[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3517 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 7 รายการ

แก้โรคและแมลง กะหล่ำดาว เพลี้ยกะหล่ำดาว ยาแก้กะหล่ำดาวใบไหม้ และโรคราต่างๆ ปุ๋ยกะหล่ำดาว
แก้โรคและแมลง กะหล่ำดาว เพลี้ยกะหล่ำดาว ยาแก้กะหล่ำดาวใบไหม้ และโรคราต่างๆ ปุ๋ยกะหล่ำดาว
เพลี้ยอ่อน กะหล่ำดาว และเพลี้ยต่างๆ

อาการที่แสดงให้เห็น เมื่อเพลี้ยเข้าทำลาย คือใบม้วนหงิก ใบแห้งกร้าน ใบกรอบ มีสีจางเป็นจุดๆ กระจายตามจุดต่างๆของใบ เป็นอาการที่เพลี้ยอ่อนเข้าทำลาย โดยการดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ผิวใบ ทำให้ใบด่างเป็นจุดๆ ใบพืชหดตัว และเริ่มหงิกงอ

ป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ในกะหล่ำดาว ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนใยผัก ในกะหล่ำดาว และหนอนคืบกะหล่ำ

ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plutella xylostella เป็นหนอนผีเสื้อ ตามใต้ใบพืช ตัวหนอนส่วนท้ายมีปุ่ม แยกยื่นออกมาเป็นสองแฉก ตัวสีเขียวปนเทาอ่อน หรือสีเขียวปนเหลือง หนอนจะกัดกินผิวใบ ทางด้านล่าง จนใบเป็นรูพรุน และเข้ากัดกินยอดผัก

ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ในกะหล่ำดาว ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

โรคราน้ำค้าง ในกะหล่ำดาว

พบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต สังเกตุที่ใบเลี้ยงจะเป็นแผลสีน้ำตาล เป็นสาเหตุให้ลำต้นเน่า กะหล่ำดาวแคระแกร็น หากอาการรุนแรง ใบจะเป็นสีน้ำตาล และค่อยๆแห้งตาย

โรคใบไหม้ ในกะหล่ำดาว

อาการที่แสดงบนใบเลี้ยง ขอบใบจะไหม้ แห้ง เส้นใบเน่าเป็นสีดำ และต่อมาใบจะแห้งเป็นสีน้ำตาล และหลุดออกจากต้น ทำให้กะหล่ำดาวแคระ แกร็น หรือหยุดชะงักการเจริญเติบโต

การป้องกันและยับยั้ง โรคกะหล่ำดาว ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิตกะหล่ำดาว ฉีดพ่นทางใบ

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)


ภาพจาก
health.mthai.com/ howto/health-care/28739.html
อ่าน:3310
ต้นหม่อน ใบไหม้ รากเน่า กำจัดโรคต้นหม่อน จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ต้นหม่อน ใบไหม้ รากเน่า กำจัดโรคต้นหม่อน จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

โรครากเน่า(Root Rot) เป็นโรคร้ายแรงทำความเสียหายให้แก่ต้นหม่อน
อาการของโรค ใบเหี่ยวจากส่วนยอดลงมาคล้ายน้ำร้อนลวก รากเปื่อยเน่า สีน้ำตาลปนดำ

โรคราสนิม (Red Rust)
สาเหตุ เชื้อรา Aecidium mori
อาการของโรค เป็นแผลรูปวงกลมหรือรูปไข่บริเวณผิวด้านล่าง ของใบหม่อน ถ้าระบาดรุนแรงใบจะมีสีเหลืองและร่วงหล่น

โรคไหม้ (Bacterial Blight)
สาเหตุ เชื้อรา Psuedomonas mori
อาการของโรค ใบที่เป็นโรคจะเป็นจุดสีเทาเล็กๆ ฉ่ำน้ำ และขยายเป็นแผลสีเหลืองปนน้ำตาล ใบจะเหลืองแห้งร่วงหล่น ถ้าเกิดบนกิ่งเป็นรอยแผลสีน้ำตาลปนดำ เมื่อมีอาการรุนแรงกิ่งจะหัก เกิดรอยจุดเป็นขุยสีน้ำตาล

โรคราแป้ง( Powdery Mildew )
สาเหตุ เชื้อรา Phyllactinia corylea (Pers) Karst.
อาการของโรค เป็นผงสีขาวคล้ายแป้งอยู่ใต้ใบต่อมาจะกลายเป็นจุด สีเหลือง และน้ำตาล ใบร่วง

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย 'การควบคุมประจุไฟฟ้า' สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
เพลี้ยในมะม่วง เพลี้ยไฟมะม่วง เพลี้ยจักจั่นมะม่วง เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
เพลี้ยในมะม่วง เพลี้ยไฟมะม่วง เพลี้ยจักจั่นมะม่วง เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
เพลี้ยไฟมะม่วง จะดูดกินนำเลี้ยงบนผิวเนื้ออ่อนของพืช (tender tissue) ทำให้เกิดแผลเนื้อเยื่อฉีดขาด ใบม้วนงอ เสียรูปทรง ช่อดอกเหี่ยวแห้งและดอกร่วง ไม่ติดผล การทำลายบนผลอ่อน เพลี้ยไฟ จะดูดกินเนื้อของผล ทำให้ผิวเปลือกของผล มีรอยแผลเป็น ติดไปจนถึงผลแก่ รวมทั้งทำให้ผลมะม่วงเสียรูปทรง

เพลี้ยจักจั่นมะม่วง ระยะที่มะม่วงกำลังออกดอกโดยดูดน้ำเลี้ยงจากช่อดอกทำให้แห้งและดอกร่วง ติดผลน้อยหรือไม่ติดเลย ระหว่างที่เพลี้ยจักจั่นดูดกินน้ำเลี้ยงจะถ่ายมูลมีลักษณะเป็นน้ำหวานเหนียวๆ ติดตามใบ ช่อดอก ผล และรอบๆ ทรงพุ่ม ทำให้ใบมะม่วงเปียก ต่อมาจะเกิดราดำปกคลุม ถ้าเกิดมีราดำปกคลุมมาก มีผลต่อการสังเคราะห์แสงของมะม่วง

ป้องกัน กำจัด เพลี้ย แมลงจำพวกปากดู ศัตรูพืช เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ แมลงหวี่ขาว ฉีดพ่น มาคา

อัตราส่วนการใช้ 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทั่วบริเวณที่มีการระบาด

คุณสมบัติของมาคา

หลักการทำงานและวิธีการออกฤทธิ์
วิธีการออกฤทธิ์ในการ ฆ่าและกำจัด โดยสารสกัดที่อยู่ในรูปของ อัลคาลอยด์ จะมีผลโดยเป็นพิษต่อระบบประสาทของแมลง และยับยั้งกระบวนการหายใจโดยจะไปมีผลในระบบของการสร้างพลังงานภายในเซลล์ร่างกายทำให้ร่างกายของแมลงขาดพลังงานทำงานช้าลงและตายในที่สุด จึงมีผลทำให้แมลงตายในที่สุด

วิธีการออกฤทธิ์ในการ ไล่ สารสกัดที่ได้ใช้ทั้งกลิ่นและการสร้างความเจ็บปวด ทรมานและเกิดอาการแสบ ร้อน ให้กับแมลงที่สัมผัสหรือได้รับสารนี้เข้าไป โดยกลิ่นที่ฉุนจะทำให้เกิดความไม่คุ้นเคยสร้างความสับสนให้กับแมลงและสารนี้ยังไปกระตุ้นระบบประสาทรับความรู้สึกในส่วนของความเจ็บปวด ความแสบ ร้อน ของแมลงให้เกิดมากขึ้นจนเกินกว่าที่ร่างกายของแมลงจะทนรับได้ จึงมีผลทำให้แมลงมีสภาวะที่ผิดปกติ ต้องบินหนีไป

สารในรูปของน้ำมัน ( oil ) ทำหน้าที่อุดรูหายใจของแมลง ( Spiracles block ) ทำให้แมลงไม่สามารถรับอากาศภายนอกได้ ดังนั้นกระบวนการใช้ออกซิเจนหรือกระบวนการสร้างพลังงาน ( ATP ) เพื่อใช้ในร่างกายจึงถูกรบกวนมีผลทำให้ metabolism ภายในร่างกายของแมลงถูกยับยั้ง แมลงหมดแรง เฉื่อยชา และตายในที่สุด

การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
ปมรุมเร้าลำไย 4 แสนตัน ตะวันออก เพลี้ยแป้ง ขาดแรงงาน 2 หมื่นยังวุ่น
ปมรุมเร้าลำไย 4 แสนตัน ตะวันออก เพลี้ยแป้ง ขาดแรงงาน 2 หมื่นยังวุ่น
ช่วงเดือนสิงหาคม เป็นเดือนที่ผลผลิตลำไยของภาคตะวันออกกำลังทยอยออกมามากขึ้น ขณะที่ปัญหาต่าง ๆ ในการส่งออกไปตลาดจีนกำลังประดังกันเข้ามา

ตั้งแต่เรื่องที่สำนักงานศุลกากรแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (GACC) ตรวจพบเพลี้ยแป้งในลำไยจากไทย และได้สั่งระงับชั่วคราวโรงคัดบรรจุ 66 บริษัท แต่ล่าสุดทางกรมวิชาการเกษตร

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้เจรจากับรัฐบาลจีนอนุญาตให้โรงคัดบรรจุ 56 บริษัทที่ตรวจพบเพลี้ยแป้งน้อยครั้งที่สุดสามารถส่งออกลำไยได้ตั้งแต่วันที่ 17 สิงหาคม 2564 ส่วนรายที่พบมากครั้งให้มีการปรับปรุงให้เป็นไปตามขั้นตอนต่อไปนั้น

หวั่นกระทบลำไย 4 แสนตัน
ภาคตะวันออก จันทบุรี สระแก้ว ที่มีผลผลิตลำไยจำนวนมากเกือบ 400_000 ตัน และผลผลิตออกมากเดือนกันยายน-ธันวาคม และตลาดจีนเป็นตลาดใหญ่ถึง 80%

ซึ่งบริษัทส่งออกภาคตะวันออกที่ถูกแบน 29 บริษัท อยู่ในจันทบุรี 28 บริษัทและ จ.สระแก้ว 1 บริษัท ล้วนเป็นบริษัทใหญ่ที่รับซื้อ 80-85%

หากมีการหยุดรับซื้อหวั่นปัญหาด้านการตลาดมีผลกระทบต่อเกษตรกรที่ต้องรับภาระราคาตกต่ำ ในขณะที่ล้งยังประสบปัญหาขาดแคลนแรงงานถึง 20_000 คน เตรียมเสนอ ศบค.ชุดใหญ่ผ่อนปรน

นายชลธี นุ่มหนู ผู้อำนวยการสถานีวิจัยพัฒนาการเกษตร จ.จันทบุรี (สวพ.6) เปิดเผยว่า ได้ประชุมผู้ประกอบการโรงคัดบรรจุใน จ.จันทบุรี รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น สมาคมชาวสวนลำไย สมาคมการค้าและการท่องเที่ยวชายแดนไทย-กัมพูชา จันทบุรี

และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องมา 2 ครั้งแล้ว เพื่อหารือเร่งด่วนกรณีการแจ้งเตือนและชะลอการส่งออกชั่วคราวโรงคัดบรรจุลำไยที่มีเพลี้ยแป้งไม่ได้ห้ามโดยเด็ดขาด กรมวิชาการเกษตร

และ สวพ.6 ได้กำหนดมาตรการควบคุมเพลี้ยแป้งอย่างเข้มงวด ให้โรงคัดบรรจุใน จ.จันทบุรี 28 โรงที่ถูกระงับได้ปฏิบัติ ส่งให้จีนพิจารณาผ่อนปรนระงับการนำเข้าเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้าก่อนถึงฤดูกาลลำไยภาคตะวันออกเดือนกันยายน-ธันวาคม

ภายหลังอธิบดีกรมวิชาการเกษตรได้ประชุมครั้งที่ 1 และการเจรจากับจีนเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม จีนยังคงยืนยันให้ระงับโรงคัดบรรจุที่ตรวจพบเพลี้ยแป้งซึ่งอยู่ในภาคตะวันออก 29 โรง จันทบุรี 28 โรง สระแก้ว 1 โรง

แนวทางที่กรมวิชาการเกษตรเสนอขอผ่อนปรนจากจีนคือ กลุ่มที่มีความเสี่ยงมากคือพบเพลี้ยแป้งมากจำนวน 4 โรง ซึ่งรายชื่อซ้ำกับการแจ้งทั้ง 2 ครั้ง อาจจะระงับระยะยาวกว่า

ส่วนที่เหลือกลุ่มที่มีความเสี่ยงน้อยคือ พบเพลี้ยแป้งจำนวนน้อยกว่าจำนวน 23 โรง (ยกเลิกการขึ้นทะเบียน 1 บริษัท) ผ่อนผันให้มีการระงับการนำเข้าระยะเวลาไม่นาน โดยส่งแผนการกำจัดเพลี้ยแป้งอย่างเข้มงวด และการป้องกันโควิด-19

“โรงคัดบรรจุลำไยภาคตะวันออกที่ได้มาตรฐาน GMP และขึ้นทะเบียน DOA กับทางการจีนมี 93 โรง จ.จันทบุรี 89 โรง สระแก้ว 2 โรง ระยอง 2 โรง ถูกระงับการส่งออกชั่วคราวรอบเดือนมีนาคม 8 โรง

และรอบ 2 เดือนกรกฎาคม 29 โรง ซึ่งในจำนวนนี้มีรายชื่อซ้ำกับรอบแรกอยู่ 6 โรง สวพ.6 ได้เตรียมพร้อมโรงคัดบรรจุที่ยังส่งออกได้ปกติอีก 62 โรงเพื่อรับซื้อผลผลิต จำนวนโรงคัดบรรจุ 29 โรงที่ถูกระงับมีล้งที่มีความเสี่ยงสูง

หรือถูกแจ้งเตือนบ่อย 4 โรง ที่เหลืออีก 25 โรงมีความเสี่ยงต่ำแต่เป็นโรงคัดบรรจุขนาดใหญ่ที่รับซื้อลำไยถึง 80%” นายชลธีกล่าว

ตรวจเข้มสวนถึงโรงคัดบรรจุ
นายชัยศักดิ์ รินเกลื่อน หัวหน้าด่านตรวจพืชแหลมฉบัง ชี้แจงมาตรการกรมวิชาการเกษตรที่เกษตรกรและโรงคัดบรรจุต้องปฏิบัติ โดยดูแลติดตามใน 3 ส่วนอย่างเข้มงวดคือ ในสวน

โรงคัดบรรจุและการตรวจสอบและออกใบรับรองสุขอนามัยพืช (Phytosanitary Certificate : PC ) โดยเพิ่มผู้ตรวจสอบศัตรูพืชในกระบวนการผลิต คือ สายเก็บจากสวน โรงคัดบรรจุเพิ่ม

การสุ่มตรวจเมื่อคัดแยกเกรดบรรจุตะกร้าก่อนเข้าตู้รมซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และระบายแก๊สที่อบเสร็จสุ่มตรวจอีกครั้ง อัตราการสุ่มตรวจ 5% (ยกเว้นโรงคัดที่ถูกระงับสุ่ม 10%) ศัตรูพืชต้องไม่เกิน 3%

เพื่อตรวจสอบและออกใบรับรองสุขอนามัยพืชในโรงคัดบรรจุก่อนที่จะตรวจที่ด่านตรวจอีกครั้ง นอกจากนี้ ข้อกำหนดเพิ่มเติมต่าง ๆ ให้เหมาะสมต่อการตรวจศัตรูพืชและลดความเสี่ยงเช่น พื้นที่คัดแยกวางสินค้าปนเปื้อน แสงสว่างจุดเสี่ยง

ขาดแรงงานเก็บลำไย 2 หมื่นคน
นอกจากปัญหาศัตรูพืชแล้ว ผู้ส่งออกยังมีปัญหาการขาดแคลนแรงงานเก็บลำไย เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้ไม่สามารถนำเข้าแรงงานกัมพูชามาเก็บลำไยได้สะดวกเหมือนในอดีตก่อนเกิดโควิด

นายเกียรติศักดิ์ พูนเพิ่ม เลขาธิการสมาคมการค้าและการท่องเที่ยวชายแดนไทย-กัมพูชา จันทบุรี กล่าวว่า ดร.รัฐวิทย์ ตั้งเกียรติพชร นายกสมาคมได้ทำมาตรฐานศัตรูพืชควบคู่ไปกับการป้องกันโควิด-19

มีการสุ่มตรวจแรงงานในโรงคัดบรรจุได้มากกว่า 10% โดยประสานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อ.โป่งน้ำร้อน เบื้องต้นใช้ Rapid Antigen Test และเมื่อผลเป็นบวกจะตรวจยืนยันด้วย RT-PCR อีกครั้ง

โดยเป้าสุ่มตรวจระยะแรก 2_500 คน ตรวจไปแล้ว 2_000 คน โดยจะได้รับบัตรรับรองจากสมาคม ค่าใช้จ่ายให้คนละ 1_000 บาท ผู้ประกอบการจะรับผิดชอบ

เป็นกลุ่มแรงงานเดิมที่อยู่ในพื้นที่ประมาณ 12_000 คน จำกัดให้อยู่ใน 2 อำเภอเท่านั้น คือ อ.โป่งน้ำร้อน และ อ.สอยดาว เพื่อให้ควบคุมได้ และแรงงานกลุ่มที่เข้ามาใหม่ที่จะขออนุญาตศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (ศบค.) นำเข้าจากเพื่อนบ้านประมาณ 20_000 คน

ด้านนายศิริไพบูลย์ วัฒณวงศ์ชัย สมาชิกสภาเทศบาล ต.คลองหาด อ.วังสมบูรณ์ จ.สระแก้ว และตัวแทนเกษตรกรและผู้รับซื้อลำไยเพื่อการส่งออกกล่าวว่า พื้นที่ จ.สระแก้วจะเริ่มเก็บผลผลิตเดือนสิงหาคมและมีผลผลิตออกมากตั้งแต่เดือนกันยายน-ธันวาคม

เดิมใช้แรงงานกัมพูชา แต่สถานการณ์โควิด-19 ทำให้ต้องใช้แรงงานที่อยู่ในพื้นที่ จ.จันทบุรี ซึ่งไม่แน่ใจว่าจะเดินทางเข้าจังหวัดมาเก็บลำไยใน จ.สระแก้วได้หรือไม่ หาก จ.สระแก้วอนุญาตให้ผู้ประกอบการที่มีแรงงานอยู่ จ.จันทบุรีเข้ามาเก็บลำไยได้ และอนุญาตให้พักค้างได้ หรือทำในรูปแบบของ จ.จันทบุรีจะแก้ไขปัญหาได้

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา
มาคา สารอินทรีย์ป้องกันและกำจัดเพลี้ย รายละเอียดด้านล่างนะคะ
ยอดพุ่งต่อเนื่อง ไทยส่งออกสินค้าปศุสัตว์
ยอดพุ่งต่อเนื่อง ไทยส่งออกสินค้าปศุสัตว์
นายเฉลิมชัย ศรีอ่อน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า จากสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 ทั่วโลกที่มีแนวโน้มดีขึ้น มีการเปิดประเทศและอุตสาหกรรมเศรษฐกิจทั่วโลกมีการขยายและฟื้นตัว ส่งผลให้สินค้าปศุสัตว์ของประเทศไทยเป็นที่ต้องการทั่วโลก โดยเพียงแค่ 5 เดือนแรกของปี 2565 คือมกราคม-พฤษภาคม ยอดส่งออกยังคงพุ่งแรงเทียบกับ 5 เดือนแรกปี 2564 ก่อน รวมมูลค่ากว่า 1 แสนล้านบาท ผลจากความเชื่อมั่นของประเทศคู่ค้าในการตรวจสอบ กำกับและควบคุมกระบวนผลิตด้านความปลอดภัยอาหารของกรมปศุสัตว์ ประเทศไทย

เผยครึ่งปีหลังคาดการณ์จากเจรจาและเปิดตลาดคู่ค้าเพิ่มสำเร็จ ผลทำให้การส่งออกสินค้าปศุสัตว์ของไทยยังคงพุ่งปังเพิ่มอย่างต่อเนื่อง โดยส่วนใหญ่สินค้าประเภทเนื้อไก่แปรรูปส่งมากที่สุด โดยคู่ค้าหลักคือ ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร และสหภาพยุโรป และสินค้านมและผลิตภัณฑ์นมมากที่สุด รองลงมาคือ กลุ่มสินค้าไข่และผลิตภัณฑ์ และกลุ่มสินค้าปลากระป๋อง ตามลำดับ

ด้านนายสัตวแพทย์สรวิศ ธานีโต อธิบดีกรมปศุสัตว์ กล่าวเพิ่มเติมว่า สำหรับแนวโน้มการส่งออกสินค้าปศุสัตว์ในช่วงครึ่งหลังปี 2565 นี้ ได้มีการเจรจาเปิดตลาดและขยายตลาดการส่งออก ส่งผลให้แนวโน้มปริมาณและมูลค่าการส่งออกสินค้าปศุสัตว์ในช่วงครึ่งปีหลัง ยังคงเพิ่มปริมาณและมูลค่าได้อย่างต่อเนื่อง จากสิงคโปร์มีการผ่อนปรนมาตรการนำเข้าสินค้าเนื้อสัตว์ปีกดิบทำให้ไทยส่งออกได้มากขึ้น มาเลเซียมีการนำเข้าเนื้อสัตว์ปีกจากไทยมากขึ้นและจะมาตรวจประเมินพิจารณาขึ้นทะเบียนโรงงานนมเพิ่มเติม

องค์การอาหารและยาของซาอุดิอาระเบีย อนุญาตให้นำเข้าไก่จากไทยได้หลังจากที่ระงับมานานและได้ขึ้นทะเบียนโรงงานสัตว์ปีกไทยเพิ่มอีก 11 โรงงาน ทำให้เป็นโอกาสในการเพิ่มตลาดส่งออกได้มากขึ้น นอกจากนี้ แคนาดาจะตรวจประเมินโรงงานสัตว์ปีกเพื่อพิจารณาการนำเข้าเนื้อเป็ดแปรรูปปรุงสุกจากไทยและอาหารสัตว์เลี้ยงเป็นที่ต้องการในตลาดโลกส่งออกเพิ่มขึ้นได้อย่างต่อเนื่อง


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
ข้อมูลรูปภาพ จาก http://ไปที่..link..
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน ทุเรียน เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน ทุเรียน เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
เชื้อราไตรโคเดอร์มา ตรา Trichorex พลังกำจัดเชื้อราป้องกันกำจัดโรคทุเรียน

ทุเรียนเป็นที่รู้จักในฐานะ "ราชาแห่งผลไม้" ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นผลไม้เมืองร้อนที่ได้รับการยกย่องอย่างสูงในด้านรสชาติและกลิ่นหอมอันเป็นเอกลักษณ์ อย่างไรก็ตาม ต้นทุเรียนมีความไวต่อโรคต่างๆ ที่เกิดจากเชื้อรา ซึ่งอาจส่งผลต่อคุณภาพและผลผลิตของผลได้อย่างมาก การป้องกันและกำจัดโรคทุเรียนที่ได้ผลวิธีหนึ่งคือการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาซึ่งเป็นเชื้อราที่มีประโยชน์ซึ่งถูกนำมาใช้กันอย่างแพร่หลายในการเกษตรด้วยคุณสมบัติการควบคุมทางชีวภาพ ในบรรดาผลิตภัณฑ์เชื้อราไตรโคเดอร์มาที่มีอยู่มากมายในท้องตลาด Trichorex โดดเด่นในฐานะแบรนด์ที่เชื่อถือได้และมีประสิทธิภาพในการต่อสู้โรคทุเรียนที่เกิดจากเชื้อรา

Trichorex พัฒนาและผลิตโดยบริษัทเทคโนโลยีชีวภาพชั้นนำ เป็นเชื้อรา Trichoderma สายพันธุ์ที่มีศักยภาพซึ่งคิดค้นขึ้นโดยเฉพาะสำหรับการปลูกทุเรียน มีสปอร์ของเชื้อราไตรโคเดอร์มาเข้มข้นสูง ซึ่งเป็นเชื้อราที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราที่ทำให้เกิดโรคในดินและบนผิวพืชได้ Trichorex ได้รับการคิดค้นขึ้นเพื่อให้ประโยชน์มากมาย รวมถึงการป้องกันโรค การกำจัดโรค และการส่งเสริมสุขภาพโดยรวมของพืช

คุณสมบัติที่สำคัญอย่างหนึ่งของ Trichorex คือความสามารถในการป้องกันการเกิดโรคของทุเรียนที่เกิดจากเชื้อรา สปอร์เชื้อราไตรโคเดอร์มาใน Trichorex สร้างเกราะป้องกันที่ผิวราก ป้องกันไม่ให้เชื้อราก่อโรคเข้าทำลายรากและก่อให้เกิดโรค เช่น โรครากเน่า โรคคอเน่า และโคนเน่า การดำเนินการเชิงป้องกันนี้ช่วยรักษาระบบรากให้แข็งแรง ทำให้มั่นใจว่าได้รับสารอาหารและการดูดซึมน้ำอย่างเหมาะสม ซึ่งจำเป็นต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของต้นทุเรียน

นอกจากการป้องกันโรคแล้ว Trichorex ยังมีคุณสมบัติในการกำจัดโรคที่มีศักยภาพอีกด้วย เอนไซม์และเมแทบอไลต์ที่ออกฤทธิ์ซึ่งผลิตโดยเชื้อราไตรโคเดอร์มาสามารถทำลายผนังเซลล์ของเชื้อราที่ทำให้เกิดโรค ฆ่าพวกมันได้อย่างมีประสิทธิภาพและป้องกันการแพร่กระจายของโรคต่อไป การกระทำนี้สามารถช่วยระงับโรคที่อาจติดเชื้อกับต้นทุเรียนได้ บรรเทาความเสียหายที่เกิดจากเชื้อราและส่งเสริมการฟื้นตัว

นอกจากนี้ Trichorex ยังช่วยเพิ่มสุขภาพและความแข็งแรงของพืชโดยรวม กระตุ้นการเจริญเติบโตของราก เพิ่มความพร้อมของธาตุอาหาร และปรับปรุงโครงสร้างของดิน ทำให้ต้นทุเรียนแข็งแรงและมีสุขภาพดี ต้นไม้ที่แข็งแรงทนทานต่อโรคและความเครียดจากสิ่งแวดล้อมได้ดีกว่า และมีแนวโน้มที่จะให้ผลไม้คุณภาพสูงพร้อมผลผลิตและรสชาติที่ดีกว่า

Trichorex ใช้งานง่ายและเข้ากันได้กับการปฏิบัติทางการเกษตรทั่วไป ใช้รดดินหรือฉีดพ่นทางใบก็ได้ขึ้นอยู่กับระยะการเจริญเติบโตของต้นทุเรียนและความต้องการในการควบคุมโรคโดยเฉพาะ อีกทั้งยังปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อมเพราะไม่มีสารเคมีอันตรายและไม่ทิ้งสารตกค้างบนผลไม้

สรุปได้ว่า เชื้อราไตรโคเดอร์มา ตรา Trichorex เป็นสารกำจัดเชื้อราที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดโรคที่เกิดจากเชื้อราในทุเรียน สปอร์ของเชื้อราไตรโคเดอร์มาสูตรเฉพาะทำให้สามารถควบคุมโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมสุขภาพของพืช และเพิ่มคุณภาพและผลผลิตของผลไม้ ด้วยความสะดวกในการใช้งานและความปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม Trichorex จึงเป็นทางเลือกที่เชื่อถือได้สำหรับผู้ปลูกทุเรียนที่ต้องการโซลูชันการจัดการโรคที่เชื่อถือได้และยั่งยืน การผสมผสาน Trichorex เข้ากับแนวทางปฏิบัติในการปลูกทุเรียนสามารถช่วยให้สวนทุเรียนมีสุขภาพดีและให้ผลผลิต และท้ายที่สุด ตอบสนองความต้องการที่เพิ่มขึ้นสำหรับผลไม้ทุเรียนคุณภาพระดับพรีเมียมในตลาด

อะมิโนโปรตีนจำเป็นต่อพืช 18 ชนิด ช่วนในการส้รางฮอร์โมนพืช โตไว ผลใหญ่ แข็งแรง ทนแล้ง ทนโรค ทำไห้เกิดการสร้างและขยายขนาดของเซลล์เนื้อเยื่อ และพัฒนาส่วนต่างๆของพืชเจริญเติบโตได้อย่างเต็มที่

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบ ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
facebook โรงงานปุ๋ยไดโนเร็กซ์
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link..
ชาใบหม่อนออร์แกนิค แบรนด์ไทยมาตรฐานโลก เชื่อมท่องเที่ยวเกษตร ติดปีกธุรกิจยั่งยืน
ชาใบหม่อนออร์แกนิค แบรนด์ไทยมาตรฐานโลก เชื่อมท่องเที่ยวเกษตร ติดปีกธุรกิจยั่งยืน
จากความเชื่อมั่นว่า เทรนด์รักสุขภาพจะได้รับความใส่ใจจากคนทั่วโลกมากขึ้นเรื่อยๆ นับเป็นจุดเริ่มต้นให้ กาญจนา คูหากาญจน์ บุกเบิกธุรกิจชาใบหม่อน แบรนด์ KANCHANA เจ้าแรกและเจ้าเดียวใน จ.กาญจนบุรี ที่ได้รับมาตรฐาน ออร์แกนิค ( Organic ) พร้อมเชื่อมต่อภาคการท่องเที่ยวเชิงเกษตร สร้างประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อม ชุมชน ยกระดับธุรกิจสู่ความยั่งยืน กาญจนา คูหากาญจน์

กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซี.เค.อินดัสทรี่ (2000) จำกัด เล่าว่า เมื่อประมาณ พ.ศ.2541 มีแนวคิดอยากจะสร้างธุรกิจใหม่เกี่ยวกับการเกษตร เนื่องจากเห็นศักยภาพของสภาพดินใน จ.กาญจนบุรี มีแร่ธาตุความอุดมสมบูรณ์สูงเหมาะแก่การเพาะปลูก ส่วนเหตุที่เลือกปลูก ชาใบหม่อน เพราะเป็นสมุนไพรที่มีคุณประโยชน์ต่อสุขภาพมาก ชาวญี่ปุ่นนิยมดื่มกันมานับร้อยๆ ปีแล้ว สามารถตอบเทรนด์รักสุขภาพ ซึ่งเวลานั้น เพิ่งเริ่มได้รับความใส่ใจอย่างจริงจังได้เป็นอย่างดี เบื้องต้น รวบรวมชาวบ้าน ต.เกาะสำโรง อ.เมือง จ.กาญจนบุรี ประมาณ 35 คน ช่วยกันเพาะปลูกชาใบหม่อน หลังได้ผลผลิต เริ่มขายจากจุดเล็กๆ อาศัยตามงานแสดงสินค้าชุมชน

โดยพยายามพัฒนาให้ได้สินค้าดีเลิศเรื่อยมา โดยเฉพาะต้องการยกระดับมาตรฐานให้เป็นชาใบหม่อนอินทรีย์ หรือ ออร์แกนิค เพื่อจะส่งออกสินค้าไปทั่วโลก หลังจากออกตลาดมาประมาณ 2-3 ปี ทำให้เราเห็นโอกาสที่ขยายตลาดไปต่างประเทศได้ โดยสิ่งสำคัญ ต้องยกระดับสู่มาตรฐานออร์แกนิค ซึ่งต้องดำเนินการหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นการปรับสภาพดิน พัฒนาโรงงาน และเครื่องจักร ซึ่งทางสถาบันการเงินอย่าง ธพว. (ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย หรือ SME Development Bank )

มีโครงการสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ ได้เข้ามาสนับสนุนเงินทุน เพราะเห็นถึงศักยภาพทางธุรกิจของเรา รวมถึง ยังเห็นว่า ธุรกิจของเรามีส่วนสร้างประโยชน์แก่ชุมชนด้วย ทำให้เรามีทุนปรับปรุงโรงงาน และพัฒนาการผลิตชาใบหม่อนออร์แกนิคสำเร็จ ช่วยให้สินค้าเป็นที่ยอมรับในตลาดระดับโลก กาญจนา เผย ด้วยความมุ่งมั่นยกระดับสินค้าให้ได้มาตรฐานยอดเยี่ยม ปัจจุบัน ชาใบหม่อน แบรนด์ KANCHANA คือ ผู้ผลิตชาใบหม่อนเจ้าเดียวในประเทศที่ได้มาตรฐานการผลิตระดับครบถ้วน ทั้งระดับประเทศ และระดับโลก ไม่ว่าจะเป็นรางวัลชนะเลิศ OTOP Champion ระดับ 5 ดาว

มาตรฐานความปลอดภัยของอาหารที่ยอมรับกันทั่วโลก อย่าง GMP _ HACCP และที่สำคัญ ได้รับมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ ( Organic ) โดยสหพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (International Federation of Organic Agriculture Movements - IFOAM) ทั้งนี้ สินค้า แบรนด์ KANCHANA มีหลายรูปแบบ ทั้งแบบซอง และผง มีให้เลือกหลายกลิ่น เช่น ชาหม่อนออร์แกนิคต้นตำรับ ผสมดอกคำฝอย ผสมดอกกุหลาบ ผสมดอกมะลิ ผสมมะตูม ผสมดอกคำฝอย เป็นต้น ส่วนช่องทางตลาด ส่งตามร้านสินค้าเพื่อสุขภาพ ร้านสินค้าของฝากต่างๆ ทั่วประเทศ และออกบูธงานแสดงสินค้า รวมถึง ส่งออกต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น แคนาดา สหรัฐ และยุโรป เป็นต้น รวมถึง รับจ้างผลิต (OEM) ให้แก่โรงงานรายใหญ่ทั้งในและต่างประเทศ

แม้ธุรกิจจะเติบโตเรื่อยมา แต่จุดที่กาญจนา ประเมินว่า ยังเป็นความเสี่ยงทางธุรกิจ คือ ยอดขายส่วนใหญ่มาจากส่วนรับจ้างผลิตถึง 80% ขณะที่ ยอดขายภายใต้แบรนด์ตัวเอง มีสัดส่วนเพียง 20% เท่านั้น ดังนั้น แผนธุรกิจที่กำลังมุ่งมั่น ต้องการเชื่อมธุรกิจเกษตรเข้ากับการ ท่องเที่ยวชุมชน โดยจะเนรมิตพื้นที่ไร่ชาใบหม่อนออร์แกนิค เนื้อที่กว่า 40 ไร่ ให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ และแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ รวมถึง ก่อสร้างโชว์รูมเพื่อให้ผู้เข้ามาเที่ยวชม สามารถเลือกหาซื้อสินค้าติดไม้ติดมือกลับไปเป็นของฝาก ควบคู่กับออกแบรนด์ใหม่ว่า Mulberry Mellow และ botanique ที่ปรับปรุงบรรจุภัณฑ์สวยงามหรูหรา ช่วยเพิ่มมูลค่า เพื่อจับตลาดบนโดยเฉพาะ จ.กาญจนบุรี มีศักยภาพการท่องเที่ยวสูงมาก และส่วนตัวดิฉันเชื่อว่า เศรษฐกิจในและต่างประเทศ จะเริ่มขยับดีขึ้นเรื่อยๆ เราจึงกลับมาพิจารณาดูตัวเองว่า มีจุดเด่นใดบ้างที่สามารถพัฒนาขึ้น เพื่อคว้าโอกาสจากสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ดิฉันจึงมองถึงการเชื่อมโยงธุรกิจกับภาคท่องเที่ยว

โดยพัฒนาไร่ปลูกหม่อนให้กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร เปิดให้ชาวไทยและชาวต่างชาติเข้ามาหารับรู้กระบวนการปลูกหม่อนแบบออร์แกนิค และสามารถซื้อสินค้าโดยตรงจากแหล่งผลิต ช่วยสร้างแบรนด์ให้เป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น ในขณะเดียวกัน เมื่อการทำเกษตรออร์แกนิคได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ก็จะก่อประโยชน์ทั้งในแง่ของเศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม คาดจะเปิดอย่างเป็นทางการได้ประมาณต้นปี 2562 เจ้าของธุรกิจ ระบุ นับเป็นโมเดลการต่อยอดธุรกิจที่น่าสนใจ ที่จะขับเคลื่อนชาใบหม่อนออร์แกนิคจากเมืองไทยให้เติบโตต่อไปอย่างแข็งแกร่งและยั่งยืน



ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
เร่งการเจริญเติบโตข้าวโพดด้วยปุ๋ยตรา FK ประสิทธิภาพสูง
เร่งการเจริญเติบโตข้าวโพดด้วยปุ๋ยตรา FK ประสิทธิภาพสูง
เร่งการเจริญเติบโตข้าวโพดด้วยปุ๋ยตรา FK ประสิทธิภาพสูง
หากคุณต้องการเพิ่มการเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวโพดของคุณให้สูงสุด การใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมสามารถสร้างความแตกต่างได้อย่างมาก ปุ๋ยยี่ห้อ FK มีตัวเลือกมากมายที่ออกแบบมาเพื่อช่วยให้ข้าวโพดของคุณเจริญเติบโตโดยเฉพาะ

เร่งการเจริญเติมโต ด้วย ปุ๋ย FK-1 ซึ่งมีธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองที่สมดุล รวมทั้งแมกนีเซียม สังกะสี ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ปุ๋ยนี้ออกแบบมาสำหรับฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตและสามารถใช้กับพืชผลทุกชนิดเพื่อช่วยให้เจริญเติบโตได้ดีและให้ผลผลิตที่มีคุณภาพสูง

เพิ่มผลผลิต ด้วย ปุ๋ย FK-3 ซึ่งเป็นสูตรพิเศษเพื่อให้โพแทสเซียมในระดับสูง สารอาหารนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเพิ่มผลผลิต และด้วยการเน้นปุ๋ย FK-3 คุณจะสามารถส่งเสริมข้าวโพดของคุณในแง่ของการเจริญเติบโตและผลผลิต

เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดจากปุ๋ยเหล่านี้ สิ่งสำคัญคือต้องใช้ปุ๋ยให้ถูกเวลา เพื่อผลลัพธ์ที่ดีที่สุด คุณควรฉีดพ่นในช่วงต้นของระยะติดผลเพื่อเร่งการติดผล ด้วยการใช้ปุ๋ยตรา FK ที่เหมาะสม คุณสามารถช่วยให้ข้าวโพดของคุณเติบโตแข็งแรงและให้ผลผลิตที่ดีได้

ทำความเข้าใจกับ การปลดปล่อยธาตุอาหาร ของปุ๋ยสามชนิด

เส้นสีม่วง เป็นประสิทธิภาพการปล่อยธาตุอาหารของปุ๋ยเคมี
เส้นสีส้ม เป็นประสิทธิภาพการปล่อยธาตุอาหารของ ปุ๋ยตรา เอฟเค ที่มีทั้งธาตุหลัก ธาตุเสริม และสารลดแรงตึงผิว
เส้นสีเขียว เป็นประสิทธิภาพการปล่อยธาตุอาหารของปุ๋ยอินทรีย์

ให้เราพิจารณาเส้นสีม่วง ของปุ๋ยเคมี จะเห็นว่าเมื่อได้ใส่ปุ๋ยเคมีลงในพืช จะเห็นผลได้ชัด ภายในช่วง 3 ถึง 11 วัน จากนั้น พืชที่ได้รับปุ๋ยเคมี ก็จะได้รับธาตุอาหารน้อยลง ตามกราฟ ความเขียวจะลดลง หลังจากสองสัปดาห์และต่อๆไป และสังเกตุว่า ปี ต่อๆ ไป ต้องใส่ปุ๋ยเคมี ในปริมาณมากขึ้น เพื่อให้ได้ผลผลิตเท่ากับปีที่ผ่านมา

มาดูในส่วนของกราฟเส้นสีส้ม ของปุ๋ยตรา เอฟเค แสดงให้เห็นว่า หลังจากฉีดพ่นปุ๋ย จะเห็นผลได้รวดเร็วเท่ากับปุ๋ยเคมี แต่ช่วงที่ต้นไม้ ได้รับธาตุอาหารจะนานกว่า ไปจนถึงประมาณ สามถึงสี่สัปดาห์ ธาตุอาหารจึงค่อยลดลงไป แต่ลดลงไปไม่มากเท่าปุ๋ยเคมี เนื่องจากปุ๋ยตรา เอฟเค มี ธาตุเสริมที่จำเป็นต่อพืช

ส่วนปุ๋ยอินทรีย์นั้น จะปลดปล่อยธาตุอาหารพืชได้ช้า เนื่องจากต้องรอกระขบวนการของจุลินทรีย์ ในการช่วยปลดปล่อยธาตุอาหาร แต่ก็มีข้อดี คือสภาพดินจะค่อยๆดีขึ้นในทุกๆปี

สนใจปุ๋ย FK-1 และ FK-3 ช่องทางสั่งซื้อ

ลาซาด้า

FK-1 บนลาซาด้า http://ไปที่..link..

FK-3 บนลาซาด้า http://ไปที่..link..

ช้อปปี้

FK-1 บนช้อปปี้ http://ไปที่..link..

FK-3 บนช้อปปี้ http://ไปที่..link..

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี @FarmKaset
อ่าน:3310
การปกป้องผลผลิตเมล่อนของคุณ: การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในเมล่อน
การปกป้องผลผลิตเมล่อนของคุณ: การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในเมล่อน
โรคเชื้อราสามารถส่งผลกระทบอย่างมากต่อพืชผลเมล่อน ทำให้พืชเสียหายและผลผลิตลดลง หากตรวจพบอาการต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น อาการเมล่อนใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ราน้ำค้าง เมล่อนเถาเหี่ยว ต้องเร่งป้องกันและกำจัด

IS เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าสามารถป้องกันและกำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราได้ สามารถใช้ป้องกันหรือรักษาโรคติดเชื้อที่มีอยู่ได้ ใช้ IS ผสม 50 ซีซี. ของผลิตภัณฑ์ต่อน้ำ 20 ลิตร แล้วฉีดพ่นลงบนพืชโดยใช้เครื่องพ่น สิ่งสำคัญคือต้องปฏิบัติตามคำแนะนำบนฉลากและหลีกเลี่ยงการใช้มากเกินไป เนื่องจากการใช้มากเกินไปอาจทำให้พืชเสียหายได้

นอกจากการใช้ IS แล้ว FK-1 ยังช่วยบำรุงต้นเมล่อนและเพิ่มระบบภูมิคุ้มกันอีกด้วย FK-1 มีสารอาหารหลายชนิด รวมทั้งไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม สังกะสี และสารลดแรงตึงผิว ซึ่งส่งเสริมการเจริญเติบโตที่ดีและเพิ่มผลผลิตผลไม้ หากต้องการใช้ FK-1 ให้ผสมเนื้อหาของถุงทั้งสองเข้าด้วยกัน จากนั้นใช้ส่วนผสม 50 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร คนจนละลายในน้ำแล้วใช้สารละลายกับพืช

การใช้ทั้ง IS และ FK-1 ทรงพลังต่อการต่อต้านโรคเชื้อรา IS สามารถช่วยป้องกันและกำจัดเชื้อโรค ในขณะที่ FK-1 สามารถให้สารอาหารที่พืชต้องการเพื่อให้มีสุขภาพที่ดีและแข็งแรง สิ่งสำคัญที่ควรทราบคือไม่ควรใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้แทนการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี เช่น การฝึกปลูกพืชหมุนเวียนและการรักษาสุขอนามัยที่เหมาะสมในพื้นที่ปลูกของคุณ

เพื่อป้องกันโรคเชื้อราในพืชเมล่อนของคุณ ให้พิจารณาใช้พันธุ์ที่ต้านทานโรคและหลีกเลี่ยงการรดน้ำเหนือใบ ซึ่งสามารถแพร่กระจายสปอร์ได้ กำจัดพืชหรือชิ้นส่วนพืชที่ติดเชื้อโดยเร็วที่สุดเพื่อป้องกันไม่ให้โรคแพร่กระจายไปยังพืชที่แข็งแรง

โดยสรุป การใช้ IS และ FK-1 สามารถช่วยป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในพืชตระกูลแตงของคุณในขณะเดียวกันก็บำรุงพืชไปด้วย การปฏิบัติตามคำแนะนำบนฉลากผลิตภัณฑ์และปฏิบัติตามหลักปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี จะช่วยให้คุณมั่นใจได้ว่าจะได้ผลผลิตที่ดีต่อสุขภาพ
อ่าน:3310
โอกาสใหม่เพิ่มรายได้เกษตรกร ธุรกิจแปรรูปสมุนไพร
โอกาสใหม่เพิ่มรายได้เกษตรกร ธุรกิจแปรรูปสมุนไพร
ท่ามกลางการระบาดครั้งใหญ่ของไวรัสโควิด 19 ได้นำมาซึ่งโอกาสของ สมุนไพรไทย ซึ่งเป็นที่ทราบดีว่าสมุนไพรไทยบางชนิดมีฤทธิ์ยับยั้งการเติบโตของไวรัส หรือมีประโยชน์ในการรักษา อาทิ ฟ้าทะลายโจร ที่เรียกว่าผลิตกันมาไม่พอขาย จนถึงขั้นขาดตลาด และยังมีสมุนไพรไทยอีกหลายชนิดที่มีสรรพคุณในการรักษาโรค ขณะเดี่ยวกัน เทรนด์การบริโภคของผู้คนรุ่นใหม่ ได้มองว่าสมุนไพรคือทางเลือกสำหรับการดูแลสุขภาพที่ปลอดภัย ไม่มีอันตราย เพราะทุกอย่างล้วนมาจากธรรมชาติ

ดังนั้นในบทความนี้เราจะมากล่าวถึงโอกาสทางธุรกิจของสมุนไพรไทยกัน ว่าจะมีแนวโน้มเป็นอย่างไร อีกทั้งการแปรรูปสมุนไพรไทยแบบไหนที่จะสามารถตอบโจทย์ความต้องการของผู้คนยุคใหม่

สมุนไพรแปรรูปได้ในรูปแบบไหนบ้าง ?

1. การนำสารสกัดเข้มข้นจากสมุนไพร มาใช้ในการผลิตยาแผนโบราณ/แผนปัจจุบัน เครื่องสำอางและอาหารเสริม

2. การนำสมุนไพรออร์แกนิคมาแปรรูปให้ง่ายต่อการใช้งาน เช่น น้ำมันหอมระเหย น้ำมันนวด ผงสกัดเย็น เป็นต้น

3. การนำสมุนไพรมาเป็นเครื่องดื่มบำรุงร่างกาย

4. การนำสมุนไพรมาเป็นส่วนผสมหลักในผลิตภัณฑ์ดูแลร่างกาย เช่น ครีมทาผิว ยาสระผม ยาสีฟัน ฯลฯ

5. การนำสมุนไพรสูตรต่างๆ มาอบแห้ง เพื่อจำหน่าย

ตลาดสมุนไพรเป็นที่ต้องการในอุตสาหกรรมยาเพิ่มขึ้น

จากข้อมูลกรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ระบุว่า ‘สมุนไพร’ มีมูลค่าการส่งออกอยู่ในหลักแสนล้านบาท โดยสมุนไพรไทยในกลุ่มอาหารเสริมมีมูลค่าการใช้และส่งออกรวมกว่า 80_000 ล้านบาท ขณะที่กลุ่มสปา และผลิตภัณฑ์มีมูลค่าประมาณ 10_000 ล้านบาท และกลุ่มยาแผนโบราณตามภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยมีมูลค่าประมาณ 10_000 ล้านบาท

ทั้งนี้ ได้มีการคาดการณ์ว่ามูลค่าของอุตสาหกรรมยาจะเพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ในส่วนมูลค่าตลาดสมุนไพรและสารสกัดจากธรรมชาติ เนื่องด้วยปัจจุบันคนรุ่นใหม่นิยมใช้สมุนไพรเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้ตลาดสมุนไพรที่ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตของอุตสาหกรรมยาเติบโตพุ่งสูงขึ้นเป็น 20_000 ล้านบาทในปี 2563 ขณะที่ปัจจุบันแนวโน้มดังกล่าวยังเพิ่มมากขึ้นต่อเนื่อง

หลายๆ เหตุผลที่ทำให้ผู้คนหันมาสนใจ สมุนไพร

1. ผู้คนเริ่มหันกลับมาให้ความสนใจในเรื่องของสุขภาพกันมากยิ่งขึ้น เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

2. ความเชื่อมั่นของผู้คน ว่าสมุนไพรนั้น จะช่วยบำรุงร่างกายได้เป็นอย่างดี ไม่มีสารตกค้าง เพราะเป็นภูมิปัญญาดั้งเดิมมาตั้งแต่โบราณ

3. ในปัจจุบันนี้เริ่มมีผลวิจัยออกมารองรับว่าสมุนไพรชนิดต่างๆ นั้น มีสรรพคุณในการรักษา ยับยั้ง บำรุง ร่างกายได้เป็นอย่างดีไม่แพ้ยาปฏิชีวนะ

4. ราคาของสมุนไพรแปรรูปนั้นถูกมาก! เมื่อเปรียบเทียบกับอาหารเสริมหรือยาบำรุงร่างกายชนิดอื่นๆ

5. ผลิตภัณฑ์สมุนไพรแปรรูปหลายๆ เจ้า มีมาตรฐานรองรับว่าปลอดภัย ตรวจสอบแหล่งที่มาได้ ตรวจสอบย้อนกลับได้ ถูกต้องตามหลักสากลกำหนด

6. การซื้อหรือกลับมาให้ความสนใจสมุนไพรนั้น ถือได้ว่าเป็นอีกหนึ่งแรงช่วยเหลือเกษตรกรให้มีรายได้เพิ่มขึ้นอีกทาง เพราะสมุนไพรส่วนใหญ่แล้ว ทางบริษัทแปรรูปสมุนไพรส่วนใหญ่จะไปรับซื้อมาจากเกษตรกรนั่นเอง

ตลาดต้องการวัตถุดิบที่เพียงพอและปลอดภัย

อย่างไรก็ตาม การเติบโตของตลาดสมุนไพรยังคงมีอุปสรรคในปัจจุบัน คือเรื่องของคุณภาพ มาตรฐานการรับรอง และการยอมรับในวงกว้างซึ่งต้องนำงานวิจัยมาเข้าเพื่อพัฒนานวัตกรรมการแปรรูปสมุนไพรให้เป็นที่ยอมรับทั้งในประเทศและตลาดต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเรื่องของมาตรฐาน ความปลอดภัย ซึ่งผู้บริโภคให้ความสำคัญเหนือสิ่งใด

ด้วยเหตุนี้เกษตรกรผู้ผลิต และแปรรูปในขั้นต้น จะต้องให้ความสำคัญในเรื่องของกระบวนการผลิตที่ปลอดสารเคมี ซึ่งตลาดให้ความสำคัญมากต่อการทำเกษตรแบบอินทรีย์ ขณะเดียวกันปริมาณที่เพียงพอและต่อเนื่องก็เป็นอีกอุปสรรคของตลาดสมุนไพรไทยที่ต้องหาวิธีบริหารจัดการเรื่องนี้อย่างเหมาะสม

เพราะแม้ดีมานด์ในตลาดจะมีมาก แต่หากผู้ผลิตยังไม่สามารถบริหารจัดการด้านการผลิตที่เหมาะสม และตรงกับความต้องการของตลาด โอกาสในธุรกิจนี้ก็ยังจะไม่เกิดเป็นผลในเชิงรูปธรรมมากเท่าที่ควรจะเป็น

กระนั้น จากแนวโน้มก็เป็นโอกาสดีที่จะมีเกษตรกรส่วนหนึ่งหันมาปลูก หรือส่งเสริมการปลูกสมุนไพรเชิงพาณิชย์เพิ่มขึ้น ซึ่งจากกระแสโควิด 19 และการใส่ใจเรื่องสุขภาพมากขึ้น ทำให้นี่จะเป็นโอกาสของตลาดสมุนไพรไทย ที่เกษตรกร ผู้แปรรูปขั้นต้นสามารถนำมาสร้างรายได้ที่เพิ่มขึ้นได้


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
3517 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 7 รายการ
|-Page 349 of 352-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
สูตรกำจัดหนอน กำจัดหนอนลำไย กำจัดหนอนลิ้นจี่
Update: 2564/08/17 00:32:54 - Views: 3360
ปุ๋ยบำรุงมะพร้าว โตไว แข็งแรง ออกผลดี ด้วยธาตุอาหารพืช FK-1 มี สารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์, N,P,K,Mg,Zn
Update: 2564/11/10 20:53:28 - Views: 3313
แมลงวัน หนอนชอนใบผัก (Leaf Miner) ระบาด
Update: 2564/08/15 01:03:29 - Views: 3426
ข้าวขาดธาตุโพแตสเซียม ต้นจะแคระแกรน แตกกอน้อย ใบสั้น ใบโน้มลง เหี่ยวแห้งแต่สีเขียวเข้ม ปลายใบล่างสีน้ำตาลเหลือง ใช้ FK-1
Update: 2564/03/11 23:08:13 - Views: 3367
โรคใบจุดฟักข้าว โรคราในฟักข้าว ฟักข้าวใบเหลือง ใบไหม้ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/10/07 02:44:44 - Views: 3315
ทำไมขนมเบื้อง ถึงมีไส้แค่สองแบบตามรูป ขาดวิวัฒนาการ หรือ ใส่ไส้แบบอื่นไม่ได้เอ่ย?
Update: 2562/08/25 14:37:20 - Views: 3360
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในพืชพริกไทย
Update: 2566/05/06 11:18:43 - Views: 3331
การจัดการและป้องกันหนอนในต้นฟักทอง: วิธีการแก้ไขปัญหาในการปลูกฟักทอง
Update: 2566/11/14 13:56:40 - Views: 3327
เพิ่มครอโรฟิลล์ เร่งการเจริญเติบโต ใบเขียวเข้ม เขียวไว เขียวนาน เพิ่มคุณภาพและผลผลิด ไห้พืชทุกชนิด ด้วยแมกซ่า
Update: 2566/09/27 14:27:10 - Views: 3373
ข้าวแดง ข้าวลาย ข้าวหาง ข้าวดีด ข้าวเด้ง
Update: 2564/08/26 22:39:23 - Views: 3386
คุณสามารถที่จะเอาร้องเท้าใส่เข้าไปในไมโครเวฟได้ แต่มันจะไม่มีทางออกมาเป็นคุ๊กกี้
Update: 2556/05/06 22:46:53 - Views: 3322
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสีชมพู ใน ยางพารา ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/17 14:39:39 - Views: 3371
อ้อยใบไหม้ โรคแส้ดำ หนอนกออ้อย เพลี้ยอ้อย ปุ๋ยสำหรับอ้อย ทดแทนปุ๋ยเม็ด ลดต้นทุน ผลผลิตสูงขึ้น
Update: 2565/04/25 17:26:16 - Views: 3331
ทำความรู้จักโรค Anthracnose: ผลกระทบในต้นอินทผาลัมและวิธีการป้องกัน
Update: 2566/11/10 09:20:27 - Views: 3331
โรคราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ เกิดได้กับหลายพืช เร่งควบคุม ป้องกัน กำจัด ลดความเสียหายต่อพืช
Update: 2566/11/04 09:41:04 - Views: 4626
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราแป้ง ใน ถั่วฝักยาว ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/11 13:12:54 - Views: 3325
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยอ่อน ในสตอร์เบอร์รี่ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/18 14:44:36 - Views: 3374
ไบโอเทค สวทช. พัฒนา แบคทีรีโอฟาจ ทำลายเชื้อแบคทีเรียก่อโรคพืชในดิน
Update: 2564/08/12 22:03:27 - Views: 3322
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน ดอกทานตะวัน เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อราไตรโครเร็กซ์ปุ๋ยน้ำอะมิโนโดยไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/27 15:57:55 - Views: 3318
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนกอข้าว ในต้นข้าว และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/28 14:23:23 - Views: 3362
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022