[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3517 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 7 รายการ

 
ถั่วเขียวระวัง หนอนแมลงวันเจาะลำต้นถั่ว หนอนกระทู้ผัก หนอนม้วนใบ
ถั่วเขียวระวัง หนอนแมลงวันเจาะลำต้นถั่ว หนอนกระทู้ผัก หนอนม้วนใบ
ถั่วเขียวระวัง หนอนแมลงวันเจาะลำต้นถั่ว หนอนกระทู้ผัก หนอนม้วนใบ
หนอนแมลงวันเจาะลำต้นถั่ว ตัวหนอนเมื่อฟักออกมาจากไข่ชอนไชตามเส้นใบไปที่ก้านใบ เพื่อเข้าไปกัดกินเนื้อเยื่อของลำต้นบริเวณไส้กลางลำต้น ส่งผลทำให้ผลผลิตถั่วเขียวลดลงมากกว่า 50%

หนอนกระทู้ผัก หนอนที่ฟักออกมาจากไข่ใหม่ๆ อยู่รวมกันเป็นกลุ่มแทะผิวใบด้านล่าง กัดกินจากขอบใบเข้าไป ทำให้เหลือแต่ผิวใบด้านบนจนมองเห็นใบโปร่งใสคล้ายร่างแห เมื่อโตขึ้นจะแยกกลุ่มออกไปกัดกินใบทั่วทั้งแปลง ส่งผลทำให้ผลผลิตถั่วเขียวลดลง

ส่วน หนอนม้วนใบ หนอนที่ฟักออกจากไข่ใหม่ๆ อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม และชักใยบางคลุมตัวไว้แล้วกัดกินผิวใบ เมื่อโตขึ้นจะกระจายกันออกไปชักใยดึงเอาใบมาห่อรวมกัน อาศัยกัดกินอยู่ภายในใบที่ม้วนจนหมด จะเคลื่อนย้ายไปทำลายใบอื่นต่อไป

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
โรคราน้ำค้าง แตงร้าน แตงกวา พืชตระกูลแตง แก้ได้ด้วย ไอเอส
โรคราน้ำค้าง แตงร้าน แตงกวา พืชตระกูลแตง แก้ได้ด้วย ไอเอส
โรคราน้ำค้าง แตงร้าน แตงกวา พืชตระกูลแตง แก้ได้ด้วย ไอเอส

โรครานํ้าค้าง (downy mildew)

โรคราน้ำค้างของแตงตามรายงานมีผู้พบครั้งแรกในประเทศคิวบา เมื่อราวปี ค.ศ. 1864 หลังจากนั้นก็ปรากฏว่าเป็นโรคที่ระบาดแพร่หลายทั่วโลก โดยเฉพาะในท้องถิ่นที่มีความชื้นสูงอุณหภูมิต่ำ แตงที่ได้รับความเสียหายจากโรคนี้มากได้แก่ แตงกวา แตงร้าน แคนทาลูป แตงไทย ส่วนพวกฟักทอง สคว๊อช ฟักแฟง บวบ เสียหายรองลงมา สำหรับแตงโมพบเป็นบ้างแต่ไม่มากและร้ายแรงนัก

.

อาการโรคราน้ำค้าง

อาการส่วนใหญ่จะเกิดบนใบ โดยจะเริ่มจากจุดแผลสีเขียว

ซีดขึ้นก่อน ต่อมาจะค่อยๆ ขยายโตขึ้นเป็นสีเหลืองและมีขอบเขตเป็นเหลี่ยมตามแนวหรือข่ายของเส้น vein ขณะเดียวกันหากความชื้นในอากาศสูง เช่น ในระยะที่มีฝนปรอย หรือหมอกนํ้าค้างจัด ทางด้านใต้ใบตรงกับจุดแผลที่เกิดขึ้น จะพบกลุ่มของเส้นใยและสปอร์ของเชื้อสาเหตุลักษณะเป็นขุย หรือผงสีเทา ซึ่งเมื่อแก่หรือแผลแห้งจะเปลี่ยนเป็นสีนํ้าตาล ในกรณีที่เกิดโรครุนแรงและสิ่งแวดส้อมเหมาะสม ใบส่วนใหญ่ที่มีอยู่ในต้นอาจถูกเชื้อเข้าทำลายอย่างรุนแรง ทำให้ใบทั้งใบแห้งตาย ต้นจะโทรมอาจถึงตายได้ทั้งต้น สำหรับลูกแตงมักจะไม่ถูกเชื้อเข้าทำลายโดยตรง แต่เมื่อต้นเป็นโรคก็จะมีผลทางอ้อม เช่น เจริญเติบโตไม่เต็มที่ แกร็น คุณภาพและรสเสียไป

.

สาเหตุโรค : Pseudoperonospora cubensis

เป็นราชั้นต่ำใน Class Phycomycetes ซึ่งขยายพันธุ์ได้ทั้งมีและไม่มีการผสมทางเพศ โดยการเกิดสปอร์ที่มีหางเคลื่อนไหวได้ ผงหรือขุยสีเทาและน้ำตาลที่เกิดขึ้นด้านใต้ใบตรงกับจุดแผลสีเหลืองด้านบน คือ กลุ่มของสปอร์ที่มีรูปร่างคล้ายมะนาวฝรั่ง (lemon-shaped) ซึ่งเกิดบนก้าน (sporangiophore) ที่มีปลายแยกออกเป็นคู่ (dichotomously branches) สปอร์เมื่อแก่ก็จะหลุดออกจากก้านปลิวไปตามลม นํ้า เครื่องมือกสิกรรม เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มของกสิกรผู้ปลูก หรือผู้ปฏิบัติเกี่ยวกับต้นแตงดังกล่าว เมื่อตกลงบนพืชสิ่งแวดล้อมเหมาะสมก็จะงอกเป็น zoospore หรือ swarm cell มีทาง 2 เส้น ว่ายน้ำเคลื่อนไหวอยู่ระยะหนึ่ง แล้วจึงทิ้งหางเข้าซีสต์ (cyst) เป็นเม็ดกลมๆ ต่อมาจึงจะงอกออกมาเป็นเส้นใย (germ tube) เข้าทำลายพืชได้ กระบวนการทั้งหมดนี้ จะกินเวลาราว 24 ชั่วโมง หลังจากเข้าไปเจริญเติบโตอยู่ในพืชแล้วก็จะสร้างสปอร์ใหม่ขึ้นได้อีกภายใน 4-5 วัน

สำหรับการอยู่ข้ามฤดูของเชื้อ เนื่องจากราน้ำค้างเป็น obligate parasite ไม่สามารถอาศัยเกาะกินเศษซากพืช เพื่อความอยู่รอดชั่วคราวได้เหมือน parasite ธรรมดาอื่นๆ เมื่อหมดฤดูปลูกพืชจริง จึงต้องหาวัชพืชหรือต้นแตงที่ยังมีชีวิตอยู่ เช่น ต้นที่หลงเหลือจากการเก็บเกี่ยว ต้นที่งอกขึ้นมาเอง (volunteer seedling) สำหรับอาศัยอยู่ชั่วคราว นอกจากนั้นก็มีผู้พบว่าเชื้อ P. cubensis มีการสร้าง sexual spore คือ oospore ที่มีผนังหนาคงทนต่อสิ่งแวดล้อมที่ผิดปกติ เช่น ความร้อน ความแห้งได้นานกว่าสปอร์ธรรมดา จึงเชื่อกันว่าเชื้ออาจอยู่ข้ามฤดูได้ในลักษณะนี้อีกวิธีหนึ่ง

.
สิ่งแวดล้อมที่ช่วยส่งเสริมการเกิดและความรุนแรงของโรค

ก็เช่นเดียวกับราน้ำค้างทั่วๆ ไป คือ ชอบอุณหภูมิที่ค่อนข้างเย็นและความชื้นสูงในการเกิด และการเข้าทำลายพืช โรคราน้ำค้างของแตงจะเจริญเติบโตระบาดได้ดีในช่วงของอุณหภูมิระหว่าง 16 – 27° ซ. แต่จะดีที่สุดที่ 20° ซ. ส่วนความชื้นนั้นต้องสูงเกินกว่า 86% ขึ้นไป

.

ป้องกัน และแก้ไข โรคราต่างๆ โรคราน้ำค้าง ที่เกิดขึ้นกับพืชตระกูลแตง ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งเชื้อรา ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า เลือก ไอเอส https://www.lazada.co.th/..

อ่าน:3528
การใช้คาร์รอน (Diuron 80% WG) ในการกำจัดหญ้าและวัชพืชในสวนมะละกอ
การใช้คาร์รอน (Diuron 80% WG) ในการกำจัดหญ้าและวัชพืชในสวนมะละกอ
การใช้คาร์รอน (Diuron 80% WG) ในการกำจัดหญ้าและวัชพืชในสวนมะละกอ
การดูแลสวนมะละกอไม่เพียงแต่ต้องให้พืชเจริญเติบโตแข็งแรงเท่านั้น แต่ยังต้องรักษาพื้นที่ในสวนให้ปลอดหญ้าและวัชพืชที่สามารถลดผลผลิตของมะละกอได้ การใช้สารป้องกันและกำจัดวัชพืชที่เหมาะสมเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการดูแลสวน ในบทความนี้จะกล่าวถึงการใช้คาร์รอน (Diuron 80% WG) เพื่อการควบคุมหญ้าและวัชพืชในสวนมะละกออย่างมีประสิทธิภาพ

1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคาร์รอน (Diuron 80% WG)
คาร์รอน (Diuron) เป็นสารป้องกันและกำจัดวัชพืชที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมหญ้าในสวนมะละกอ มีรูปแบบการจำหน่ายเป็นผง (Water Dispersible Granule - WG) มีความเข้มข้น 80% ซึ่งทำให้มีประสิทธิภาพสูงในการกำจัดวัชพืช

2. ขั้นตอนการใช้คาร์รอน (Diuron)

2.1 การผสมรวม
ก่อนการใช้คาร์รอน (Diuron) ควรผสมรวมกับน้ำในอัตราที่แนะนำในฉลากสาร โดยการใช้สารทำละลายที่เหมาะสม

2.2 การประยุกต์ใช้
การพ่นทั่วทั้งสวน: การพ่นคาร์รอนทั่วทั้งสวนเพื่อป้องกันการเจริญเติบโตของหญ้าและวัชพืชที่อาจมีอยู่ในพื้นที่
การใช้รอบต้นมะละกอ: การพ่นคาร์รอนรอบต้นมะละกอเพื่อป้องกันการเจริญเติบโตของวัชพืชในบริเวณที่ใกล้ต้น

3. ประสิทธิภาพและข้อควรระวัง

3.1 ประสิทธิภาพ
คาร์รอน (Diuron) มีประสิทธิภาพต่อหลายชนิดของหญ้าและวัชพืช
สามารถควบคุมการเจริญเติบโตของวัชพืชใบกว้างและใบแคบได้

3.2 ข้อควรระวัง
หลีกเลี่ยงการพ่นในวันที่มีน้ำฝนหรือน้ำประปาเพราะอาจทำให้คาร์รอนถูกล้างไป
ควรใช้ในปริมาณที่แนะนำเท่านั้น เพื่อป้องกันความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับพืช

4. การจัดการหลังการใช้
หลังจากการใช้คาร์รอน (Diuron) ควรให้เวลาให้สารทำละลายในดินและติดตัวกับวัชพืชก่อนที่น้ำฝนจะตกหรือการให้น้ำ และหลีกเลี่ยงการไปขังอยู่ในที่น้ำขัง

การใช้คาร์รอน (Diuron 80% WG) เพื่อกำจัดหญ้าและวัชพืชในสวนมะละกอจึงเป็นส่วนสำคัญของกลยุทธ์การจัดการสวน เพื่อให้มะละกอเจริญเติบโตได้อย่างสมบูรณ์และมีผลผลิตที่คุ้มค่ามากขึ้นในระยะยาว


📌สั่งซื้อ สอบถาม

»โทร 097-918-3530
»ไลน์ janemini1112

🔎ซื้อกับลาซาด้า ช้อปปี้
.
» ซื้อคาร์รอน ที่ช้อปปี้: http://ไปที่..link..
.
» ซื้อคาร์รอน ที่ลาซาด้า: http://ไปที่..link..
อ่าน:3527
ผสมปุ๋ยสำหรับอ้อยตอ สูตร 15-5-20 ใช้เอง ลดต้นทุน เร่งอ้อยโตให้โตไวผลผลิตดี
ผสมปุ๋ยสำหรับอ้อยตอ สูตร 15-5-20 ใช้เอง ลดต้นทุน เร่งอ้อยโตให้โตไวผลผลิตดี
ผสมปุ๋ยสำหรับอ้อยตอ สูตร 15-5-20 ใช้เอง ลดต้นทุน เร่งอ้อยโตให้โตไวผลผลิตดี
อ้อยเป็นพืชที่ต้องใส่ใจทุกรายละเอียดในการใส่ปุ๋ย เพื่อให้แน่ใจว่าการเจริญเติบโตที่เหมาะสม จำเป็นต้องใช้สารอาหารในสัดส่วนที่ถูกต้อง อย่างไรก็ตาม การคำนวณสัดส่วนที่ถูกต้องอาจเป็นกระบวนการที่ซับซ้อนและใช้เวลานาน โชคดีที่มีเครื่องมือที่ช่วยให้เกษตรกรทำขั้นตอนนี้ได้ง่ายขึ้น นั่นคือ เว็บแอพ ช่วยผสมปุ๋ย ที่ http://ไปที่..link.. ที่จะให้คุณผสมปุ๋ยเป็นสูตรที่ต้องการใช้เอง ด้วยแม่ปุ๋ย 3 สูตร ลดต้นทุนได้เป็นอย่างมาก

เว็บแอพ ผสมปุ๋ย จาก ฟาร์มเกษตร ให้ใช้งานฟรี เป็นเครื่องมือที่ใช้งานง่าย ซึ่งทำให้ง่ายต่อการคำนวณสัดส่วนที่เหมาะสมของปุ๋ยต่างๆ เพื่อให้ได้สูตรที่ต้องการ ในกรณีนี้เราจะใช้แอพเพื่อกำหนดปริมาณปุ๋ย 46-0-0_ 18-46-0 และ 0-0-60 เพื่อผสมกันเพื่อสร้างสูตร 15-5-20 สำหรับอ้อยตอหลังการเก็บเกี่ยว .

ขั้นตอนที่ 1: ใส่สูตรที่ต้องการ

ในการเริ่มต้น ให้ไปที่ Web App ส่วนผสมปุ๋ย ที่ http://ไปที่..link.. แล้วป้อนสูตรที่ต้องการในส่วน "ส่วนผสมเป้าหมาย" ในกรณีนี้ ให้ป้อน "15-5-20" สูตรนี้แสดงถึงสัดส่วนไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) ที่ต้องการสำหรับอ้อยตอ

ขั้นตอนที่ 2: ป้อนข้อมูลปุ๋ย

จากนั้นเลือกแม่ปุ๋ยเป็น 46-0-0_ 18-46-0 และ 0-0-60 ตามลำดับ ซึ่งในที่นี้ ระบบจะเลือกให้อยู่แล้ว ไม่ต้องเปลี่ยนอะไร

ขั้นตอนที่ 3: คำนวณสัดส่วน

คลิกที่ปุ่ม "คำนวณ" แล้วแอพจะกำหนดปริมาณปุ๋ยแต่ละชนิดที่ต้องใช้เพื่อให้ได้สูตร 15-5-20 ที่ต้องการ

ขั้นตอนที่ 4: ผสมปุ๋ย

ทำตามสัดส่วนที่แอปคำนวณเพื่อผสมปุ๋ย จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องผสมปุ๋ยให้ทั่วถึงเพื่อให้แน่ใจว่ามีการกระจายธาตุอาหารอย่างสม่ำเสมอ

สรุปได้ว่า เว็บ แอพผสมปุ๋ย เป็นเครื่องมืออันมีค่าสำหรับชาวไร่ที่ต้องการปุ๋ยในสัดส่วนที่เหมาะสมที่สุดสำหรับอ้อยตอของตน อินเทอร์เฟซที่เป็นมิตรต่อผู้ใช้ของแอปทำให้การคำนวณสัดส่วนที่เหมาะสมเป็นเรื่องง่ายและได้สูตรที่ต้องการอย่างง่ายดาย ลองใช้แอปวันนี้และดูตออ้อยของคุณเติบโตเต็มศักยภาพ
โรคลำไย โรคราดำลำไย ต้องป้องกันกำจัดที่ต้นเหตุ และต้นเหตุนั้นเกิดจากเพลี้ยต่างๆ ถ่ายน้ำหวานมาปกคลุม ทำให้เชื้อราในอากาศปลิวมาเกาะติด
โรคลำไย โรคราดำลำไย ต้องป้องกันกำจัดที่ต้นเหตุ และต้นเหตุนั้นเกิดจากเพลี้ยต่างๆ ถ่ายน้ำหวานมาปกคลุม ทำให้เชื้อราในอากาศปลิวมาเกาะติด
การทําลายของแมลงพวกปากดูด เพลี้ยแป้ง เพลี้ยต่างๆ แล้วถ่าย น้ําหวานมาปกคลุมส่วนต่างๆ ของลําไย เชื้อราที่มอยู่ในอากาศโดยเฉพาะเชื้อรา Capnodium ramosum_ Meliola euphoriae. จะปลิวมาขึ้นบนส่วนที่มีน้ําหวาน

ลักษณะอาการ

สีดําของเชื้อราขึ้นปกคลุมใบ กิ่ง ช่อดอก และผิวของผล ทําให้เห็นเป็นคราบสีดําคล้ายเขม่าบนใบที่ถูกเคลือบด้วยแผ่นคราบดําของเชื้อรานี้เมื่อแห้งจะหลุดออกเป็นแผ่นได้ง่าย เชื้อราไม่ได้ทําลายพืช โดยตรงแต่ไปลดการปรุงอาหารของใบ อาการที่ปรากฎที่ช่อดอกถ้าเป็นรุนแรงทําให้ดอกร่วงไม่สามารถผสมเกสรได้จึงเป็นเหตุหนึ่งที่ทําให้ดอกร่วงเพราะถูกเชื้อราดําเข้ามาเคลือบ

สาเหตของโรคและการแพร่ระบาด

ลักษณะอาการเช่นนี้เกิดจากผลของการทําลายของแมลงพวกปากดูด ที่ดูดกินส่วนอ่อนของลําไย แล้วถ่ายน้ําหวานมาปกคลุมส่วนต่างๆ ของลําไย เชื้อราที่มอยู่ในอากาศโดยเฉพาะเชื้อรา จะปลิวมาขึ้นบนส่วนที่มีน้ําหวานที่แมลงขับถ่ายออกมา แล้วเจรญเป็นคราบสีดํา แมลงปากดูดเท่าที่พบเช่น เพลี้ยแป้ง เพลี้ยหอยเพลี้ยจั๊กจั่น และเพลี้ยอ่อน เป็นต้น

การป้องกันและกําจัด

- ฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ ป้องกันและกำจัดเพลี้ยต่างๆ ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน หมั่นสั่งเกตุอาการ ควรหายาอื่นๆ มาสลับใช้ หากจำเป็นต้องใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานาน เพื่อป้องกันการดื้อยา

- ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูพืช จากการเข้าทำลายของโรค

Reference: main content from eto.ku.ac.th
อ่าน:3526
หนอนผีเสือเจาะผลมะม่วง หนอนเจาะผลมะม่วง หนอนมะม่วง ป้องกันกำจัดด้วย ไอกี้-บีที
หนอนผีเสือเจาะผลมะม่วง หนอนเจาะผลมะม่วง หนอนมะม่วง ป้องกันกำจัดด้วย ไอกี้-บีที
หมั่นสำรวจสวนและเฝ้าระวังการระบาดของหนอนผีเสื้อเจาะผลมะม่วง

ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อสีน้ำตาลเข้ม ไม่มีลายบนปีก ลำตัวยาวประมาณ 1.2 ซม. เมื่อกางปีก ปีกกว้างประมาณ 2.5 ซม.จะวางไข่เป็นฟองเดี่ยว ๆ ที่ขั้วผลมะม่วง

หลังจากนั้นจะฟักเป็นตัวหนอน ตัวหนอนมีสีแดงสลับขาวพาดตามขวางของลำตัว ตัวหนอนจะเจาะผลมะม่วงบริเวณก้นผลเข้าไปอาศัยและกัดกินอยู่ภายในผลและเจาะเข้าไปจนถึงเมล็ดอ่อนของมะม่วง และขับมูลออกทางรูที่เจาะเข้าไป

ผลที่ถูกทำลายจะมีขี้ขุยออกมาบริเวณเปลือกของผล ภายในผลที่ถูกทำลายจะพบหนอน 5-10 ตัวต่อผล เมื่อผ่าผลมะม่วงดูจะพบรอยทำลายเป็นทางยาวเข้าเมล็ด ทำให้ผลเน่าเสียและร่วงหล่น อาจพบผลร่วงตั้งแต่ขณะยังเป็นผลเล็ก แต่ในบางครั้งจะไม่ร่วงเพราะระหว่างผลและก้นขั้วผลมีใยถักยึดไว้ตั้งแต่เมื่อหนอนเริ่มฟักออกจากไข่ พบการทำลายทั้งผลเล็กและเริ่มแก่

วิธีการป้องกันกำจัดหนอนผีเสื้อเจาะผลมะม่วง

1. การป้องกันจะให้ผลดีกว่าการกำจัดเพราะตัวหนอนกัดกินอยู่ภายในผล การพ่นยา ไอกี้-บีที ควรพ่นขณะที่มะม่วงยังติดผลอ่อนอยู่ ซึ่งจะเป็นวิธีป้องกันผีเสื้อวางไข่

2. ฉีดพ่น ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ ป้องกันและกำจัดหนอน ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน หมั่นสั่งเกตุอาการ ควรหายาอื่นๆ มาสลับใช้ หากจำเป็นต้องใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานาน เพื่อป้องกันการดื้อยา

3. เก็บผลมะม่วงที่ถูกหนอนทำลายที่ติดอยู่บนต้น และที่หล่นมาเผาหรือฝังทำลาย

4. การห่อผลมะม่วงตั้งแต่ขนาดผลอ่อนจะช่วยป้องกันไม่ให้ผีเสื้อมาวางไข่

5. ใช้ FK-1 ฉีดพ่น เพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูพืช จากการเข้าทำลายของโรค หรือสามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ การใช้ ไอกี้-บีที เพื่อป้องกันกำจัดหนอนได้ในครั้งเดียวกัน

Reference: main content from samutprakan.doae.go.th
อ่าน:3526
โรคราแป้ง ในเงาะ
โรคราแป้ง ในเงาะ
สาเหตุของโรคราแป้ง ที่เกิดขึ้นในเงาะ : เกิดจากเชื้อรา Oidium nephelii

ลักษณะการทําลายของโรคราแป้งในเงาะ

โรคราแป้ง (powdery mildew) สามารถเขาทําลายเงาะได้ทุกระยะการเจริญเติบโต แต่อาการรุนแรงและความเสียหายเกิดที่ผลอ่อน อาการที่สังเกตเห็นได้ คือ ใบอ่อน ช่อดอก ผลอ่อน จะมีผงฝุ่นแป้งปกคลุมอยู ทําให้ผลอ่อนร่วง ถ้าเป็นโรคในระยะที่ผลโตแล้วจะทําให้แลดูสกปรกและเกิดอาการเงาะขนเกรียน ขายไม่ได้ราคา เชื้อนี้จะระบาดในช่วงอากาศเย็นและชื้น ราจะขึ้นปกคลุมผิวของพืชและสร้างอวัยวะคล้ายรากแทงเข้าไปภายในพืชดูดกินน้ําเลี้ยง

การแพร่กระจายและฤดูที่มีการระบาด

สปอร์ของเชื้อราแพร่ระบาดทางลมในระยะที่อากาศแห้งแล้งและเย็น เชื้อราเข้าทําลายเงาะระยะดอกบานและติดผลออนและตกคางที่ผิวผลจนถึงระยะเงาะแก่

การป้องกันและกําจัด

1. ในช่วงแตกใบอ่อนและเริ่มติดผลหมั่นตรวจดูว่าพบราแป้งเขาทําลายใบอ่อนหรือไม่ ถ้าพบ ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 7 วัน ต่อเนื่อง สองถึงสามครั้ง

2. ในช่วงระยะผลอ่อน ควรฉีดพ่น ไอเอส เพื่อป้องกันไว้ แม้ยังไม่พบโรค

3. เก็บผลเงาะที่เป็นโรค ใบแป้ง กิ่งแห้ง ที่ร่วงหล่น เผาทำลาย เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรค

Reference:
main content from trat.doae.go.th
อ่าน:3526
คู่มือการปลูกทุเรียน: วิธีปลูกและดูแลต้นทุเรียน
คู่มือการปลูกทุเรียน: วิธีปลูกและดูแลต้นทุเรียน
ทุเรียนหรือที่รู้จักกันในนาม "ราชาแห่งผลไม้" เป็นผลไม้เมืองร้อนที่เป็นที่ต้องการอย่างสูง ซึ่งเป็นที่รู้จักจากกลิ่นเฉพาะตัวที่ฉุนและเนื้อครีมที่อร่อย หากคุณสนใจที่จะปลูกต้นทุเรียนของคุณเอง คู่มือนี้จะให้ข้อมูลที่จำเป็นในการเริ่มต้น

ข้อกำหนดด้านสภาพอากาศและดิน
ต้นทุเรียนเจริญเติบโตได้ดีในสภาพอากาศชื้นและอบอุ่น โดยมีอุณหภูมิระหว่าง 22°C ถึง 32°C พวกเขาต้องการดินที่ระบายน้ำได้ดีและเป็นกรดเล็กน้อยที่มีช่วง pH 5.0 ถึง 6.5 ดินควรอุดมด้วยอินทรียวัตถุและสามารถกักเก็บน้ำได้ดี

ปลูก
ควรปลูกเมล็ดทุเรียนในแปลงเพาะที่เตรียมไว้อย่างดี โดยแต่ละเมล็ดปลูกที่ความลึก 2.5 ถึง 5 ซม. ควรย้ายต้นกล้าไปที่แปลงหลักเมื่ออายุได้ 6 ถึง 8 เดือน โดยมีความสูงประมาณ 30 ซม. ระยะห่างระหว่างต้นไม้แต่ละต้นควรอยู่ที่ 8 ถึง 10 เมตร

การดูแลต้นทุเรียน
ต้นทุเรียนต้องการการรดน้ำอย่างสม่ำเสมอโดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง ควรใส่ปุ๋ยด้วยปุ๋ยที่สมดุลซึ่งประกอบด้วยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม การตัดแต่งกิ่งเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้ต้นไม้แข็งแรงและรักษารูปร่าง

การควบคุมศัตรูพืชและโรค
ต้นทุเรียนอ่อนแอต่อแมลงศัตรูพืชและโรคต่าง ๆ รวมทั้งแมลงวันผลไม้ เพลี้ยแป้ง และ Phytophthora palmivora ในการควบคุมศัตรูพืช ใช้ยาฆ่าแมลงที่ปลอดภัยต่อต้นทุเรียน และในการควบคุมโรค ใช้ยาฆ่าเชื้อราที่มีคอปเปอร์ออกซีคลอไรด์หรือแมนโคเซบ

การเก็บเกี่ยว
ผลทุเรียนพร้อมเก็บเกี่ยวหลังดอกบาน 3-4 เดือน ผลสุกเมื่อสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองและส่งกลิ่นหอมหวานเข้มข้น ควรเก็บผลไม้โดยการตัดก้านด้วยมีดที่คม ผลทุเรียนมีอายุการเก็บรักษาสั้นและควรบริโภคภายในไม่กี่วันหลังจากเก็บเกี่ยว

โดยสรุปแล้ว การปลูกทุเรียนต้องมีสภาพอากาศอบอุ่น ชื้น ระบายน้ำดี ดินเป็นกรดเล็กน้อย ต้นทุเรียนต้องการการรดน้ำ ใส่ปุ๋ย และตัดแต่งกิ่งอย่างสม่ำเสมอ การควบคุมศัตรูพืชและโรคก็มีความสำคัญเช่นกันเพื่อให้แน่ใจว่าพืชผลแข็งแรง ด้วยการดูแลที่เหมาะสม ต้นทุเรียนสามารถเก็บเกี่ยวผลไม้ที่อร่อยและเป็นเอกลักษณ์นี้ได้มากมาย
อ่าน:3526
ยาฉีดแตงกวา สำหรับป้องกันและกำจัด โรคแตงกวา และแมลงศัตรูพืชแตงกวา
ยาฉีดแตงกวา สำหรับป้องกันและกำจัด โรคแตงกวา และแมลงศัตรูพืชแตงกวา
ยาฉีดแตงกวา สำหรับป้องกันและกำจัด โรคแตงกวา และแมลงศัตรูพืชแตงกวา
โรคของแตงกวา โรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ยกตัวอย่างเช่น แตงกวาใบด่าง แตงกวายางไหล ต้นแตก แตงกวาผลเน่า แตงกวาผลเหี่ยว ราแป้งในแตงกวา ราน้ำค้างแตงกวา อาการต่างๆเหล่านี้ ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา

ส่วนพวกแมลงศัตรูแตงกวา อย่าง เพลี้ยไฟในแตงกวา เพลี้ยอ่อน ใช้ มาคา สารอัลคาลอยด์ สกัดจากพืช กำจัดเพลี้ย

หากมีหนอนต่างๆ ใช้ ไอกี้ สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอน

หนอนมาใช้ ไอกี้_ เจ้าเพลี้ยตัวดีใช้ มาคา_ หากเจอโรคใบไหม้โรคเชื้อราใช้ ไอเอส_ ใจร้อนอยากให้พืชฟื้นตัวเร็วใช้ FK-1 เร่งฟื้นตัว เร่งเขียว เร่งโตนะคะ

ทั้งหมดนี้ ใช้ได้กับทุกพืชค่ะ

ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

ไอกี้ กำจัดหนอน 490 บาท บรรจุ 500กรัม_ ไอกี้ เป็นสารชีวินทรีย์ แบคทีเรียแกรมบวก ใช้กำจัดหนอนทุกชนิดโดยเฉพาะ

มาคา กำจัดเพลี้ย 470 บาท บรรจุ 1 ลิตร_ มาคา เป็นสารอินทรีย์สกัดจากพืช

ไอเอส กำจัดโรคใบไหม้ โรคเชื้อรา 450 บาท บรรจุ 1 ลิตร_ ไอเอส เป็นสารอินทรีย์ ทำงานแบบ อีออนคอนโทรลในการกำจัดโรคราต่างๆ

FK-1 ใช้เร่งฟื้นตัว เร่งโตแตกยอดแตกใบใหม่ ราคา 890 บาท บรรจุ 2 กิโลกรัม_ FK-1 เป็นธาตุหลัก N-P-K บวกธาตุรองธาตุเสริม สารจับใบ (ปุ๋ยเคมี ธาตุ N-P-K ไม่ได้อันตรายเหมือนสารเคมีหรือยาเคมี แต่ สำหรับคนที่กังวล ไม่ต้องซื้อตัวนี้ค่ะ ตัดออกไปเลย)

การสั่งซื้อ
ทักแชทได้เลยค่ะ..
หรือ ไลน์ไอดี PrimPB
หรือ โทร 090-592-8614
พืชใบหงิกงอ พืชใบม้วน ใบด่าง ควรใช้ยาอะไร ต้องสังเกตุที่ต้นเหตุ แล้วเลือกใช้ยาแก้อาการ - ฟาร์มเกษตร
พืชใบหงิกงอ พืชใบม้วน ใบด่าง ควรใช้ยาอะไร ต้องสังเกตุที่ต้นเหตุ แล้วเลือกใช้ยาแก้อาการ - ฟาร์มเกษตร
พืชใบหงิกงอ พืชใบม้วน ใบด่าง ควรใช้ยาอะไร ต้องสังเกตุที่ต้นเหตุ แล้วเลือกใช้ยาแก้อาการ - ฟาร์มเกษตร

อาการพืชใบหงิก ใบม้วน ใบด่าง ต้องตรวจสอบให้ดี ก่อนเลือกซื้อยามาแก้ไข เป็นไปได้จากหลายสาเหตุ อาทิเช่น เกิดการเพลี้ย ดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ผิวใบ ทำให้ใบพืชด่าง สีจางลงเป็นหย่อมๆ เป็นจุดๆ และทำให้ใบพืชหดตัว ส่งผลให้เริ่มหงิกงอ หรือ อาจจะเป็นโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ไวรัสต่างๆก็เป็นได้ และอีกกรณีที่เป็นไปได้ อาจจะเกิดจากการขาดธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อความสมบูรณ์แข็งแรงของพืช - ฟาร์มเกษตร

https://www.youtube.com/watch?v=JAVPmUdSfak
อ่าน:3525
3517 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 7 รายการ
|-Page 17 of 352-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
โรคราแป้งยางพารา
Update: 2564/08/22 21:55:07 - Views: 3425
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในต้นมะกรูด อย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2566/05/09 11:23:21 - Views: 3346
ปุ๋ยผักชี ปุ๋ยน้ำบำรุงผักชี โตไว ใบเขียว สมบูรณ์ ฉีดพ่น FK-1 มี N-P-K, Mg, Zn และสารจับใบ
Update: 2564/11/08 20:00:46 - Views: 3353
ขั้นตอน และเคล็ดลับ “SME” นำสินค้าขายใน ห้างสรรพสินค้า
Update: 2565/09/13 14:02:39 - Views: 3381
หากเราตากฝนตกปรอยๆ จะทำให้เราเป็นหวัดได้ แต่ตากฝนตกหนักนั้นไม่เป็นไร นี่เรื่องจริงนะเออ..
Update: 2564/09/05 01:47:10 - Views: 3601
การยืดอายุการวางจำหน่ายผลลำไยหลังการเก็บเกี่ยว
Update: 2565/02/25 01:45:12 - Views: 3357
ความสำเร็จอันหอมหวานของการปลูกทุเรียน: คู่มือสำหรับเกษตรกร
Update: 2566/04/28 13:19:39 - Views: 6755
อินทผาลัมใบไหม้ อินทผาลัมยอดเน่า โรคราเขม่าผงอินทผาลัม ไอเอส จาก FK
Update: 2565/06/17 00:23:53 - Views: 3371
เร่งการเจริญเติบโต เพิ่มความเขียว เสริมสร้างภูมิต้านทานให้กับพืช ด้วย FK-1 สามารถใช้ได้ทั้งฉีดพ่นทางใบ หรือราดลงโคนต้น
Update: 2566/10/09 13:55:42 - Views: 3374
วัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิด mRNA คืออะไร
Update: 2564/08/21 21:30:12 - Views: 3477
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น มัลเบอร์ ผลใหญ่ ดกเต็มต้น น้ำหนักดี ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/03/01 09:17:13 - Views: 3389
ยาฆ่าเพลี้ยแป้ง แมลงจำพวกปากดูด ใน มะนาว เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/02/28 14:11:19 - Views: 3361
โรคราแป้ง ใน ทุเรียน ป้องกันกำจัด ด้วย ไอเอส และ FK-1
Update: 2566/02/28 11:15:54 - Views: 3395
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบไหม้ ใบจุด ใบเหลือง ใน ดอกมะลิ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/10 12:52:11 - Views: 3380
ปลูก ข่าตาแดง ส่งโรงงาน สร้างรายได้หลักล้านบาทต่อเดือน
Update: 2564/08/30 03:48:58 - Views: 3355
โรคมะม่วง มะม่วงใบไหม้ แอนแทรคโนสมะม่วง ใบจุดมะม่วง โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/11 23:47:43 - Views: 3478
โรคมันสำปะหลังใบไหม้ และโรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู บำรุง สร้างภูมิคุ้มกันโรค 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
Update: 2564/07/09 10:46:51 - Views: 3395
แห่เก็บดักแด้ หนอนต้นขี้เหล็ก ชาวบ้านชี้หากินยาก รสชาติอร่อย ราคาดี
Update: 2564/08/14 22:10:13 - Views: 3423
โรคราน้ำค้างในฟักแม้ว
Update: 2564/08/10 05:04:09 - Views: 3498
ถั่วเหลือง โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ขยายขนาด ผลใหญ่ ผลดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/04/01 15:42:12 - Views: 3359
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022