[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3582 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 358 หน้า, หน้าที่ 359 มี 2 รายการ

 
โรคน้อยหน่า น้อยหน่าดอกร่วง ใบไหม้ โรคมัมมี่ โรคแอนแทรคโนสน้อยหน่า โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
โรคน้อยหน่า น้อยหน่าดอกร่วง ใบไหม้ โรคมัมมี่ โรคแอนแทรคโนสน้อยหน่า โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
โรคน้อยหน่า ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ เช่น แอนแทรคโนสน้อยหน่า โรคน้อยหน่าดอกร่วง น้อยหน่าใบไหม้ โรคแอนแทรคโนสในน้อยหน่า

โรคมัมมี่ในน้อยหน่า เกิดจากเชื้อราเข้าทำลายผิวเปลือก เริ่มจากเข้าทำลายเป็นแผลจุดสี่ม่วงดำ และขยายใหญ่ขึ้น จนทำให้ทั้งผลน้อยหน้า แห้ง และ แข็ง กลายเป็นสีน้ำตาล หรือสีดำทั้งผล

โรคน้อยหน่าดอกร่วง มีสาเหตุจากเชื้อราเข้าทำลาย กลีบดอก และก้านดอก ทำให้ดอกร่วง ส่งผลกระทบให้ผลผลิตลดน้อยลง และอาจจะลุกลามไปจนติดผล ทำให้ผลเป็นโรคจากเชื้อรา

โรคแอนแทรคโนสน้อยหน่า เชื้อราเข้าทำลายใบ และยอด ของน้อยหน่า พบจุดสีดำเล็ก กระจายอยู่บนใบน้อยหน่า ลุกลาม ระบาด ทำให้ใบแห้ง เหี่ยว ร่วงหล่น เมื่อระบาดมาก จะทำให้น้อยหน่ายอดแห้ง กิ่งแห้ง หัก

ชุดคู่ป้องกันกำจัด บวกด้วยฟื้นฟูบำรุง

ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัด ยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ โรคใบไหม้ ใบจุด ยอดแห้ง ราสนิม ราน้ำค้าง แอนแทรคโนส ไฟทอปโธร่า

และ FKธรรมชาตินิยม ฟื้นฟู แก้ต้นโทรม ราพืชไม่กินปุ๋ย อาการใบซีด ใบเหลือง ต้นแคระ อาการขาดธาตุอาหารของพืช

โรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ยกตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น อาการ ใบไหม้ ใบจุด ใบขีดสีน้ำต้าง โรคใบติด ราสนิม ราน้ำค้าง โรคกุ้งแห้ง แอนแทรคโนส ไฟท็อปโธร่า เป็นต้น

ทั้งอาการใบไหม้ และใบเหลือง เกิดได้จากหลายสาเหตุ อาจเกิดได้จากโรค และการขาดธาตุอาหารพืชที่จำเป็น รวมถึงการให้น้ำ และการได้รับแสงแดด ซึ่งการพิจารณาสาเหตุนั้น ต้องสังเกตุอาการ และแก้ปัญหาทีละจุด

ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืชต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

FKธรรมชาตินิยม แก้ปัญหาโรคพืช ที่เกิดจากการขาดธาตุอาหารพืชต่างๆ และส่งเสริมการเจริญเติบโต ตลอดไปถึง การส่งเสริมผลผลิตพืช

ยกตัวอย่างเช่น

อาการใบไหม้ และอาการต่างๆ ที่เกิดจากโรคเชื้อรา
- โรคใบไหม้ โรคใบจุด และโรคใบขีดสีน้ำตาล จะต่างจากการขาดธาตุที่สังเกตุได้คือ โรคที่มีสาเหตุจากเชื้อรา จะลุกลามไปยังใบไหม้ และลุกลามขยายวงไปยังต้นข้างเคียง
- โรคราแป้ง ราสนิม ราน้ำค้าง มีการลุกลามติดต่อเช่นกัน

อาการใบไหม้ และอาการต่างๆ ที่เกิดจากการขาดธาตุ
- ขาด โพแทสเซียม ที่ใบแก่จะเหลืองซีด ขอบใบมีจุดสีน้ำตาลไหม้
- ขาด แมกนีเซียม ใบจะมีจุดเหลืองทั่วทั้งใบ ที่ปลายใบจะแห้ง
- ขาด สังกะสี ใบจะมีจุดเหลืองคล้ายราสนิม

อาการใบเหลือง ใบซีด ก็เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น
- ใบเหลือง จากการขาดธาตุ ไนโตรเจน
- ใบเหลือง เพราะได้รับแสงไม่เพียงพอ
- ใบเหลือง เพราะรดน้ำมาก หรือน้อยจนเกินไป
- ใบเหลือง เพราะค่า pH หรือความเป็นกรดด่างของดิน ไม่เหมาะสม
- ใบเหลือง เพราะขาดธาตุเหล็ก
- ใบเหลือง เพราะพืชลดจำนวนคลอโรฟิลล์ เพราะการขาดธาตุรอง หรือธาตุเสริมบางอย่าง

อาการใบไหม้และโรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ทุก 3-5 วัน

อาการของพืช ที่เกิดจากการขาดธาตุต่างๆ ฉีดพ่น FK ธรรมชาตินิยม

หมายเหตุ สามารถ ผสม ไอเอส และ FK ธรรมชาตินิยม ฉีดพ่นไปพร้อมกันในคราวเดียว

อัตราส่วนผสม
ไอเอส 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
FKธรรมชาตินิยม 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
สามารถผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
*สำหรับท่านที่พ่นด้วย ฟ็อกกี้ ขนาด 1-2ลิตร ใช้ฝา FKธรรมชาตินิยมตวงประมาณ 2ฝา


การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
ยางพาราใบร่วง โรคเชื้อราไฟทอปโทร่า ยางพารา ใช้ยาอะไรแก้ดี..
ยางพาราใบร่วง โรคเชื้อราไฟทอปโทร่า ยางพารา ใช้ยาอะไรแก้ดี..
โรคเชื้อรา Phytophthora botryosa เป็นโรคที่เกิดขึ้นกับยางพารา หลายๆ ท่านปวดหัวกับเจ้าเชื้อราตัวร้ายนี้เป็นอย่างมาก มาทำความรู้จักโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อรา ไฟทอปโทร่า

ไฟทอปเทอร่า Phytophthora

ลักษณะอาการ
- ใบจะร่วงสดๆ ทั้งก้าน 3 ใบ
- มีรอยช้ำสีดำตรงบริเวณก้านใบ และที่จุด กึ่งกลางของรอยช้ำจะมีหยดน้ำยางสีขาวเกาะติดอยู่
- เมื่อนำใบยางที่เป็นโรคมาสะบัดไปมาเบาๆ ใบย่อยจะหลุดออกจากก้านใบได้โดยง่าย มีผลทำให้ใบร่วงทั้งที่ยังเขียวสดอยู่
- เชื้อราสามารถเข้าทำลายฝักยางได้ทุกระยะ ทำให้ฝักเน่า ถ้าความชื้นในอากาศสูงจะพบเชื้อราสีขาว เจริญปกคลุมฝัก
- ฝักที่ถูกทำลายจะเน่าดำค้างอยู่บนต้น ไม่แตกและร่วงหล่นตามธรรมชาติ กลายเป็นแหล่งเชื้อโรคในปีถัดมา

สินค้าแนะนำจากฟาร์มเกษตร

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน และยับยั้งเชื้อรา ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด ทุกๆ 3-5 วัน ต่อเนื่อง 3-4 ครั้ง

สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน เพื่อเร่งให้มันสำปะหลังฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลงได้เร็วยิ่งขึ้น

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3667
ยากำจัดเพลี้ยอ่อนคะน้า ยากำจัดหนอนในคะน้า ยาป้องกันกำจัด โรคคะน้าเน่าคอดิน โรคราน้ำค้างในคะน้า และปุ๋ยสำหรับเพิ่มผลผลิตคะน้า
ยากำจัดเพลี้ยอ่อนคะน้า ยากำจัดหนอนในคะน้า ยาป้องกันกำจัด โรคคะน้าเน่าคอดิน โรคราน้ำค้างในคะน้า และปุ๋ยสำหรับเพิ่มผลผลิตคะน้า
เพลี้ยอ่อนคะน้า

ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ของเพลี้ยอ่อน จะดูดกินน้ำเลี้ยงยอดคะน้า ดูกินน้ำเลี้ยงรวมทั้งใบอ่อน และใบแก่ของคะน้า อาการที่แสดงให้เห็นคือ คะน้ายอดหงิก คะน้าใบหงิก หากคะน้าโดนเพลี้ยอ่อนเข้าทำลายมาก ใบจะมีสีเหลือง

การป้องกันและกำจัด เพลี้ยอ่อนคะน้า ทำได้โดยการฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนคะน้า หนอนใยผักในคะน้า

ตัวเมียของหนอนใยผักคะน้า จะวางไข่ได้ทั้งบนใบ และใต้ใบคะน้า ส่วนใหญ่มักจะเลือกวางไข่ไว้ใต้ใบ ลักษณะของหนอนใยผักนั้น หัวแหลม ท้ายแหลม ลำตัวเรียวยาว ตรงท้ายมีปุ่มแยกออกเป็นสองแฉก การทำลายของ หนอนใยผักคะน้า หนอนจะเข้ากัดกินผิวใบคะน้า ทำให้ใบคะน้ามีลักษณะเป็นรูพรุน

ป้องกันและกำจัด หนอนในคะน้า ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

คะน้าเน่าคอดิน โรคเน่าคอดินของคะน้า

เกิดจากเชื้อรา Pythium sp. หรือ Phytophthora sp. อาการที่แสดงคือ ต้นคะน้าจะเป็นแผลช้ำที่โคนต้น ติดกับดิน เนื้อเยื้อตรงแผล นะเน่าและค่อยๆแห้ง ต้นกล้าหักพับ และเหี่ยวแห้งตาย

โรคราน้ำค้างที่เกิดขึ้นกับคะน้า

เกิดจากเชื้อรา Peronospora parasitica อาการที่แสดงให้พบคือ คะน้าจะมีใบจุดสีดำ รวมกับเป็นกลุ่ม กระจายทั่วใบ สามารถลุกลามไปใบข้างเคียงได้เรื่อยๆ หากกระจายจนเต็มใบแล้ว จะทำให้ คะน้าใบเหลือง แห้ง และใบร่วง

ป้องกันและกำจัด โรคคะน้าเน่าคอดิน โรคราน้ำค้างในคะน้า และโรคคะน้าต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่นด้วย ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งโตแตกใบคะน้า ฉีดพ่นด้วย FK-1 ช่วยให้คะน้าโตไว ได้ผลผลิตสูงขึ้น

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

อ่าน:3667
การปลูกมะนาว: คู่มือสำหรับผู้เริ่มต้นในการปลูกมะนาว
การปลูกมะนาว: คู่มือสำหรับผู้เริ่มต้นในการปลูกมะนาว
มะนาวเป็นผลไม้ตระกูลส้มที่มีประโยชน์หลากหลายรสชาติซึ่งใช้ในอาหารและเครื่องดื่มหลากหลายประเภท หากคุณสนใจที่จะปลูกต้นมะนาวของคุณเอง มีบางสิ่งที่คุณจำเป็นต้องรู้เพื่อให้ประสบความสำเร็จ นี่คือคำแนะนำสำหรับผู้เริ่มต้นในการปลูกมะนาว

ประการแรก สิ่งสำคัญคือต้องเลือกสถานที่ที่เหมาะสมสำหรับต้นมะนาวของคุณ ต้นเลมอนชอบสภาพแวดล้อมที่อบอุ่นและมีแสงแดด อุณหภูมิอยู่ระหว่าง 13-29°C พวกเขายังต้องการดินที่มีการระบายน้ำดีที่อุดมไปด้วยอินทรียวัตถุ สิ่งสำคัญคือต้องหลีกเลี่ยงบริเวณที่มีน้ำขัง เพราะอาจทำให้รากเน่าและลดผลผลิตของต้นไม้ได้

เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่ดี สิ่งสำคัญคือต้องให้ต้นมะนาวของคุณมีสารอาหารที่เหมาะสม ทางเลือกหนึ่งคือการใช้ปุ๋ยเช่น FK-1 ซึ่งมีส่วนผสมของไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม สังกะสี และสารลดแรงตึงผิว เมื่อใช้ FK-1 คุณจะสามารถเพิ่มผลผลิตของต้นมะนาวและผลิตผลที่มีคุณภาพสูงขึ้นได้

ในการใช้ FK-1 กับต้นมะนาวของคุณ ให้ผสมทั้งสองถุงเข้าด้วยกัน จากนั้นสำหรับน้ำทุกๆ 20 ลิตร ให้นำถุงแรก 50 กรัมและถุงที่สอง 50 กรัม คนให้ละลายน้ำแล้วทาให้ทั่วโคนต้นไม้ อย่างไรก็ตาม สิ่งสำคัญคือต้องทราบว่า แม้ว่าการใช้ FK-1 จะสามารถเพิ่มผลผลิตได้ แต่ก็ไม่ควรใช้แทนการดูแลและบำรุงรักษาที่เหมาะสม

สิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งของการปลูกมะนาวคือการตัดแต่งกิ่ง การตัดแต่งกิ่งช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่ดีรวมทั้งเพิ่มผลผลิตผลไม้ การตัดแต่งกิ่งควรทำในช่วงพักตัวของต้นไม้ ซึ่งโดยทั่วไปคือเดือนธันวาคมถึงกุมภาพันธ์ สิ่งสำคัญคือต้องกำจัดกิ่งที่ตายหรือเป็นโรค รวมทั้งกิ่งที่เติบโตชิดกันเกินไป

สิ่งสำคัญคือต้องรดน้ำต้นมะนาวเป็นประจำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูร้อน หลักการง่ายๆ คือการรดน้ำต้นไม้ให้ลึกสัปดาห์ละครั้ง แทนที่จะรดน้ำตื้นๆ หลายครั้งต่อสัปดาห์ สิ่งนี้ช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของรากลึกและทำให้ต้นไม้ทนต่อความแห้งแล้งได้ดีขึ้น

กล่าวโดยสรุป การปลูกมะนาวเป็นประสบการณ์ที่สนุกและคุ้มค่า ด้วยการเลือกสถานที่ที่เหมาะสม การให้สารอาหารที่เหมาะสม การตัดแต่งกิ่งอย่างสม่ำเสมอ และการรดน้ำต้นไม้ของคุณอย่างสม่ำเสมอ คุณสามารถปลูกต้นเลมอนที่แข็งแรงและให้ผลผลิตได้ และหากคุณต้องการเพิ่มผลผลิต ให้พิจารณาใช้ปุ๋ยเช่น FK-1 เพื่อให้ต้นไม้ของคุณมีสารอาหารพิเศษที่จำเป็น ด้วยการดูแลเอาใจใส่ที่ถูกต้อง คุณสามารถเพลิดเพลินไปกับการเก็บเกี่ยวมะนาวแสนอร่อยมากมายสำหรับปีต่อๆ ไป
อ่าน:3667
โรคเชื้อราในกล้วย สาเหตุและการป้องกัน คู่มือโรคเชื้อราในกล้วย
โรคเชื้อราในกล้วย สาเหตุและการป้องกัน คู่มือโรคเชื้อราในกล้วย
กล้วยเป็นหนึ่งในผลไม้ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก เป็นอาหารว่างที่อร่อยและดีต่อสุขภาพสำหรับคนทุกวัย อย่างไรก็ตาม เช่นเดียวกับพืชผลอื่นๆ กล้วยมีความไวต่อโรคเชื้อราหลายชนิดที่สามารถสร้างความเสียหายอย่างมากต่อพืชและทำให้ผลผลิตลดลง ในบทความนี้ เราจะสำรวจโรคเชื้อราในกล้วยที่พบบ่อยที่สุดและหารือเกี่ยวกับวิธีการป้องกันและกำจัดที่แนะนำ

โรคเชื้อราในกล้วย

โรคปานามา: โรคปานามาเกิดจากเชื้อราในดินที่เรียกว่า Fusarium oxysporum f. sp. ลูกบาศก์ เชื้อราจะเข้าไปทำลายระบบหลอดเลือดของต้นกล้วยทำให้เหี่ยวและตายได้ โรคปานามาสามารถทำลายล้างสวนกล้วยทั้งหมดได้ และขณะนี้ยังไม่มีวิธีรักษา

Black Sigatoka: Black Sigatoka เกิดจากเชื้อรา Mycosphaerella fijiensis โรคนี้เริ่มเป็นจุดดำเล็กๆ บนใบ และลามไปทั้งใบในที่สุด สามารถลดผลผลิตผลไม้และทำให้พืชอ่อนแอ ทำให้อ่อนแอต่อโรคอื่น ๆ

โรคแอนแทรคโนส: โรคแอนแทรคโนสเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum musae มันติดเชื้อที่ผลไม้และทำให้เกิดแผลที่ดำคล้ำ ผลไม้ที่ติดเชื้อมักไม่เหมาะที่จะขายหรือบริโภค

วิธีป้องกันและกำจัด

วิธีป้องกันโรคเชื้อราในกล้วยที่ได้ผลดีที่สุดวิธีหนึ่งคือการรักษาวัฒนธรรมที่ดี ซึ่งรวมถึงการปลูกพันธุ์ต้านทานโรค การหลีกเลี่ยงความแออัดยัดเยียด และการสุขาภิบาลที่ดีโดยการกำจัดและทำลายวัสดุพืชที่ติดเชื้อ

นอกจากการปฏิบัติทางวัฒนธรรมแล้ว สารฆ่าเชื้อรายังสามารถใช้เพื่อป้องกันและกำจัดโรคที่เกิดจากเชื้อราได้อีกด้วย สารกำจัดเชื้อราที่แนะนำในการควบคุมโรคเชื้อราในกล้วยคือ IS (อัตราผสม IS 50 ซีซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร) IS เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่ป้องกันและกำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา พร้อมบำรุงต้นด้วย FK-1 ซึ่งเป็นปุ๋ยที่มีไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม สังกะสี และสารลดแรงตึงผิว ใช้ IS ผสม 50 ซีซี. ของส่วนผสมกับน้ำ 20 ลิตร แล้วชโลมให้ทั่วต้น

สิ่งสำคัญคือต้องสังเกตว่าแม้ว่าสารฆ่าเชื้อราจะมีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดโรคจากเชื้อรา แต่ก็ควรใช้เท่าที่จำเป็นและเป็นไปตามคำแนะนำของผู้ผลิต การใช้สารฆ่าเชื้อรามากเกินไปอาจนำไปสู่การพัฒนาสายพันธุ์ของเชื้อราที่ดื้อยา ทำให้ควบคุมได้ยากขึ้น

บทสรุป

โรคเชื้อราเป็นปัญหาสำคัญสำหรับชาวสวนกล้วย ซึ่งสร้างความเสียหายอย่างมากต่อพืชผลและผลผลิตลดลง อย่างไรก็ตาม ด้วยการรักษาแนวปฏิบัติทางวัฒนธรรมที่ดีและการใช้สารกำจัดเชื้อราที่มีประสิทธิภาพ เช่น IS ผู้ปลูกสามารถป้องกันและกำจัดโรคจากเชื้อราและทำให้ต้นกล้วยแข็งแรงและให้ผลผลิตได้
อ่าน:3667
เร่งการออกดอกและรากของต้นส้มโอด้วยปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO
เร่งการออกดอกและรากของต้นส้มโอด้วยปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO
เร่งการออกดอกและรากของต้นส้มโอด้วยปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO
การดูแลต้นส้มโอให้มีการออกดอกอย่างสม่ำเสมอและมีระบบรากที่แข็งแรงเป็นสิ่งสำคัญที่จะให้ผลผลิตที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูงสุด และเพื่อให้ความช่วยเหลือในการปรับปรุงสภาพต้นส้มโอของท่าน ทางเราขอแนะนำสูตรพิเศษของปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 10-40-10+3 MgO ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเร่งการออกดอกและเร่งรากของต้นส้มโอได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สูงสุด

ประโยชน์ของสูตร 10-40-10+3 MgO สำหรับต้นส้มโอ:

เร่งการออกดอก: สูตรที่มีส่วนผสมของฟอสฟอรัส (P) สูงช่วยเร่งกระบวนการออกดอกของต้นส้มโออย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ต้นส้มโอออกดอกมากขึ้นและเข้าสู่กระบวนการผสมเกสรได้อย่างสม่ำเสมอ

เร่งราก: สูตรที่มีการเสริมด้วยแมกนีเซียมออกซิด (MgO) ช่วยเสริมรากของต้นส้มโอให้แข็งแรงและเจริญเติบโตได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ต้นส้มโอสามารถดูดธาตุอาหารและน้ำได้มากขึ้น และป้องกันการเสียหายจากโรคและแมลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เพิ่มคุณภาพผลผลิต: การใช้สูตรที่เหมาะสมช่วยให้ต้นส้มโอมีการพัฒนาและเจริญเติบโตอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งส่งผลให้ผลผลิตมีคุณภาพและปริมาณที่ดีขึ้น

ใช้ง่าย: สูตรนี้มีรูปแบบที่ใช้ง่าย สามารถใช้ร่วมกับการให้น้ำหรือหว่านรอบๆ โคนต้นได้อย่างสะดวกสบาย

ประหยัด: การใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 10-40-10+3 MgO ช่วยประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการดูแลต้นส้มโอ เนื่องจากสูตรนี้มีความเข้มข้นสูง ทำให้ใช้อัตราการใช้ต่ำลง

ด้วยสูตรพิเศษนี้ เรามั่นใจว่าจะช่วยให้ต้นส้มโอของท่านมีการเจริญเติบโตอย่างสม่ำเสมอ และให้ผลผลิตที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพสูงสุด อย่ารอช้า ลองใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 10-40-10+3 MgO กับต้นส้มโอของคุณได้แล้ววันนี้!

🌿ฉีดพ่นทางใบ อัตราผสม 25 กรัม(2ช้อนโต๊ะ) ต่อน้ำ 20 ลิตร

ถัง 16-20 ลิตร ใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 25 กรัม (2ช้อนโต๊ะ)

ถัง 200 ลิตร ใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 250 กรัม (1ส่วน4ถุง)
.
🌳ปุ๋ยทางใบสูตรสูง 3สูตรหลัก ที่ใช้ได้กับทุกพืช
- เร่งโตเร่งต้นเร่งใบเร่งเขียว สูตร 30-20-5
- เร่งระบบราก เร่งดอก สูตร 10-40-10
- เพิ่มผลผลิต ขยายขนาดผล สูตร 15-5-30
.
∞ ผสมปุ๋ยทางใบเป็นสูตรต่างๆได้ตามต้องการ
» เราพัฒนาระบบคำนวณสูตรผสมปุ๋ยให้ใช้ฟรี
» ใช้ปุ๋ย 3สูตรหลักด้านบน ผสมได้หลากหลายสูตรสูง ใช้ได้กับทุกพืช
£ มีเอกสารแนบวิธีการผสมลงในกล่อง

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 1 ถุง บรรจุ 1 กิโลกรัม ผสมน้ำได้ 800 ลิตร ใช้ได้ประมาณ 10 ไร่

📌สั่งซื้อ สอบถาม

»โทร 097-918-3530
»ไลน์ janemini1112

🔎ซื้อกับลาซาด้า ช้อปปี้
.
» ซื้อปุ๋ยสตาร์เฟอร์ ที่ช้อปปี้: http://ไปที่..link..
.
» ซื้อปุ๋ยสตาร์เฟอร์ ที่ลาซาด้า: http://ไปที่..link..
อ่าน:3666
ต้นกาแฟ ใบไหม้ !! ใบจุด รากเน่า โรคแอนแทรคโนส ราสนิม โรคราต่างๆ ป้องกันและกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วยปุ๋ย FK-T
ต้นกาแฟ ใบไหม้ !! ใบจุด รากเน่า โรคแอนแทรคโนส ราสนิม โรคราต่างๆ ป้องกันและกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วยปุ๋ย FK-T
ต้นกาแฟ ใบไหม้ !! ใบจุด รากเน่า โรคแอนแทรคโนส ราสนิม โรคราต่างๆ ป้องกันและกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วยปุ๋ย FK-T
ปกป้องต้นกาแฟของคุณให้ปลอดภัยจากโรคพืชด้วย "ไอเอส" และเร่งฟื้นฟูด้วย "ปุ๋ย FK-T"
ไอเอส ยากำจัดเชื้อรา โรคพืช ในต้นกาแฟ ด้วยเทคนิคอีออนคอลโทรล เป็นสารอินทรีย์ ปลอดภัย ไร้สารพิษ

ปัญหาที่พบบ่อยในต้นกาแฟ

ใบไหม้ ใบเหลือง ใบจุด
รากเน่า
โรคแอนแทรกโนส
ราสนิม
เชื้อราต่าง ๆ ในต้นกาแฟ

ไอเอส ช่วยคุณได้อย่างไร

กำจัดเชื้อราสาเหตุโรคพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ปลอดภัยต่อผู้ใช้ สัตว์เลี้ยง และสิ่งแวดล้อม
ไม่ทิ้งสารพิษตกค้างในผลผลิต
ช่วยให้ต้นกาแฟเจริญเติบโตอย่างแข็งแรง

ปุ๋ย FK-T ปุ๋ยอินทรีย์ธรรมชาติ เร่งฟื้นฟูต้นกาแฟจากการเข้าทำลายของเชื้อรา

คุณสมบัติ

อุดมไปด้วยธาตุอาหารที่จำเป็นต่อต้นกาแฟ
ช่วยให้ต้นกาแฟฟื้นฟูจากโรคพืชได้อย่างรวดเร็ว
เสริมสร้างระบบภูมิคุ้มกันให้ต้นกาแฟ
กระตุ้นการเจริญเติบโตของราก ลำต้น ใบ และผล

ใช้ไอเอส ควบคู่กับ ปุ๋ย FK-T

ผลลัพธ์ที่เหนือกว่า
ต้นกาแฟของคุณจะแข็งแรง ปราศจากโรคพืช ให้ผลผลิตสูง

อย่าปล่อยให้โรคพืชทำลายต้นกาแฟของคุณ ปกป้องต้นกาแฟของคุณด้วยไอเอส และเร่งฟื้นฟูด้วยปุ๋ย FK-T

ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อราสกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับ ที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อราอีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้

💦อัตราผสมใช้ ไอเอส
» ไอเอส 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
» ฉีดพ่นทางใบ
» ระยะรักษา ทุก 2-3 วันต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง
» ระยะป้องกันทุก 15-30 วัน

📌สั่งซื้อ สอบถาม

»โทร 097-918-3530
»ไลน์ janemini1112

🔎ซื้อกับลาซาด้า ช้อปปี้
.
» ซื้อสินค้า ที่ช้อปปี้:http://ไปที่..link..
.
» ซื้อสินค้า ที่ลาซาด้า: http://ไปที่..link..
อ่าน:3666
เมทาแล็กซิล: สารป้องกันกำจัดโรคพืชที่เป็นเชื้อราในสับปะรด
เมทาแล็กซิล: สารป้องกันกำจัดโรคพืชที่เป็นเชื้อราในสับปะรด
เมทาแล็กซิล: สารป้องกันกำจัดโรคพืชที่เป็นเชื้อราในสับปะรด
เมทาแล็กซิล (Metham sodium) เป็นสารป้องกันกำจัดโรคพืชที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในการป้องกันและกำจัดเชื้อราและจุลินทรีย์ในดินที่ทำให้เกิดโรคพืชได้ โดยเฉพาะเชื้อราในกลุ่มของ Phytophthora spp. และ Pythium spp. ที่เป็นสาเหตุของโรครากเน่าในพืชต่าง ๆ รวมทั้งสับปะรด.

การใช้เมทาแล็กซิลในการป้องกันกำจัดโรคพืชทำให้เกิดประโยชน์ดังนี้:

ป้องกันโรครากเน่า: เชื้อราในกลุ่ม Phytophthora spp. และ Pythium spp. ทำให้เกิดโรครากเน่าในพืช โดยการใช้เมทาแล็กซิลจะช่วยลดการระบาดของเชื้อราเหล่านี้ในดิน.

การควบคุมโรคใบจุดน้ำตาล (Brown spot): เมทาแล็กซิลยังมีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคใบจุดน้ำตาลที่เกิดจากเชื้อราในสับปะรด.

ลดการระบาดของเชื้อราในดิน: เมทาแล็กซิลช่วยลดจำนวนเชื้อราและจุลินทรีย์ที่สามารถก่อให้เกิดโรคพืชในดิน.

การใช้เมทาแล็กซิลนั้นควรทำตามคำแนะนำที่ระบุในฉลากผลิตภัณฑ์หรือคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญทางการเกษตร โดยปกติแล้วการใช้สารป้องกันกำจัดโรคพืชต้องทำในช่วงที่ไม่มีฝนหรือน้ำในดินมากนัก เพื่อให้สารได้ทำงานได้ดีที่สุดและป้องกันการไปทำลายถ่ายทอดไปยังพื้นที่อื่นๆ ที่ไม่ได้เป็นจุดเป้าหมาย.

นอกจากนี้ควรปฏิบัติตามข้อกำหนดในการใช้สารเคมีและให้ความสนใจถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพมนุษย์ด้วย.

.
เมทาแลกซิล ป้องกันกำจัดโรคในต้นสับปะรด และโรคพืชต่างๆจากเชื้อรา
เมทาแลกซิล สามารถป้องกันกำจัดโรคพืชต่างๆจากเชื้อรา ในพืชทุกชนิดได้เช่นกัน
.
สั่งซื้อ เมทาแลกซิล ได้ที่ ลาซาด้า คลิก http://ไปที่..link.. .
หรือ โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset
.
อ่าน:3666
ผลิต สบู่ ขาย ต้องขอ อย.หรือไม่ และต้องทำอย่างไร
ผลิต สบู่ ขาย ต้องขอ อย.หรือไม่ และต้องทำอย่างไร
การผลิตสบู่ขาย ต้องขอ อย.หรือไม่
เป็นคำถามของผู้ที่สนใจธุรกิจประเภทนี้สงสัย เนื่องจากบางครั้งเห็นว่าเป็นการทำสบู่ สมุนไพร เองที่บ้าน ไม่ได้มีโรงงานผลิต เป็นล่ำเป็นสัน บางทีก็เป็นการต่อยอดจากการทดทองทำใช้เองในครอบครัว เมื่อเห็นว่ามีประสิทธิภาพดีกับการใช้กับตนเอง จึงคิดว่าหากทำออกขาย ก็ไม่จำเป็นต้องขออนุญาติ ทั้งยังไม่เห็น เครื่องหมาย เลขที่ อย. อยู่ในบรรจุภัณฑ์สินค้าประเภทนี้ แต่อย่างไรก็ตามผู้ผลิตหลายรายก็ต้องการทำไห้ถูกต้อง เพื่อที่จะได้ต่อยอดธุรกิจไห้มีขนาดใหญ่ขึ้นได้

สำหรับเรื่องการผลิตสบู่ เพื่อนำออกจำหน่ายนั้น ตามกฎหมายต้องมีการขออนุญาติก่อนกับ อย. แต่จะไม่ได้เลขทะเบียน อย. อย่างอาหารและยา แต่จะได้รับ เลขที่ใบรับแจ้ง เพื่อแสดงการจดแจ้ง

เอกสาร ที่ใช้ในการจดแจ้ง
1.เอกสารสำเนาบัตรประชาชนผู้มีอำนาจ 2 ชุด
2.สำเนาทะเบียนบ้านผู้มีอำนาจ 2 ชุด
3.ถ้าเป็นนิติบุคคล ต้องมีสำเนาการจดรับรองนิติบุคคล 1 ชุด
4.สำเนาทะเบียนพาณิชย์ กรณีจดทะเบียนธุรกิจการค้า
5.เสาเนาทะเบียนบ้านที่ตั้งของธุรกิจ
6.แผนที่ตั้งธุรกิจ
7.แผนผังแสดงรายละเอียด สถานที่ผลิต สถานที่เก็บสินค้า สถานที่จำหน่ายสินค้า
8.ตัวอย่างสินค้า พร้อมฉลาก อีก 2 ชุด

นอกจากนี้เรายีงต้องเตรียมข้อมูลเพื่อไห้รายละเอียดของผลิตภัณฑ์ในเจ้าหน้าที่ในการจดแจ้ง ซึ่งเราต้องกรอกลงไปในแบบ จค ซึ่งจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ของเราทั้งหมด เช่น ชื่อทางการค้า หรือ ยี่ห้อ รูปแบบผลิตภัณฑ์เป็นอย่างไร มีกลิ่นอะไรบ้าน ประเภทของการใช้ จุดประสงค์ที่ใช้ วิธีใช้ นอกจากนี้จะมีคำถามไห้เราตอบข้อมูลในส่วนที่เลือกตอบเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับสบู่เท่านั้น เพื่องจากเป็นแบบฟอร์มรวมที่ใช้กับเครื่องสำอางประเภทอื่นๆด้วยฉะนั้นเลือกตอบเฉพาะบางข้อก็พอ ส่วนที่สำคัญที่สุดในเอกสารนี้คือ การกรอกแจ้งสูตรส่วนผสม ว่าเราต้องใช้สารชนิดใดบ้าง ซึ่งส่วนนี้อาจจะยากหน่อยสำหรับรายใหม่ๆส่วยใหญ่ผู้ที่อยากผลิตและขายสบู่เอง จะมีปัญหาในขั้นตอนนี้เนื่องจากเขียนไม่เหมาะสม ทำไห้ขอขึ้นทะเบียนได้ยาก

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..

สำหรับผู้ผลิตสินค้าที่สนใจ ตรวจฉลากโภชนาการของสินค้า ตรวจสารสกัดชนิดๆ สามารถส่งตัวอย่างเข้าตรวจวิเคราะห์กับ บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด หรือ CENTRAL LAB THAI ได้ที่ลิงค์นี้ http://www.farmkaset..link..
โรคกล้วยไม้ โรคแอนแทรคโนสกล้วยไม้ กล้วยไม้ใบไหม้ กล้วยไม้เป็นเชื้อรา
โรคกล้วยไม้ โรคแอนแทรคโนสกล้วยไม้ กล้วยไม้ใบไหม้ กล้วยไม้เป็นเชื้อรา
โรคแอนแทรคโนสกล้วยไม้อ สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides Penz. หรือ Colletotrichum sp.

อาการของโรคแอนแทรคโนสกล้วยไม้

แผลที่ใบมักเริ่มเกิดที่ปลายใบลามเข้าสู่เนื้อใบ อย่างไรก็ตามเชื้ออาจทําลายส่วนอื่นของใบก่อนก็ได้เช่นเดียวกัน แผลมีรอบเป็นวงๆซ้อนกัน มักมีกลุ่มของเชื้อราสีดําเกิดขึ้นตามวง ขอบแผลมีสีเหลืองอ่อน

การป้องกันกำจัด

- ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน หมั่นสั่งเกตุอาการ ควรหายาอื่นๆ มาสลับใช้ หากจำเป็นต้องใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานาน เพื่อป้องกันการดื้อยา

- ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูพืช จากการเข้าทำลายของโรค

Reference: main content from opsmoac.go.th
อ่าน:3666
3582 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 358 หน้า, หน้าที่ 359 มี 2 รายการ
|-Page 59 of 359-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 | 358 | 359 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ลำไยไทยราคาพุ่ง เกษตรกรยิ้มรับทรัพย์
Update: 2568/03/27 07:56:02 - Views: 82
คาดการณ์ราคาอ้อยและพื้นที่ปลูกในปี 2568
Update: 2567/11/22 10:19:17 - Views: 264
การรับมือกับโรคลำต้นจุดสีน้ำตาลในต้นแก้วมังกร
Update: 2566/11/22 09:35:03 - Views: 3498
โรคผลแตกในลำไย : ไขปัญหาเชื้อรา
Update: 2566/05/17 11:39:59 - Views: 3480
โรคราดำ ป้องกันและกำจัดโรคราดำ ในทุเรียน โรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติ
Update: 2566/05/20 13:39:39 - Views: 3525
ทำไมขนมเบื้อง ถึงมีไส้แค่สองแบบตามรูป ขาดวิวัฒนาการ หรือ ใส่ไส้แบบอื่นไม่ได้เอ่ย?
Update: 2562/08/25 14:37:20 - Views: 3616
แนวโน้มปาล์มน้ำมันในประเทศไทย ปี 2568 (2025)
Update: 2567/11/25 11:56:31 - Views: 1011
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยอ่อน ในผักกวางตุ้ง และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/30 13:58:26 - Views: 3527
โรคฝรั่งใบไหม้ ราดำในฝรั่ง ใบจุด จุดสนิม โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/10 01:40:27 - Views: 3815
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าด้วงกินใบและด้วงทำลายดอก ในน้อยหน่า และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/07 09:51:40 - Views: 3469
เตือน!!เกษตร ปลูกมังคุด ระวัง!! เพลี้ยไฟ สร้างเสียหายได้มาก จัดการได้อย่างไร??
Update: 2566/11/06 14:52:06 - Views: 3506
🎗โรคกุหลาบดอกแห้ง กุหลาบใบไหม้ มีสาเหตุจากเชื้อรา อากาศร้อนสลับชื้น
Update: 2564/07/02 09:30:49 - Views: 3777
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น มังคุด ผลดก ผลใหญ่ น้ำหนักดี ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/02/28 14:28:57 - Views: 3460
ปุ๋ยเม็ดแพง ใช้ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบสำหรับ อินทผลัม
Update: 2566/02/02 07:41:55 - Views: 3514
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบจุด ใน ผักกาดขาว ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/14 13:01:12 - Views: 3504
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนเจาะกิ่งสีแดง ใน ลำไย และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/10 12:49:42 - Views: 3593
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค: เคล็ดลับสู่การเพิ่มผลผลิตและประสิทธิภาพในการเกษตร สำหรับต้นปาล์ม
Update: 2567/02/13 09:29:49 - Views: 3506
มะพร้าวยอดแห้ง มะพร้าวใบไหม้ ใบเหลือง กำจัดโรคมะพร้าว จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/10 11:08:50 - Views: 3962
ปุ๋ยโพแทสเซี่ยม สตาร์เฟอร์ 0-0-60: สูตรลับเพื่อผลสับปะรดใหญ่ ดก เพิ่มน้ำหนัก และคุณภาพ ผลผลิต
Update: 2567/03/06 09:56:29 - Views: 3757
วิเคราะห์ตลาดทุเรียน แนวโน้มปี 2568
Update: 2567/11/20 09:22:37 - Views: 462
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022