[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3582 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 358 หน้า, หน้าที่ 359 มี 2 รายการ

 
คู่มือการป้องกันกำจัดโรคทุเรียนจากเชื้อราต่างๆ
คู่มือการป้องกันกำจัดโรคทุเรียนจากเชื้อราต่างๆ
ทุเรียนเป็นผลไม้ที่มีมูลค่าสูงในหลายๆ ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ก็มีแนวโน้มที่จะเกิดโรคเชื้อราที่สามารถทำลายพืชผลและทำให้ผลผลิตลดลงได้ โรคเชื้อราที่พบบ่อยชนิดหนึ่งที่ส่งผลต่อต้นทุเรียนคือ โรคแอนแทรคโนส ซึ่งเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides อาการของโรคแอนแทรคโนส ได้แก่ โรคใบจุด โรคใบติดทุเรียน โรคทุเรียนใบไหม้ โรคแคงเกอร์ที่ลำต้น และผลเน่า ซึ่งอาจทำให้เกษตรกรเสียหายอย่างมาก

เพื่อป้องกันและควบคุมโรคจากเชื้อรา เช่น แอนแทรคโนส เกษตรกรสามารถใช้ผลิตภัณฑ์ที่เรียกว่า IS ซึ่งเป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา IS ทำงานโดยเสริมสร้างการป้องกันตามธรรมชาติของพืช ทำให้มันต้านทานต่อการติดเชื้อราได้มากขึ้น นอกจากนี้ IS ยังมี FK-1 ซึ่งเป็นปุ๋ยที่มีศักยภาพซึ่งช่วยบำรุงพืชและเพิ่มผลผลิต

ในการใช้ IS เกษตรกรควรผสมผลิตภัณฑ์ 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ควรใช้น้ำยาฉีดพ่นที่ใบและลำต้นของต้นทุเรียน ควรทำทุก 7-10 วันเพื่อรักษาป้องกันโรคเชื้อรา

นอกจากการใช้ IS แล้ว เกษตรกรยังสามารถใช้มาตรการอื่น ๆ เพื่อป้องกันโรคเชื้อราในต้นทุเรียน สิ่งเหล่านี้รวมถึงการฝึกสุขอนามัยที่ดีโดยการกำจัดเศษพืชที่ติดเชื้อ หลีกเลี่ยงการรดน้ำเหนือศีรษะ และการปลูกพันธุ์ที่ต้านทานโรค ด้วยการดูแลและจัดการที่เหมาะสม เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนสามารถป้องกันและควบคุมโรคเชื้อราได้ ทำให้พืชผลแข็งแรงและให้ผลผลิตดี
อ่าน:3928
การป้องกันกำจัด โรคใบไหม้ของต้นยางพารา ด้วยสารอินทรีย์
การป้องกันกำจัด โรคใบไหม้ของต้นยางพารา ด้วยสารอินทรีย์
โรคใบไหม้เป็นโรคทั่วไปของต้นยางที่เกิดจากเชื้อรา เชื้อราสามารถทำลายใบของต้นไม้ได้อย่างมาก ทำให้การเจริญเติบโตและผลผลิตลดลง อย่างไรก็ตาม มีวิธีป้องกันและกำจัดโรคนี้โดยใช้สารประกอบอินทรีย์ ไอเอส และเทคนิคการควบคุมไอออน

สารประกอบอินทรีย์ ไอเอส มีประสิทธิภาพในการกำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เทคนิคการควบคุมไอออนเกี่ยวข้องกับการทำให้สภาพแวดล้อมบนใบพืชไม่เอื้ออำนวยต่อการเจริญเติบโตของเชื้อรา ทำได้โดยการฉีดพ่นส่วนผสมของ ไอเอส และ FK-1 บนใบของต้นยาง

เมื่อนำมาใช้ร่วมกัน ไอเอส จะกำจัดโรคในขณะที่ FK-1 เร่งการงอกใหม่ของพืชและส่งเสริมการเจริญเติบโตและผลผลิต FK-1 เป็นปุ๋ยที่มีธาตุอาหารที่จำเป็น เช่น แมกนีเซียม สังกะสี ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม รวมทั้งสารลดแรงตึงผิว

หากต้องการใช้วิธีนี้ ให้ผสม ไอเอส และ FK-1 เข้าด้วยกัน แล้วฉีดลงบนใบของต้นยาง ควรทำเป็นประจำเพื่อให้แน่ใจว่าสภาพแวดล้อมบนใบไม้ยังไม่เอื้ออำนวยต่อการเจริญเติบโตของเชื้อรา

สิ่งสำคัญคือต้องสังเกตว่าการป้องกันและกำจัดโรคใบไหม้ต้องใช้วิธีการแบบองค์รวม ซึ่งรวมถึงการสุขาภิบาลของสนามและบริเวณโดยรอบ การคัดเลือกพันธุ์ที่มีความต้านทานต่อโรค และการจัดการทางโภชนาการที่เหมาะสม

สรุปได้ว่า สารอินทรีย์ ไอเอส และเทคนิคการควบคุมไอออนเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดโรคใบไหม้ของต้นยาง การใช้ ไอเอส และ FK-1 ร่วมกันไม่เพียงแต่กำจัดโรค แต่ยังส่งเสริมการเจริญเติบโตและผลผลิต ซึ่งสามารถนำไปสู่การปรับปรุงผลผลิตพืชผลและผลกำไรสำหรับเกษตรกร

เลือกซื้อ ไอเอส และ FK-1 เลื่อนลงล่างอีกนิดนะคะ
โรคที่เกิดกับอ้อย พันธุ์ขอนแก่น 3
โรคที่เกิดกับอ้อย พันธุ์ขอนแก่น 3
วันนี้มีเรื่องการรับมือกับโรคร้ายที่เกิดกับอ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 มาฝากกัน อ้อยพันธุ์ขอนแก่น 3 นี้ไม่ว่าจะมองไปทางไหนก็มีแต่คนปลูก แทบจะ 80% ของพื้นที่ปลูกอ้อยในประเทศไทยก็ว่าได้ เหตุผลคือ ขอนแก่น 3 ให้ผลผลิตสูงถึง 15-20 ตันต่อไร่ ให้ความหวาน 12-14 ซีซีเอส ที่สำคัญคือ ทนแล้ง และไว้ตอดี แต่พอมีพื้นที่ปลูกมาก และปลูกเป็นเวลานาน ก็เกิดการสะสมโรคในท่อนพันธุ์ เช่น โรคใบขาว หรือโรคที่เกิดจากสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการระบาดเช่น โรคเหี่ยวเน่าแดง โรคแส้ดำ โรคเน่าคออ้อย และโรคใบจุดวงแหวน เป็นต้น ซึ่งแต่ละโรคมีรายละเอียด ดังนี้..
http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3926
ดาวเรืองใบไหม้ ใบแห้ง ดาวเรืองลำต้นเน่า มีสาเหตุจากโรคเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส
ดาวเรืองใบไหม้ ใบแห้ง ดาวเรืองลำต้นเน่า มีสาเหตุจากโรคเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส
ดาวเรืองใบไหม้ ใบแห้ง ดาวเรืองลำต้นเน่า มีสาเหตุจากโรคเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส
ดาวเรือง โรคต่างๆของดาวเรือง ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา แก้ได้ด้วย ไอเอส ดาวเรืองใบไหม้ ดาวเรืองใบแห้ง ลำต้นเหี่ยว เน่า และโรคต่างๆจากเชื้อรา

.

โรคเหี่ยวเหลือง เกิดจากเชื้อรา FUSARIUM
อาการ เริ่มจากใบดาวเรืองที่อยู่บริเวณโคนต้นแสดงอาการใบเหลือง แล้วแห้งลามขึ้นมาสู่ส่วนบนจนในที่สุดใบจะเหลืองและแห้งตายไปทั้งต้น ส่วนของลำต้นจะมีลักษณะแบนลีบและเหี่ยวไปด้วย ลำต้นบริเวณคอดินหรือเหนือดินเล็กน้อย มักมีสีแดงหรือสีคล้ำกว่าส่วนอื่น ท่อน้ำเลี้ยงแห้งเป็นสีน้ำตาล (เชื้อโรคนี้จะเริ่มเข้าทำลายในช่วงหลังจากย้ายปลูก 40-45 วันหลังย้ายปลูกช่วงดาวเรืองเป็นตุ่มตาดอก) การป้องกันกำจัด ใช้สารเคมีป้องกันและกำจัดเชื้อรา เช่น แมนโคเซ็ป ฉีดพ่นสลับกับคาร์เบนดาซิมประมาณสัปดาห์ละครั้ง และถ้าพบมากต้นที่เป็นโรคและตายในแปลงต้องรีบกำจัดทิ้ง
.

โรคดอกเน่า เกิดจากเชื้อรา COLLETOTRICHUM SP.
อาการ ดอกที่เกิดโรคจะเน่าเป็นสีน้ำตาล โดยเฉพาะถ้าหากเกิดในระยะที่ดอกกำลังเริ่มเป็นดอกตูมจะทำให้ดอกไม่สามารถบานได้ หากเชื้อเข้าทำลายในระยะที่ดอกบานจะพบว่ากลีบดอกจะมีสีน้ำตาลลามเข้าไปทาง โคนกลีบ ทำให้ดอกมีสีน้ำตาลดำ เชื้อเข้าทำลายจากดอกลามสู่ลำต้น (ระบาดในช่วงฤดูฝนและในสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง)

.

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สำหรับป้องกันและยับยั้งเชื้อรา สกัดจากพืช ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ปลอดสารพิษ ไม่มีสารตกค้าง ใช้ฉีดพ่นเพื่อป้องกันและยับยั้งโรคพืชทุกชนิด ที่มีสาเหตุมากจากเชื้อรา

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/..

หนอนหมี บุกสวนยางที่กระบี่ ชาวบ้านไม่กล้ากรีดยาง
หนอนหมี บุกสวนยางที่กระบี่ ชาวบ้านไม่กล้ากรีดยาง
หนอนหมี บุกสวนยางที่กระบี่ ชาวบ้านไม่กล้ากรีดยาง
หนอนหมีนับหมื่นตัวบุกเกาะต้นยางพาราที่กระบี่ จนชาวบ้านไม่กล้าออกไปกรีดยาง ระบุพบมากช่วงหน้าฝน ไม่มีพิษ

ขณะนี้เกษตรกรชาวสวนยางพาราใน ต.ทุ่งไทรทอง อ.ลำทับ จ.กระบี่ กำลังประสบปัญหา "หนอนหมี" หรือ "หนอนบุ้ง" หรือ "หนอนขน" จำนวนนับหมื่นตัวบุกอาศัยอยู่ตามต้นยางพาราจนไม่กล้าออกไปกรีดยาง เกี่ยวกับเรื่องนี้ นายสมพงษ์ ดวงจันทร์ อายุ 59 ปี ชาวบ้าน ม.4 ต.ทุ่งไทรทอง อ.ลำทับ จ.กระบี่ สำหรับหนอนชนิดนี้ชาวบ้านเรียกว่าหนอนหมี เนื่องจากตัวสีดำ ชอบอาศัยอยู่บนต้นยาง

จะพบมากในช่วงหน้าฝน ปีนี้หนอนหมี มีมากกว่าทุกปี สังเกตตามต้นยางในต้นเดียวมีนับ 100 ตัว สร้างความขนลุกขนพองให้แก่ชาวสวนยาง บางรายถึงกับหลอนโดยเฉพาะผู้หญิงบางคนหวาดกลัวจนไม่กล้าเข้าไปกรีดยาง ถึงแม้ว่าหนอนชนิดนี้แม้จะไม่มีพิษ แต่จะสร้างความรำคาญให้ชาวสวนยาง นอกจากนี้ หนอนเหล่านี้ไม่ได้ทำลายต้นยางแต่อย่างใดด้วย โดยหนอนหมีจะมากินเพียงเปลือกไม้เท่านั้น

ขณะที่ชาวสวนยางบางคนยอมรับว่า กลัวหนอนหมีมาก หากวันไหนพบหนอนมีมากจะไม่ยอมออกไปกรีดยาง สำหรับ "หนอนหมี" จะมีมากในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายนของทุกปี โดยจะมากัดกินเปลือกไม้ในสวนยางพารา สำหรับตัวที่โตเต็มวัยแล้วจะสลัดขนไปทำรังรอฟักตัวเป็นดักแด้ต่อไป

สำหรับหนอนหมี หรือหนอนขน ในพื้นที่มีขนาดใหญ่ ความยาว 3-5 เซนติเมตร ตัวสีดำ ขนสีขาวเป็นเส้นตรงขึ้นตามตัว ยาวประมาณ 1 เซนติเมตร บางตัวใหญ่เท่ากับนิ้วก้อย มักจะไต่ขึ้นตามต้นยางพารา ถ้วยน้ำยาง และบางตัวจะชักใยห้อยโหนไปมา สร้างความขนลุกขนพองให้แก่เกษตรกรชาวสวนยางเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะชาวสวนยางเป็นผู้หญิง บางคนถึงกับหลอน ต้องยอมหยุดกรีดยาง เนื่องจากหวาดกลัว และขยะแขยง

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
โรคแตงไทย โรคแตงโม และ โรคที่กิดกับพืชตระกูลแตง
โรคแตงไทย โรคแตงโม และ โรคที่กิดกับพืชตระกูลแตง
โรคที่เกิดกับผักตระกูลแตง

พืชตระกูลแตงมีหลายชนิด บางชนิดใช้รับประทานแบบพืชผักบางชนิดรับประทานแบบผลไม้ ไม่ว่าจะเป็นแตงชนิดไหนก็ตามมีโอกาสที่จะเป็นโรคชนิดเดียวกันได้ แตงที่รับประทานแบบผลไม้ได้แก่ แตงโม แตงกวา แคนตาลูป แตงไทย แตงที่ใช้เป็นอาหารจำพวก ผัก ได้แก่ แตงกวา แตงร้าน มะระ ฟักทอง ฟัก แฟง น้ำเต้า ตำลึง บวบ ฯลฯ

จากการสำรวจพบว่าพืชในตระกูลแตงแต่ละชนิดมีโรคระบาดที่สำคัญและเป็นอุปสรรคต่อการปลูกมากหลายโรคด้วยกัน แต่ละโรคทำลายพืชตระกูลแตงเกือบทุกชนิดและเป็นโรคเดียวกัน ดังนั้นการศึกษาและเรียบเรียงคำแนะนำเรื่องโรคใดโรคหนึ่งและวิธีป้องกันกำจัดจึงสามารถใช้รวมไปได้กับพืชทุกชนิดในตระกูลแตง

โรคผักตระกูลแตงและวิธีป้องกันกำจัด

โรคผักตระกูลแตงมีความสำคัญทางเศรษฐกิจไม่แพ้โรคผักของพืชตระกูลอื่น ๆ หรือพืชเศรษฐกิจอื่น ๆ และกำลังจะได้รับการส่งเสริมให้พืชบางชนิดในตระกูลนี้ปลูกกันอย่างกว้างขวาง เพื่อใช้ผลิตอาหารกระป๋องสำเร็จรูป เช่น ทำแตงกวาดอง ฯลฯ และเป็นที่แน่นอนว่าจะต้องประสพปัญหาเรื่องโรค ซึ่งจะทำให้เกิดความต้องการเอกสารวิชาการเกี่ยวกับรายละเอียดเรื่องโรคและวิธีป้องกันกำจัด เช่น รายละเอียดเรื่องระดับความเสียหายความรุนแรงของโรค การแพร่ระบาด สาเหตุของโรค สภาพสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเกิดโรคพาหะนำโรคและวิธีป้องกันกำจัดที่ให้ผลดีที่สุดและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายน้อย การป้องกันกำจัดโรค โดยวิธีใช้สารเคมีฉีดพ่นอาจไม่ได้ผลเลยและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากขึ้นโดยไม่จำเป็น เช่น ในกรณี ที่เกิดโรคขาดธาตุอาหารหรือสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่เชื้อโรค ดังนั้น จำเป็นที่จะต้องทราบสาเหตุที่แท้จริงเสียก่อน แล้วจึงจะคัดเลือกวิธีการป้องกันกำจัดที่แท้จริงมาใช้หรืออาจจะต้องใช้วิธีการหลาย ๆ วิธีเข้าร่วมกันเพื่อให้การป้องกันกำจัดมีประสิทธิภาพสูง โรคจะได้ลดน้อยลง เพื่อที่จะให้การเรียบเรียงสมบูรณ์จึงได้จัดแบ่งโรคของผักตระกูลแตงออกเป็นหมวดหมู่ตามสาเหตุของโรค

โรคปลายผลเน่าเกิดจากขาดธาตุแคลเซียม

โรคปลายผลเน่าแห้งสีดำ (Blossomend rot)

โรคปลายผลเน่าเป็นโรคที่ทำความเสียหายมากกับแตงโม โดยเฉพาะพันธุ์ชาร์ลสตันเกรย์ ซึ่งปลูกไม่แพร่หลายนัก เพราะพันธุ์นี้มีขนาดใหญ่มากไม่เป็นที่นิยมของผู้ซื้อ แต่ก็มีข้อดีที่เก็บได้นานกว่าแตงพันธุ์ชูก้าเบบี้ ซึ่งนิยมปลูกกันมากในปัจจุบัน พันธุ์ชูก้าเบบี้เก็บไม่ได้นานเท่าชาร์ลสตันเกรย์ก็จริงแต่เนื่องจากไม่เป็นโรคนี้และมีขนาดกำลังดี จึงนิยมปลูกกันมาก นอกจากแตงโมแล้ว แตงร้านและแตงกวาก็ปรากฎว่าเป็นโรคนี้บ้างเล็กน้อย

ลักษณะอาการของโรค

อาการเหี่ยวเริ่มจากปลายผลเข้ามาต่อมาเนื้อเยื่อจะแห้งแข็งเป็นสีน้ำตาบ เนื่อเยื่อจะยุบเข้าไปและมักจะมีเชื้อราอื่น ๆ มาขึ้นบนเนื้อเยื่อที่ตายแล้วทำให้เกิดอาการเน่าขึ้นภายหลัง

สาเหตุของโรค

โรคนี้เกิดจากการขาดธาตุแคลเซียมและเกี่ยวกับการดูดซึมน้ำของรากแตงโมด้วย สาเหตุทั้งสองมีความสัมพันธ์กันมาก เพราะธาตุแคลเซียมจะช่วยให้การดูดซึมที่รากดีขึ้นด้วย แตงโม คงต้องการธาตุนี้มากกว่าพืชอื่น ๆ ในตระกูลเดียวกัน

การป้องกันกำจัด

การปลูกแตงโมควรใช้ปูนขาวใส่ลงในดินสัก 100-150 กิโลกรัมต่อไร่ หรือจะใช้ฉีดพ่นด้วยธาตุแคลเซียม เช่น แคลเซียมคลอไรด์ 0.2 % และควรให้น้ำสม่ำเสมอหรือต้องปลูกในที่ ๆ มีน้ำในระดับที่แตงโมจะดูดซึมได้สม่ำเสมอตลอดเวลา

โรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย

1. โรคเหี่ยวเฉาเกิดจากแบคทีเรีย (Bacterial wilt)

แตงกวาเป็นโรคนี้มากกว่าอย่างอื่น และแตงโมมีความทนทานต่อโรคนี้สูงมากจนเกือบจะไม่พบโรคนี้เลย ถ้ามีโรคนี้ระบาดจะเสียหายเพราะแตงจะเหี่ยวภายในเวลาอันรวดเร็ว

ลักษณะอาการของโรค

อาการเกิดที่ใบโดยแสดงอาการเหี่ยวเป็นบางใบก่อน อาการเหี่ยวลามไปที่ขั้วใบและเถาแตง ทำให้เถาแตงเหี่ยวตายทั้งต้นในเวลาอันรวดเร็ว เมื่อเหี่ยวมาก ๆ ผลจะเหี่ยวแห้งแล้วต้นพืชจะตาย

การตรวจโรคนี้ใช้วิธีตัดลำต้นที่เป็นโรคตามขวางเพื่อดูเชื้อบักเตรีซึ่งมีลักษณะเป็นของเหลวขุ่นข้นสีเหมือนสีน้ำนม ออกมาจากรอยตัด บางครั้งไม่พบของเหลวดังกล่าวควรนำไปแช่ในน้ำที่สะอาดถ้าพบของเหลวดังกล่าวไหลออกมาทำให้น้ำขุ่นกว่าเดิมก็แสดงว่าพืชนั้นมีแบคทีเรียในเนื้อเยื่อพืชก็ต้องนำมาทำการเพาะเลี้ยงเชื้อหาเชื้อบริสุทธิ์

สาเหตุของโรค

โรคนี้เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งแพร่ระบาดโดยแมลงศัตรูพืช

การป้องกันกำจัด

ถอนต้นที่เป็นโรคไปทำลายเสีย กำจัดแมลงที่อาจนำเชื้อโรค

2. โรคใบจุด โรคใบจุดของผักตระกูลแตงที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย มีเชื้อแบคทีเรียเป็นสาเหตุอยู่ 2 ชนิด

ก. โรคใบจุดเกิดจากแบคทีเรีย (Angular leaf spot_ Bacterial spot jor Blight)

แตงแคนตาลูป แตงโม เป็นโรคนี้มากกว่าอย่างอื่น ส่วนแตงกวา น้ำเต้า มีความคงทนต่อโรคนี้ต่างกัน

ลักษณะอาการของโรค

อาการเริ่มแรกจะเป็นเป็นจุดฉ่ำน้ำ ขนาดแผลไม่แน่นอน ในที่ ๆ มีอากาศชื้นอาจพบเชื้อแบคทีเรียดูดออกมาที่แผล

เมื่อแผลแห้งจุดของแผลจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลและใบจะแห้งร่วงไปในที่สุด อาการของโรคเป็นเฉพาะที่ เช่น ที่กิ่ง ใบ ผล แต่แผลที่ผลมีขนาดเล็กกว่า ถ้าเป็นมาก ๆ ผลจะร่วง

สาเหตุของโรค

โรคนี้เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Pseudomonas lachrymans (E.F. Smith and Bryan) Carsner

การป้องกันกำจัด

เนื่องจากเชื้อแบคทีเรียอาศัยอยู่ในเศษซากพืชและอยู่ในเมล็ด การป้องกันจึงควรแช่เมล็ดพันธุ์ด้วยน้ำร้อน ประมาณ 55 องศาเซลเซียส นาน 10 นาที ก่อนปลูก หรือปลูกพืชหมุนเวียน 3 ปี ควรทำลายเศษซากพืชเสียก่อนปลูกพืชและใช้ยาฆ่าแมลงที่อาจนำเชื้อโรคมาสู่ต้นพืช

ข. โรคใบจุด (Bacterial leaf-spot)

พืชที่เป็นโรคนี้ได้แก่ แตงกวา ฟักทอง แตงโม น้ำเต้า

ลักษณะอาการของโรค

โรคใบจุดนี้มีอาการเหมือนกับชนิดแรกต่างกันพบโรคเฉพาะที่ใบไม่เป็นที่ผล

สาเหตุของโรค

โรคนี้เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas cucurbitae

การป้องกันกำจัด

ใช้วิธีการป้องกันกำจัดเหมือนชนิดแรก

โรคที่เกิดจากเชื้อรา

1. โรคราน้ำค้าง (Downy mildew)

โรคราน้ำค้างจัดว่าเป็นโรคที่สำคัญของแตงโมทุกพันธุ์รวมทั้งพืชในตระกูลนี้อีกหลายชนิดเช่น แตงกวา แตงร้าน มะระ ฯลฯ ส่วนพวกตำลึง บวบ ฟักทอง ฟักข้าว ไม่ค่อยพบโรคนี้ระบาด

ลักษณะอาการของโรค

ใบแตงโมมีแผลสี่เหลี่ยมสีน้ำตาลอ่อนประปรายทั่วใบ ทำให้ใบแห้งและเหี่ยวอาการจะปรากฎบนใบแก่โคนเถาก่อน โรคระบาดรวดเร็วมากจะทำให้เถาแตงเหี่ยวตายหมดทั้งเถาได้ในเวลาที่อากาศชื้น ด้านท้องใบจะมีกระจุกของราสีขาวหม่นขึ้นบนแผลคล้ายผงแป้ง โรคมักจะระบาดรุนแรงและรวดเร็ว เมื่อแตงกำลังให้ผล ทำให้เถาแตงตายไปก่อนที่แตงโมจะสุก

สาเหตุของโรค

โรคนี้เกิดจากเชื้อรา Pseudoperonospora cubensis ซึ่งเป็นเชื้อราที่แพร่ระบาดไปในอากาศ

การป้องกันกำจัด

1. คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วย ไอเอส อัตราผสม 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

2. ฉีดพ่นด้วย ไอเอส ชนิดใดชนิดหนึ่งฉีดพ่น 5-7 วันต่อครั้ง

โรคราแป้ง

โรคราแป้งจัดว่าเป็นโรคที่ทำความเสียหายมากอีกโรคหนึ่งของแตงโมทุกพันธุ์และพืชในตระกูลนี้เกือบทุกชนิดเป็นโรคนี้ได้ง่าย

ลักษณะอาการของโรค

ใบมีราสีขาวจับคล้ายผงแป้งโดยเฉพาะด้านบนใบและตามผล เมื่อเชื้อราเริ่มจับใบใหม่ ๆ มีลักษณะเป็นวงกลมสีขาวซึ่งจะขยายออกไปจนคลุมเต็มผิวใบทำให้ใบแห้งกรอบเป็นสีน้ำตาลอาการใบแห้งจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและทำให้ใบแห้งหมดทั้งเถาได้ เถาแตงโมจะทรุดโทรมเร็ว

สาเหตุของโรค

โรคราแป้งเกิดจากเชื้อรา Oidium sp. ซึ่งสร้างสปอร์สีขาวคล้ายผงแป้งจับเคลือบอยู่บนใบและหลุดปลิวแพร่ระบาดไปในอากาศได้ง่าย

การป้องกันกำจัด

1. ควรฉีดพ่นยาป้องกันกำจัดเชื้อรานี้โดยใช้ยากำมะถันผงชนิดละลายน้ำได้ในอัตรา 30-40 กรัม ต่อน้ำ 1 ปี๊บ

2. ใช้ยาคาราเทนหรือมิลเด็กซ์

หมายเหตุ อัตราส่วนตามข้างสลากการฉีดพ่นยาดังกล่าวต้องฉีดพ่นในเวลาที่ไม่มีแสงแดดหรืออากาศร้อนจัด และใช้ความเข้มข้นต่ำไว้ก่อนจะไม่ทำให้เกิดอาการใบไหม้ ยาชนิดอื่นไม่ให้ผลดีเท่ายาที่กล่าวมาแล้ว

3. โรคแอนแทรกโนส (Anthracnose)

แตงโมทุกพันธุ์เป็นโรคนี้และจัดว่าเป็นโรคที่ระบาดทั่วไป โรคนี้ไม่ทำให้เนื้อใบเสียแต่ทำให้แตงโม มีรสหวานน้อยลงและมีสีอ่อนกว่าปกติ ยกเว้นแตงแคนตาลูป ซึ่งมีแผลใหญ่และผลเน่าอย่างรวดเร็วและเสียหายมากกว่าแตงพันธุ์อื่น ๆ

ลักษณะอาการของโรค

โรคนี้ทำให้เกิดจุดหรือแผลนูนเล็ก ๆ สีน้ำตาบประปรายทั่วไป แผลดังกล่าวนี้เกิดบนผลแตงโม ทำให้ผลแตงโมมีผิวขรุขระ พันธุ์ที่ไม่มีความต้านทาน แผลจะขยายใหญ่ขึ้นและเนื้อเยื่อตรงกลางแผลจะยุบต่ำลงไปจากระดับเดิมเล็กน้อย ตรงกลางแผลมีเชื้อราเป็นหยดเยิ้มสีชมพูอ่อน เรียงเป็นวงกลมซ้อนกันหลายชั้นตามขนาดของแผลที่ขยายใหญ่ขึ้น เช่น แผลบนแตงแคนตาลูป

สาเหตุของโรค

โรคนี้เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum lagenarium

การป้องกันกำจัด

ฉีดพ่นยาป้องกันกำจัดเชื้อรา เช่น ไอเอส อัตราตามข้างสลากทุก ๆ 5-7 วัน เมื่อเริ่มพบโรคระบาดและเก็บผลที่เป็นโรคทิ้ง เพื่อทำให้มีเชื้อแพร่ระบาดมากขึ้น ยาป้องกันกำจัดเชื้อราเกือบทุกชนิดให้ผลในการป้องกันกำจัดใกล้เคียงกัน การใส่ปุ๋ยอินทรีย์และกากพืชจำนวนมากมีผลทำให้โรคลดน้อยลงได้มาก

4. โรคเหี่ยว (Fusarium wilts)

แตงโม แตงกวา แตงร้าน แคนตาลูป เป็นโรคนี้ทั่วไปทุกแห่ง พืชอื่น ๆ ในตระกูลเดียวกันนี้มีความต้านทานและคงทนต่อโรคสูง จึงไม่ใครพบโรคนี้ ความเสียหายเกิดขึ้นมากน้อยแล้วแต่จำนวนต้นที่เหี่ยวตาย แต่จัดว่าเป็นโรคที่สำคัญโรคหนึ่งซึ่งเป็นมากในระยะที่แตงกำลังตกผล ซึ่งอาจจะทำให้ต้นเหี่ยวตายไปก่อนที่จะเก็บผล

ลักษณะอาการของโรค

ใบแก่ที่อยู่ที่โคนเถาแตงจะเริ่มเหลืองและเหี่ยวตายก่อนแล้วลามไปจนถึงปลายเถาบางต้นมีลำต้นแตกช้ำ แตงมักจะเริ่มเหี่ยวจากแขนงใดแขนงหนึ่งก่อน แล้วจะแห้งตายหมดทั้งเถาในเวลาต่อมา

สาเหตุของโรค

เกิดจากเชื้อรา Fusarium spp. ซึ่งเป็นเชื้อราที่ชอบอาศัยอยู่ในดินที่เป็นทรายมากและเป็นดินกรด ดินที่ปลูกแตงติดต่อกันหลายปีมักจะมีโรคนี้ระบาดมาก

การป้องกันกำจัด

1. ควรปรับดินด้วยปูนขาวประมาณ 100-150 กก. ต่อไร่ และเมื่อจะปลูกซ้ำ ที่ควรจะใส่ปุ๋ยอินทรีย์ให้มากหลังจากการใส่ปูนขาวจะช่วยทำให้โรคนี้ลดน้อยลง ถ้าปุ๋ยอินทรีย์จำพวกปุ๋ยคอกหรือมูลสัตว์หายากก็ควรพิจารณาปลูกพืชตระกูลถั่วแซมหรือสลับแล้วไถกลบต้นถั่วให้เป็นปุ๋ยพืชสดหรือกากพืชลงไปในดิน และไม่ควรปลูกแตงซ้ำที่เกินกว่า 3 ปี

2. ใช้ ไอเอส อัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร รดโคนต้นให้ชุ่ม

หมายเหตุ การใส่ปุ๋ยวิทยาศาสตร์มากจะทำให้เป็นโรคนี้มากขึ้น ควรใส่แต่น้อยแต่ใส่หลาย ๆ ครั้ง

5. โรคใบจุด

แตงมีโรคใบจุดเกิดจากเชื้อราต่างกันหลายชนิด มีอาการคล้ายคลึงกัน การระบาดของโรคไม่รุนแรงเหมือนโรคอื่น ๆ โรคใบจุดของแตงมีดังต่อไปนี้

5.1 โรคใบจุดของแตงเกิดจากเชื้อออเทอนาเรีย (Alternaria)

ลักษณะอาการของโรค

จุดแผลจะฉ่ำน้ำ มีสีเหลือง และสีของแผลจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล หรือเทากลาง ๆแผลมีสีดำ เมื่อแผลมีขนาดใหญ่ แผลจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มและพบเชื้อราขึ้นเรียงเป็นวงแหวนกลาง ๆ แผลอาจฉีกขาด ผลของต้นที่เป็นโรคมักจะสุกก่อนกำหนด และอาจพบแผลที่ผลและที่ลำต้น

สาเหตุของโรค

โรคนี้เกิดจากเชื้อรา Alternaria cucumerina (Ellis and Everhart Elliott)

การป้องกันกำจัด

เนื่องจากเชื้อราอาศัยอยู่ในเศษซากพืช การป้องกันกำจัดจึงควรทำดังนี้

1. ทำลายเศษซากพืชที่เป็นโรค

2. ใช้เมล็ดที่ปราศจากโรค

3. คลุกยาคลุกเมล็ด เช่น ไดเทนเอ็ม 45 ชนิดสีแดงเสียก่อนปลูก

4. ปลูกพืชหมุนเวียน 3 ปี

5. ฉีดพ่นด้วย ไอเอส

5.2 โรคใบจุดเกิดจากเชื้อราเซอคอสปอรา

ลักษณะอาการของโรค

จุดของแผลมีขนาดเล็กเป็นรูปกลมหรือเหลี่ยมมีสีน้ำตาล กลาง ๆ จุด มีสีขาวหรือน้ำตาลอ่อนขอบของแผลมีสีม่วง หรือน้ำตาลอ่อน ส่วนมากเกิดด้านใบ

สาเหตุของโรค

โรคนี้เกิดจากเชื้อรา Cercospora citrullina Cook

การป้องกันกำจัด

ใช้วิธีเดียวกับโรคที่เกิดจากเชื้อออเทอนาเรีย

6. โรคใบแห้ง (Corynespora blight)

แตงกวาเป็นโรคได้ง่าย

ลักษณะอาการของโรค

ลักษณะของแผลที่ใบจะกลมหรือเหลี่ยมมีสีน้ำตาล กลาง ๆ แผลมีสีเขียวหรือเหลือง เมื่อมีแผลมากและแผลมีขนาดใหญ่ขึ้น ใบจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลและแห้งตาย แผลบนกิ่งก้าน มีลักษณะยาวตามส่วนของพืช ผลที่ถูกเชื้อเข้าทำลายมักจะเป็นผลที่แก่และผลที่มีสีเหลือง ใบหรือผลอ่อนที่มีสีเขียวเชื้อราชนิดนี้จะไม่เข้าทำลาย

สาเหตุของโรค

โรคนี้เกิดจากเชื้อรา Corynespora melonia (Cooke) Lindan

การป้องกันกำจัด

1. ทำลายเศษซากพืชที่เป็นโรคและเศษซากพืชหลังเก็บเกี่ยว

2. ใช้ยาเบนเลท ไดเทนเอ็ม 45 หรือ ไดโฟลาแทน ชนิดใดชนิดหนึ่งในการป้องกันกำจัดแต่จากการทดลองพบว่ายาเบนเลทใช้ได้ผลดี

7. โรคดอกเน่า (Choanephora wet-rot)

พืชที่เป็นโรคนี้ได้แก่ น้ำเต้า ฟักทอง และพืชอื่น ๆ

ลักษณะอาการของโรค

บริเวณที่เป็นโรคจะเป็นจุดสีดำขนาดเท่าหัวเข็มหมุด ฉ่ำน้ำและเน่าเละมักเป็นโรคบริเวณยอดอ่อน ๆ และยอดที่กำลังมีดอกโดยยอดจะมีสีซีดกว่ายอดปกติ ต่อมายอดและผลอ่อนจะแห้ง ส่วนมากจะพบโรคนี้ในเวลาที่มีฝนตากชุกและมีน้ำค้างหรือหมอกลงจัด

สาเหตุของโรค

โรคนี้เกิดจากเชื้อรา Choanephora cucurbitarum

การป้องกันกำจัด

ใช้ยาซาพรอล หรือไดโฟลาแทน อัตราส่วนตามข้างสลาก ฉีดพ่นทุก ๆ 5-7 วัน

8. โรคผลเน่า

โรคผลเน่าที่พบมากเกิดจากเชื้อรา 2 ชนิด และเป็นมากกับแตงโมและแตงกวา

8.1 โรคผลเน่าเกิดจากเชื้อพิเทียม (Pythium Fruit rot)

ใช้ยาริดโดมิล เอ็มแซด 72 หรือไดโฟลาแทนหรือซาพรอล อัตราส่วนตามข้างสลาก ฉีดพ่นทุก ๆ 5-7 วัน

ลักษณะอาการของโรค

จะพบโรคนี้ทั้งที่ผลและที่ราก อาการที่ผลจะเน่าและมักพบเส้นใยสีขาวของเชื้อราปกคลุมอยู่ที่ผิวของผล ถ้าเกิดที่รากจะทำให้รากเน่า

สาเหตุของโรค

เกิดจากเชื้อรา Pythium spp.

8.2 โรคผลเน่าเกิดจากเชื้อดิพโพเดีย (Diplodia fruit rot)

แตงโมเป็นโรคนี้ได้มากที่สุด นอกจากนี้มีแตงกวา และแคนตาลูป

ลักษณะอาการของโรค

เมื่อกดดูบริเวณขั้วของแตงโมที่เป็นโรคจะบุ๋ม เชื้อราจะเข้าบริเวณขั้วก่อนเนื้อเยื่อที่ติดกับขั้วจะเน่าและฉ่ำน้ำ อาการเน่าเกิดขึ้นเร็วมาก เมื่อเป็นมาก ๆ ผลแตงจะมีสีดำ ถ้าอากาศชื้น ๆ จะพบเชื้อราสีเทา คลุมอยู่ที่ผล ถ้าพบเป็นโรคในผลที่ยังอ่อนเชื้อราจะเข้ามาบริเวณปลายผล มีอาการเหมือนบริเวณที่ขั้วของผลแตงโมที่ถูกเชื้อชนิดนี้เข้าทำลาย โดยมีสีอ่อนกว่าบริเวณที่ไม่ถูกเชื้อเข้าทำลาย เมื่อแผลมีขนาดใหญ่สีของแผลจะเข้ม พบเชื้อราบริเวณผิวแตงเห็นได้ชัดเจน ต่อมาผิวแตงจะแห้ง เชื้อราชนิดนี้ทำให้เกิดอาการผลเน่าได้เช่นเดียวกับเชื้อราชนิดแรกที่กล่าวมาแล้ว

สาเหตุของโรค

เกิดจากเชื้อรา (Diplodia gossypina coke)

การป้องกันกำจัด

1. ฉีดพ่นยาป้องกันกำจัดเชื้อรา

9. โรครากปม

การปลูกแตงโมในที่บางแห่งมีปัญหาโรครากปมระบาดมาก โรคนี้ไม่ทำให้เถาแตงโมตายแต่ก็ทำให้แตงแคระแกรนไม่ใคร่เจริญเติบโต ทำให้ผลผลิตตกต่ำ

ลักษณะอาการของโรค

ยอดแตงแสดงอาการชูตั้งชันและไม่เจริญยืดยาวออกไป ในเวลากลางวันที่มีอากาศร้อน เถาแตงจะแสดงอาการเหี่ยวและฟื้นเป็นปกติในเวลากลางคืนอีก ถ้าถอนต้นแตงตรวจดูจะพบรากบวมเป็นปมขนาดต่าง ๆ กัน ไม่มีรากฝอยซึ่งเป็นสาเหตุให้การดูดอาหารและน้ำที่รากไม่เป็นปกติเกิดการอุดตันขึ้นเพราะเชื้อโรคเข้าไปอาศัยอยู่และไปกระตุ้นให้เซลส์ของรากโตและมีระบบเนื้อเยื่อรากผิดปกติไป

สาเหตุของโรค

เกิดจากไส้เดือนฝอยชนิดหนึ่ง Meloidogyne spp. ซึ่งตัวเมียจะไชเข้าไปอาศัยอยู่ในราก ทำให้รากบวมโตเป็นปมและแย่งอาหารจากราก

การป้องกันกำจัด

1. ใช้ยาฟูราดาน อัตรา 3 กรัม รองก้นหลุมเมื่อปลูก

2. ควรใช้ปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ยคอกและกากพืชเพื่อปรับปรุงดินจะช่วยลดปริมาณการเป็นโรคลง โดยเฉพาะการปลูกในดินร่วนปนทราย

3. ถอนต้นพืชที่เป็นโรคทิ้งเพื่อกำจัดไข่ตัวเมียที่จะแพร่ระบาดในแปลง

หมายเหตุ ในดินเหนียวและดินที่มีอินทรีย์วัตถุมาก ๆ ไม่ค่อยเป็นโรคนี้

10. โรคยอดหงิกใบด่าง

โรคยอดหงิกใบด่างของแตงโมและพืชอื่น ๆ เกิดจากเชื้อวิสาซึ่งมีศัตรูจำพวกปากดูดเป็นตัวนำเชื้อโรคให้แพร่ระบาดติดต่อกัน จัดว่าเป็นโรคที่สำคัญอีกโรคหนึ่ง ทำความเสียหายมากเพราะจะทำให้ต้นที่เป็นโรคไม่ผลิดอกออกผล หรือมีผลเล็กผิดปกติ

ลักษณะอาการของโรค

พืชจะแสดงอาการใบมีสีเขียวและเหลืองด่างลายประปรายทั่วใบและเนื้อใบหยักเป็นคลื่น ใบเล็กลง ยอดตั้งชันและชงักการเจริญเติบโต ยอดหก ไม่ผลิดอกออกผลต่อไป

สาเหตุของโรค

โรคนี้เกิดจากเชื้อวิสาที่มีศัตรูจำพวกปากดูดเช่น แมลงหวี่ขาว เพลี้ยไฟและเพลี้ยอ่อนเป็นพาหะนำโรคจากต้นที่เป็นโรคติดต่อไปยังต้นดีได้ง่าย เชื้อวิสาของแตงโมมีหลายชนิดซึ่งทำให้เกิดอาการใกล้เคียงกัน

การป้องกันกำจัด

เนื่องจากมีศัตรูพืชเป็นตัวนำโรคจึงต้องป้องกันมิให้มีศัตรูดังกล่าวระบาดโดยการฉีดพ่นยาฆ่าแมลงประเภทดูดซึม เช่น แลนเนท และเซวิน กำจัดพวกเพลี้ยไฟและเพลี้ยอ่อน และถอนทำลายต้นที่แสดงอาการเป็นโรคออกไปจากไร่ จะช่วยลดโรคนี้หรือป้องกันโรคนี้ได้

หมายเหตุ ศัตรูพวกนี้มีขนาดเล็กมาก แต่พอจะสังเกตเห็นได้ด้วยตาเปล่า เพลี้ยไฟตัวเรียวยาวสีเหลืองอมส้ม เคลื่อนไหวรวดเร็ว ตัวแก่มีสีดำและบินได้

Main Content Reference:
กลุ่มงานวิจัยโรคพืชผักและไม้ประดับ กองโรคพืชและจุลชีวเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
thaikasetsart.com
อ่าน:3924
🔥โรคราสนิม ในพืชต่างๆ ใช้ ไอเอส
🔥โรคราสนิม ในพืชต่างๆ ใช้ ไอเอส
ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล กิ่งแห้ง โรคใบติด โรคราน้ำค้าง ราสนิม แอนแทรคโนส ไฟธอปโทร่า หรือ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ไอเอส หยุดโรค และ FK-1 บำรุงให้แข็งแรง โตไว ผลผลิตดี สร้างภูมิคุ้มกันโรค

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด
✅ราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับปริมาณ ซีซี ที่ได้

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ไอเอส http://www.farmkaset..link..
FK-1 http://www.farmkaset..link..
ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ไอเอส http://www.farmkaset..link..

FK-1 http://www.farmkaset..link..

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..


ข้อมูลและอัตราผสมใช้

🍂 การใช้ ไอเอส : ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด


ข้อมูลและอัตราผสมใช้

🍂 ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🌿 ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี [FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด


🍂ข้อมูล ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค
*การใช้ ไอเอส ในช่วงรักษาโรคพืชจากเชื้อรา กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿ข้อมูล FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig's law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
อ่าน:3922
การเลือกพันธุ์มันสำปะหลัง ให้เหมาะกับดิน และสภาพพื้นที่ปลูก
การเลือกพันธุ์มันสำปะหลัง ให้เหมาะกับดิน และสภาพพื้นที่ปลูก
การเลือกพันธุ์มันสำปะหลัง ให้เหมาะกับดิน และสภาพพื้นที่ปลูก
ดินทราย
- เนื้อดินมีลักษณะหยาบ (ทรายจัด)
- ความอุดมสมบูรณ์ต่ำมาก
- การระบายน้ำดีมาก
- พบมากในภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

พันธุ์มันสำปะหลัง ที่เหมาะสมกับดินทราย
- มันสำปะหลังพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50
- มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 72

ดินร่วนปนทราย
- เนื้อดินค่อนข้างหยาบ
- ความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต่ำ
- การระบายน้ำดี
- พบมากในทุกภาค

พันธุ์มันสำปะหลัง ที่เหมาะสมกับดินร่วนปนทราย
- มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 7
- มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 9
- มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 90
- มันสำปะหลังพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50

ดินร่วนปนเหนียว
- เนื้อดินปานกลางถึงค่อนข้างละเอียด
- ความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึงค่อนข้างดี
- การระบายน้ำปานกลาง
- พบมากในทุกภาค

พันธุ์มันสำปะหลัง ที่เหมาะสมกับดินร่วนปนเหนียว
- มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 5
- มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 7
- มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 11
- มันสำปะหลังพันธุ์ห้วยบง 80

ดินด่างหรือดินที่มีหินปูนปะปน
- เนื้อดินปานกลาง
- มีเม็ดปูนปะปนสะสมที่ความลึกตั้งแต่ 50-100 เซนติเมตร
- ความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึงสูง
- การระบายน้ำปานกลางถึงดี
- มักมีปัญหาการขาดธาตุเหล็ก สังกะสี กำมะถัน
- พบมากตามที่ลาดเชิงเขาใกล้ภูเขาหินปูนในภาคกลาง ภาคตะวันตก และภาคเหนือ

พันธุ์มันสำปะหลัง ที่เหมาะสมกับดินด่าง หรือดินที่มีหินปูนปะปน
- มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 5
- มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 11

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
ยากำจัดโรคใบจุด ใน ดอกดาวเรือง โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
ยากำจัดโรคใบจุด ใน ดอกดาวเรือง โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
ยากำจัดโรคใบจุด ใน ดอกดาวเรือง โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
ดอกดาวเรืองซึ่งมีสีสันสดใสและกลีบดอกที่บอบบางเป็นที่ชื่นชอบของผู้ชื่นชอบการทำสวนมาช้านาน อย่างไรก็ตาม ดอกไม้ที่สวยงามเหล่านี้ไม่มีภูมิคุ้มกันต่อโรคใบจุด ซึ่งเป็นเชื้อราทั่วไปที่สามารถทำลายลักษณะที่ปรากฏและขัดขวางการเจริญเติบโตได้ ในการแสวงหาวิธีแก้ปัญหาที่ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ นักวิจัยได้พัฒนา IS ซึ่งเป็นสารต้านเชื้อราอินทรีย์ที่ได้จากส่วนผสมจากธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยและพัฒนาอย่างกว้างขวาง IS ได้กลายเป็นโซลูชันที่มีประสิทธิภาพสูง กำจัดโรคใบจุดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันก็รับประกันความปลอดภัยของผู้ใช้และสิ่งแวดล้อม

การควบคุมและยับยั้งเชื้อรา:
กุญแจสู่ความสำเร็จของ IS อยู่ที่ความสามารถในการควบคุมและยับยั้งเชื้อราโดยการสร้างสภาวะที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการเจริญเติบโตและการแพร่กระจายของเชื้อรา เทคโนโลยีที่ใช้ใน IS มุ่งเน้นไปที่การควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ซึ่งเชื้อรามักจะหาที่อยู่อาศัยที่เอื้ออำนวย โดยการเปลี่ยนแปลงสภาวะที่เชื้อราเจริญเติบโต IS จะรบกวนวงจรชีวิตของพวกมัน ป้องกันการโจมตีและการแพร่กระจายของโรคใบจุด

การปฏิบัติตามอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้น:
คุณสมบัติที่โดดเด่นอย่างหนึ่งของ IS คือความสามารถที่เพิ่มขึ้นในการยึดติดกับพื้นผิวใบพืช ด้วยสูตรและการออกแบบที่เป็นนวัตกรรมใหม่ IS ได้รับการครอบคลุมที่ดีขึ้นและคงอยู่ได้นานขึ้น เพิ่มประสิทธิภาพสูงสุด คุณลักษณะนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการป้องกันการติดเชื้อราในระยะยาว ด้วย IS ส่วนผสมที่ออกฤทธิ์จะกระจายอย่างมีประสิทธิภาพทั่วผิวใบ ทำให้มั่นใจได้ถึงการป้องกันเชื้อโรคอย่างครอบคลุม

ส่วนผสมจากธรรมชาติเพื่อความปลอดภัย:
องค์ประกอบอินทรีย์ของ IS เป็นเครื่องพิสูจน์ถึงความมุ่งมั่นในด้านความปลอดภัย ด้วยการใช้ส่วนผสมจากธรรมชาติทั้งหมด จึงเป็นทางเลือกที่ไม่เป็นพิษและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมแทนสารต้านเชื้อราที่ใช้สารเคมีแบบดั้งเดิม ชาวสวนและผู้ใช้สามารถใช้ IS ได้อย่างมั่นใจโดยไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับผลกระทบที่เป็นอันตรายต่อตนเอง พืช หรือระบบนิเวศ แนวทางธรรมชาตินี้ไม่เพียงแต่เป็นประโยชน์สำหรับผู้ใช้เท่านั้น แต่ยังสอดคล้องกับแนวปฏิบัติในการทำสวนแบบยั่งยืนอีกด้วย

วิจัยและพัฒนา:
IS เป็นผลมาจากการวิจัยและพัฒนาอย่างกว้างขวาง โดยนักวิทยาศาสตร์ได้ทุ่มเทเวลานับไม่ถ้วนในการปรับปรุงสูตรให้สมบูรณ์แบบ ด้วยการทดสอบและวิเคราะห์อย่างเข้มงวด พวกเขาจึงมั่นใจได้ว่า IS ให้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดในขณะที่ยังคงความอ่อนโยนต่อพืช นอกจากนี้ นักวิจัยยังคงค้นหาวิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพของ IS โดยคำนึงถึงความคิดเห็นจากผู้ใช้และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีต้านเชื้อรา

ใบสมัครและผลลัพธ์:
หากต้องการใช้ IS เพียงทำตามคำแนะนำที่ให้ไว้สำหรับใช้กับต้นดาวเรือง คุณสามารถสร้างเกราะป้องกันโรคใบจุดได้โดยการฉีดพ่นละอองละเอียดทั่วใบพืช การใช้เป็นประจำ โดยเฉพาะในช่วงที่มีความชื้นสูงหรือเมื่อพืชอ่อนแอต่อการติดเชื้อรา สามารถป้องกันและกำจัดโรคใบจุดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้ดอกดาวเรืองมีความสวยงามและแข็งแรง

บทสรุป:
IS แสดงถึงความก้าวหน้าในเทคโนโลยีต้านเชื้อราอินทรีย์ ซึ่งออกแบบมาเพื่อต่อสู้กับโรคใบจุดในดอกดาวเรืองโดยเฉพาะ ด้วยสูตรนวัตกรรม IS ควบคุมและยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราในขณะที่ให้การยึดเกาะที่ดีเยี่ยมกับใบพืช นอกจากนี้ การใช้ส่วนผสมจากธรรมชาติล้วนทำให้มั่นใจได้ถึงความปลอดภัยต่อผู้ใช้ พืช และสิ่งแวดล้อม ด้วย IS ชาวสวนสามารถเพลิดเพลินกับดอกดาวเรืองที่แข็งแรงและสดใส ปราศจากข้อจำกัดของการติดเชื้อรา โอบรับพลังของ IS และสัมผัสกับประโยชน์แห่งการเปลี่ยนแปลงที่นำมาสู่สวนดอกดาวเรืองของคุณ

ไอเอส ขนาด 3 ลิตร
อัตรส่วนการใช้ 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
1 แกลลอน ผสมน้ำได้ 1200 ลิตร ใช้ได้ 15 ไร่


สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link... และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
ทำไม ชื่อสายพันธุ์ โควิด-19 จึงเป็น แอลฟ่า เบต้า เดลต้า แกมม่า
ทำไม ชื่อสายพันธุ์ โควิด-19 จึงเป็น แอลฟ่า เบต้า เดลต้า แกมม่า
เราก็สงสัยอยู่นานพอสมควร ในครั้งแรก ที่ได้ยินว่า โควิด-19 กลายพันธุ์ พบครั้งแรกที่ประเทศอินเดีย มีชื่อว่า โควิด-19 สายพันธุ์ เดลต้า (Delta) ซึ่งมีการระบาดรุนแรง และรวดเร็วกว่าเดิม และวัคซีนที่มีปัจจุบัน หลายตัว ก็อาจจะไม่สามารถป้องกันได้

สักพักหนึ่ง ก็ได้ยินมาอีกว่า มี โควิด-19 สายพันธุ์ แอลฟ่า เบต้า แกมม่า ตามมาอีก และยังมีอีกเยอะเลย

จริงๆแล้ว เป็นอักษร กรีก นะ

จะเรียงเป็น ตัวอักษรเล็ก ตัวอักษรใหญ่ คำอ่านอังกฤษ คำอ่านไทยนะ
α Α alpha แอลฟา
β B beta บีตา
γ Γ gamma แกมมา
δ Δ delta เดลตา

จริงๆมีอีกเยอะ ที่นิยมใช้กัน เช่น λ แลมด้า Ω โอเมก้า Σ ซิกม่า ทำนองนี้

มันก็แปลกดี แต่คงมีเหตุผล ที่ตัวอักษรกรีก นิยม นำไปใช้ในหลายๆวงการเลย คณิตศาสตร์ วงการแพทย์ ซอฟแวร์ คอมพิวเตอร์

อย่างเช่นในวงการซอฟแวร์คอมพิวเตอร์

ซอฟแวร์ที่เป็น เวอร์ชั่น แอลฟ่า (alpha) นั้น เช่น ระบุว่า Version 1.1 alpha หมายถึง ซอฟแวร์ตัวนี้ ถูกปล่อยให้ใช้เป็นการทดสอบ ภายในองค์กร หรือในกลุ่มคนในวงจำกัดเท่านั้น เนื่องจาก กำลังพัฒนา หรือพัฒนาเสร็จแล้ว แต่.. ยังไม่แน่ใจว่าจะมี Bug หรือข้อผิดพลาดเกิดขึ้นในระหว่างใช้งานหรือไม่

ซอฟแวร์ที่เป็น เวอร์ชั่น เบต้า (beta) นั้น เช่น ระบุว่า Version 1.2 beta หมายถึง ซอฟแวร์ตัวนี้ ถูกปล่อยให้ผู้ใช้จำนวนมาก สามารถนำไปใช้งานจริงได้แล้ว แต่ว่า.. ผู้ใช้โปรดรู้ไว้นะ ว่ายังเป็น beta version อยู่ อาจจะมี bug มีข้อผิดพลาดอยู่บ้าง ถ้าเจออย่างว่ากันนะ แจ้งให้ทราบด้วยยิ่งดี

หลังจาก ปล่อยตัว beta ไปสักระยะ จนมั่นใจแล้ว ว่าไม่มี bug หรือข้อผิดพลาดเลย ก็อาจจะปล่อยตัวเต็มมาขาย เป็นเวอร์ชั่น 2.0 เช่นนี้ เป็นต้น

ที่นี้ โรค โควิด-19 ล่ะ แอลฟ่า เบต้า เดลต้า แกมม่า นี่คืออะไร ?

จริงๆแล้วเป็นการตั้งชื่อให้แตกต่าง เพื่อให้ทราบว่า เป็นโควิด-19 แต่ละสายพันธุ์ เพื่อให้ทราบที่มา และสื่อสารกันเข้าใจ เหมือนการตั้งชื่อทั่วไปเลย และ บังเอิญ เขาก็เลือกใช้ ตัว อักษร กรีก เหล่านี้ มาห้อยทายคำว่า โควิด-19 เพื่อบอกถึงสายพันธุ์ต่างๆ

แทนที่จะระบุไปเลย ว่า โควิด-19 สายพันธุ์อินเดีย โควิด-19 สายพันธุ์อังกฤษ มันอาจจะทำให้หลายๆคนมองภาพ และไปโทษเอาว่า นี่นะ โควิด-19 สายพันธุ์นี้ เป็นเพราะประเทศนี้ ประเทศนั้น มันอาจจะทำให้เกิดความแตกแยก โทษกันไป โทษกันมา เหมือนการไปว่าเขาด้วย ก็เลยเอาตัวอักษรกรีก มาระบุลงไป แทนการเรียกสายพันธุ์ต่างๆ
3582 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 358 หน้า, หน้าที่ 359 มี 2 รายการ
|-Page 16 of 359-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 | 358 | 359 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ต้นถั่วลิสง ใบไหม้ ใบจุด ใบเหลือง โคนเน่าขาว โรคแอนแทรกโนส ราสนิม โรคราต่างๆ ป้องกันและกำจัดด้วย ไอเอส และ ฟื้นฟู FK-T
Update: 2567/03/20 11:57:51 - Views: 3679
แตงโมใบไหม้ แตงโมใบแห้ง โรคราแตงโม แก้ด้วย ไอเอส
Update: 2564/08/12 00:07:53 - Views: 4449
โรคพืช
Update: 2564/03/10 12:22:48 - Views: 4009
การจัดการกับศัตรูพืช: วิธีการป้องกันและกำจัดหนอนในต้นมันเทศ
Update: 2566/11/17 14:17:19 - Views: 3561
พริกไทย โตไว ใบเขียว เม็ดใหญ่ ผลผลิตดี ฉีดพ่นปุ๋ย FK-1 ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4เท่าเพิ่มผลผลิตสูงสุด 20เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/04/29 10:20:34 - Views: 3469
การปลูกบวบ
Update: 2564/08/09 22:32:27 - Views: 3578
การควบคุมโรคเชื้อราในต้นสับปะรดอย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2566/05/04 09:42:03 - Views: 3489
มะเขือใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ใบเหลือง ใบแห้ง โรคราต่างๆในมะเขือ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/07 22:48:49 - Views: 4161
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนแมลงวันผลไม้ ใน ชมพู่ และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/03 13:59:01 - Views: 3562
กล้วย ผลใหญ่ หวีใหญ่ ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์ 0-0-60 โพแทสเซี่ยม สูตรเร่งผล เพิ่มผลผลิต ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก และคุณภาพ
Update: 2567/04/22 11:00:02 - Views: 3651
ลองกอง การเพิ่มผลผลิตในฤดูและนอกฤดู
Update: 2564/06/05 12:06:02 - Views: 3962
โรคใบไหม้ของต้นมะยงชิด
Update: 2566/05/17 12:01:33 - Views: 3885
ดอกปทุมมา รากเน่า โคนเน่า กำจัดโรคดอกปทุมมา จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/08 11:02:19 - Views: 3452
การควบคุมวัชพืชอย่างมีประสิทธิภาพในสวนมะนาวโดยใช้คาร์รอน (Diuron 80% WG)
Update: 2567/02/13 09:17:31 - Views: 3698
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยจักจั่น ในมะปราง มะยงชิด และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/20 13:08:16 - Views: 3612
ถั่วลิสง ใบไหม้ ยอดไหม้ ใบจุด แอนแทรคโนส รากเน่า ราแป้ง ราสนิม โรคราต่างๆ กำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟูด้วย ปุ๋ย FK-T
Update: 2567/04/04 10:50:58 - Views: 3619
การเลือกซื้อ ดาบ คาตานะ ดาบซามูไร ให้ได้คุณภาพดี ในราคาไม่แพง
Update: 2566/10/28 12:32:08 - Views: 11065
อินทผลัมใบไหม้ อินทผาลัมใบแห้ง จุดสนิม โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู โตไว ผลผลิตดี
Update: 2564/09/15 05:36:06 - Views: 4345
การปลูกหอมแดง ให้ผลผลิตดี ใช้ ฮิวมิคFK ตามระยะการเจริญเติบโต
Update: 2567/11/17 09:34:30 - Views: 155
การจัดการและควบคุมหนอนในต้นโกโก้: วิธีป้องกันและลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้น
Update: 2566/11/11 09:37:43 - Views: 3561
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022