000 ตัน สำหรับปี 2564 กำลังอยู่ในช่วงรับสมัครรุ่นที่ 6 และกำหนดการฝึกอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร สำหรับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 4 จังหวัดอุบลราชธานี กรมวิชาการเกษตร ได้ร่วมมือกับบริษัทฯ ในการลงพื้นที่ ให้ความรู้กับเกษตรกรในเรื่องการผลิต การดูแล การป้องกันโรคแมลง การปรับปรุงบำรุงดิน และการใช้เทคโนโลยีนวัตกรรมการผลิต รวมถึงการตรวจรับรองมาตรฐานการผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์

สำหรับราคามันสำปะหลังอินทรีย์เชื้อแป้ง 25% ที่บริษัทฯ ประกันราคาอยู่ที่ 3.25 บาท/กก. ซึ่ง สศก. โดย สศท.11 อุบลราชธานี ได้ลงพื้นที่เพื่อศึกษาต้นทุน ผลตอบแทน และการตลาดของสินค้ามันสำปะหลังอินทรีย์อย่างต่อเนื่อง พบว่า ต้นทุนการผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเฉลี่ยอยู่ที่ 7_039 บาท/ไร่/รอบการผลิต เนื่องจากต้องจ้างแรงงานคนในการกำจัดวัชพืชจึงทำให้มีค่าแรงสูง ต้นทุนการผลิตจึงสูงกว่ามันสำปะหลังทั่วไป เกษตรกรนิยมปลูกมันสำปะหลังอินทรีย์ช่วงเดือนมีนาคม - พฤษภาคม ระยะเวลาเพาะปลูกจนถึงเก็บเกี่ยว 8 ? 10 เดือน เก็บเกี่ยวช่วงเดือนมีนาคมของปีถัดไป ผลผลิตเฉลี่ย 3_800 กก./ไร่ ผลตอบแทน 12_350 บาท/ไร่/รอบการผลิต ผลตอบแทนเฉลี่ยสุทธิ (กำไร) 5_311 บาท/ไร่/รอบการผลิต ซึ่งขณะนี้ อยู่ระหว่างการเก็บเกี่ยวผลผลิตและเกษตรบางส่วนเริ่มเตรียมดินสำหรับทำการเพาะปลูกรอบถัดไป

นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้สร้างความมั่นใจให้กับเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังอินทรีย์ โดยเน้นย้ำว่าปัจจุบันได้มีการแปรรูปมันสำปะหลังอินทรีย์เป็นแป้งออร์แกนิค ซึ่งกำลังเป็นที่ต้องการของตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศ เนื่องจากแป้งออร์แกนิคสามารถแปรรูปเป็นอาหารแห่งอนาคต (Future Food) และอาหารเพื่อสุขภาพได้หลากหลาย สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มในการเป็นส่วนผสมอาหารพรีเมี่ยม จึงนับว่าเป็นโอกาสดีของเกษตรกร ทั้งนี้ เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการปลูกมันสำปะหลังอินทรีย์ ได้ผ่านมาตรฐานอินทรีย์ไทย และมาตรฐานอินทรีย์สากล ได้แก่ 1) มาตรฐาน มกษ 9000-2552 หรือ Organic Thailand 2) มาตรฐานอินทรีย์ USDA-NOP (สหรัฐอเมริกา) 3) มาตรฐานอินทรีย์ EU (ยุโรป) 4) มาตรฐานอินทรีย์ JAS (ญี่ปุ่น) 5) มาตรฐานอินทรีย์ Korean (เกาหลี) และ 6) มาตรฐานอินทรีย์ China (จีน) จึงเป็นเครื่องการันตีและสร้างความมั่นใจกับผู้ค้าได้ว่า ผลผลิตมันสำปะหลังอินทรีย์ของเกษตรกรได้มาตรฐานและมีคุณภาพสูง

ผู้อำนวยการ สศท.11 กล่าวเพิ่มเติมว่า การปลูกมันสำปะหลังอินทรีย์ให้ได้คุณภาพนั้น เกษตรกรต้องใช้ความอดทน พิถีพิถันในทุกขั้นตอน และต้องจำกัดพื้นที่ปลูกเพื่อควบคุมมาตรฐาน รวมทั้งต้องมีการวางแผนล่วงหน้าช่วงเก็บเกี่ยว เพื่อให้ได้เปอร์เซ็นต์แป้งตามต้องการ ซึ่งต้องใช้ระยะเวลาในการปรับเปลี่ยน 2 ? 3 ปี จึงจะได้ผลผลิตที่เป็นอินทรีย์ผ่านมาตรฐาน ทั้งนี้ หากเกษตรกรหรือผู้ที่สนใจข้อมูลการผลิตและการตลาดมันสำปะหลังอินทรีย์ หรือสนใจเข้าร่วมโครงการฯ สามารถขอคำปรึกษาได้ที่คุณกัณฑ์พร กรรณสูต ตำแหน่งผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ฝ่ายประสานงานภาครัฐ บริษัท อุบลไบโอเอทานอล จำกัด (มหาชน) โทร 08 9962 6544

ข่าว : ส่วนประชาสัมพันธ์ / ข้อมูล : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 11 อุบลราชธานี

ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3537
แก้โรคราในกระเทียม กระเทียมเน่า ราดำกระเทียม เพลี้ยไฟในกระเทียม และหนอนต่างๆ เลือกยาให้ถูกโรคนะคะ
แก้โรคราในกระเทียม กระเทียมเน่า ราดำกระเทียม เพลี้ยไฟในกระเทียม และหนอนต่างๆ เลือกยาให้ถูกโรคนะคะ
🔥แก้โรคกระเทียม กำจัดแมลงศัตรูกระเทียม
โรคใบเน่า โรคใบจุดสีม่วง ราน้ำค้าง กระเทียมเน่าคอดิน ราดำ ใช้ ไอเอส
เพลี้ยกระเทียม เพลี้ยไฟ ใช้มาคา
หนอนกระทู้ หนอนต่างๆ ใช้ ไอกี้
.
หนอนมาใช้ ไอกี้_ เจ้าเพลี้ยตัวดีใช้ มาคา_ หากเจอโรคใบไหม้โรคเชื้อราใช้ ไอเอส_ ใจร้อนอยากให้พืชฟื้นตัวเร็วใช้ FK-1 เร่งฟื้นตัว เร่งเขียว เร่งโตนะคะ
..สนใจทักแชทเลย..
.
ทั้งหมดนี้ ใช้ได้กับทุกพืชค่ะ
.
ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค
.
ไอกี้ กำจัดหนอน 490 บาท บรรจุ 500กรัม_ ไอกี้ เป็นสารชีวินทรีย์ แบคทีเรียแกรมบวก ใช้กำจัดหนอนทุกชนิดโดยเฉพาะ
.
มาคา กำจัดเพลี้ย 470 บาท บรรจุ 1 ลิตร_ มาคา เป็นสารอินทรีย์สกัดจากพืช
.
ไอเอส กำจัดโรคใบไหม้ โรคเชื้อรา 450 บาท บรรจุ 1 ลิตร_ ไอเอส เป็นสารอินทรีย์ ทำงานแบบ อีออนคอนโทรลในการกำจัดโรคราต่างๆ
.
FK-1 ใช้เร่งฟื้นตัว เร่งโตแตกยอดแตกใบใหม่ ราคา 890 บาท บรรจุ 2 กิโลกรัม_ FK-1 เป็นธาตุหลัก N-P-K บวกธาตุรองธาตุเสริม สารจับใบ (ปุ๋ยเคมี ธาตุ N-P-K ไม่ได้อันตรายเหมือนสารเคมีหรือยาเคมี แต่ สำหรับคนที่กังวล ไม่ต้องซื้อตัวนี้ค่ะ ตัดออกไปเลย)
.
การสั่งซื้อ
ทักแชทได้เลยค่ะ..
หรือ ไลน์ไอดี PrimPB
หรือ โทร 090-592-8614
อ่าน:3537
โรคปาล์ม : โรคที่เกิดกับปาล์มประดับ และปาล์มน้ำมั้น รวมถึงปาล์มสายพันธุ์ต่างๆ
โรคปาล์ม : โรคที่เกิดกับปาล์มประดับ และปาล์มน้ำมั้น รวมถึงปาล์มสายพันธุ์ต่างๆ
โรคใบไหม้ ปาล์มใบไหม้
โรคปาล์ม_ โรคใบใหม่_ โรคปาล์มน้ำมันลักษณะอาการ: โรคใบใหม้

โรคใบไหม้ (Curvularia Seeding Blight) เป็นโรคสำคัญ พบมากในช่วงระยะต้นกล้าปาล์ม และพบในระยะที่ลงแปลงปลูกในช่วง 1 ปีแรก

อาการของโรค มักพบอาการบนใบอ่อน..

อ่านต่อ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3537
โรคมันสำปะหลัง: โรคแอนแทรคโนสมันสำปะหลัง มีสาเหตุจากเชื้อรา ป้องกันกำจัดได้ ด้วย ไอเอส
โรคมันสำปะหลัง: โรคแอนแทรคโนสมันสำปะหลัง มีสาเหตุจากเชื้อรา ป้องกันกำจัดได้ ด้วย ไอเอส
สาเหตุของ โรคแอนแทรคโนสมันสำปะหลัง
มีสาเหตุจากเชื้อรา สภาพที่มีความชื้นสูงติดต่อกันมากกว่า 2 สัปดาห์ ในพันธุ์ที่อ่อนแอ เช่นระยอง 72 ระยอง 11 ความเสียหาย 80 % ส่วนพันธุ์ที่ค่อนข้างทนทาน ยอดจะเหี่ยวแห้งตายลงมาทำให้เกิดมีการเจริญเติบโตของกิ่งหรือยอดใหม่ น้ำหนักผลผลิตจะลดลงหรือเก็บเกี่ยวล่าช้า ผลผลิตจะเสียหาย 30 – 40 %

ลักษณะอาการของ โรคแอนแทรคโนสมันสปะหลัง
ใบจะมีขอบใบไหม้สีน้ำตาลขยายตัวเข้าสู่..

อ่านต่อ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3537
3582 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 358 หน้า, หน้าที่ 359 มี 2 รายการ
|-Page 169 of 359-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 | 358 | 359 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ไทยเรา เป็นผู้ส่งออก องุ่น อับดับที่เท่าไรของโลก?
Update: 2567/11/04 14:00:06 - Views: 143
เพลี้ยไฟทุเรียน เพลี้ยจักจั่นทุเรียน เพลี้ยแป้งทุเรียน ป้องกันกำจัดด้วย อินเวท
Update: 2567/03/12 10:53:27 - Views: 3701
การกำจัดข้าววัชพืช (ข้าวดีด ข้าวเด้ง อีดีด อีเด้ง)
Update: 2564/08/26 00:29:19 - Views: 3940
หนอนเจาะฝักข้าวโพด หนอนเจาะสมอฝ้าย ใช้ ไอกี้-บีที
Update: 2564/08/14 22:01:12 - Views: 3548
เงาะ ผลใหญ่ ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์ 0-0-60 โพแทสเซี่ยม สูตรเร่งผล เพิ่มผลผลิต ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก และคุณภาพ
Update: 2567/04/24 15:53:00 - Views: 3657
ยากำจัดโรคราสนิม ใน ถั่วลิสง โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/14 10:58:31 - Views: 3482
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบไหม้ ในมะเขือ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/04 14:09:48 - Views: 3571
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าด้วงหนวดยาว ในไร่อ้อย และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/26 13:37:22 - Views: 3537
แก้ปัญหา มะพร้าวใบเหลือง ผลเล็ก ไม่ติดผล ด้วยปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/03/15 13:35:04 - Views: 4255
เพลี้ยไฟมะม่วงกับวิธีกำจัดและป้องกัน
Update: 2564/01/09 09:40:42 - Views: 3653
เพลี้ยเมล่อน แคนตาลูป เพลี้ยไฟแคนตาลูป เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/09/23 21:05:38 - Views: 3624
หนอนชบา หนอนกินดอกชบา ทำให้กลับเว้าแหว่ง ใช้ ไอกี้ บำรุงเร่งฟื้นตัว ด้วย FK-T
Update: 2565/07/23 08:30:14 - Views: 3567
สารใน มังคุด กระตุ้นการทำงานระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย
Update: 2555/08/06 21:00:30 - Views: 3523
ปุ๋ยสำหรับโกโก้ ปุ๋ยเพิ่มผลผลิตโกโก้ ยารักษาโรครา แก้โกโก้ใบไหม้ ปุ๋ยและยาฯ สำหรับ โกโก้
Update: 2564/10/26 02:05:50 - Views: 3518
วิเคราะห์ตลาดทุเรียน แนวโน้มปี 2568
Update: 2567/11/20 09:22:37 - Views: 438
สถานการณ์ทุเรียนไทยปี 2568: โอกาสทางการค้าและปัญหาภายในประเทศที่ต้องจับตา
Update: 2568/03/22 08:16:58 - Views: 206
ยาฆ่าเพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด ใน พริก เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/02/28 14:32:22 - Views: 3577
เพลี้ยไฟมังคุด เพลี้ยมังคุด เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/10/09 04:55:12 - Views: 3553
ยากำจัด เพลี้ย สำหรับ มะเขือเทศ เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ แมลงหวี่ขาว ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/09/19 23:12:20 - Views: 3577
ยากำจัดเพลี้ยมะระ เพลี้ยไฟมะระ เพลี้ยอ่อนมะระ เพลี้ยจักจั่นมะระ เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/10/06 02:57:02 - Views: 3542
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022