<กลับหน้าค้นข้อมูล แจ้งลิงค์ในเนื้อหาเสีย

เฝ้าระวัง โรคยางพาราใบร่วง หรือ ไฟทอฟธอรายางพารา ในช่วงฤดูฝน

172.68.106.115 2564/08/22 14:39:02 , View: 2447, e
เฝ้าระวัง โรคยางพาราใบร่วง หรือ ไฟทอฟธอรายางพารา ในช่วงฤดูฝน

การยางแห่งประเทศไทย แนะเกษตรกรชาวสวนยาง เฝ้าระวังโรคใบร่วงหรือไฟทอฟธอราในช่วงหน้าฝน ย้ำเกษตรกรต้องดูแลเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด ป้องกันการระบาดจากต้นสู่ต้น

ดร.ธีธัช สุขสะอาด ผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทย กล่าวว่า ในช่วงฤดูฝน ถือเป็นช่วงที่เชื้อรา

ไฟทอฟธอรา (Phytophthora) หรืออีกชื่อคือโรคใบร่วง มักจะระบาดหนักในช่วงฤดูฝน โดยเฉพาะกับสวนยางพารา ซึ่งเชื้อราไฟทอฟธอราจะเข้าทำลายส่วนต่าง ๆ ของต้นยางได้แก่ ฝัก ใบ กิ่งก้าน และหน้ากรีดยาง ฝักที่ถูกทำลายจะเน่าดำ ค้างอยู่บนต้น ไม่แตก และร่วงหล่นตามธรรมชาติ กลายเป็นแหล่งพักตัวของเชื้อ และที่สำคัญ ผลผลิตยางจะเริ่มลดลงถ้าเชื้อราไฟทอฟธอราระบาด ทำให้ใบร่วงมากกว่า 20% และหากปล่อยให้โรคระบาดโดยไม่มีการควบคุมใบจะร่วงถึง 75% ส่งผลให้ผลผลิตลดลง 30-50%

ด้านลักษณะอาการเกษตรกรสามารถสังเกตุอาการได้เด่นชัดที่ก้านใบ จะปรากฎรอยแผลช้ำสีน้ำตาลเข้มถึงดำตามความยาวของก้านใบ แผลบริเวณที่เป็นทางเข้าของเชื้อ มักมีหยดน้ำยางเล็ก ๆ เกาะติดอยู่ การเข้าทำลายที่ก้านใบนี้เองเป็นผลทำให้เกิดใบร่วงทั้งที่ใบยังมีสีเขียวสดอยู่ เนื่องจากเชื้อสร้างเนื้อเยื่อ abscission layer เมื่อนำมาสะบัดเบา ๆ ใบย่อยจะหลุดออกจากก้านใบโดยง่าย บนแผ่นใบย่อยเชื้ออาจเข้าทำลายที่ปลายใบ หรือขอบใบ เกิดแผลสีน้ำตาล มีลักษณะช้ำน้ำ ขยายติดต่อกันเป็นแผลใหญ่ ทำให้ใบเปลี่ยนเป็นสีเหลืองและแดงก่อนที่จะร่วง ทั้งนี้เกิดจากหลายสาเหตุ เช่น สภาพอากาศเหมาะสมต่อการเติบโตของเชื้อราไฟทอฟธอรา พันธุ์ยางที่ปลูกอ่อนแอ ส่งผลให้ผลผลิตลดลงอย่างชัดเจน นอกจากนี้ยังพบว่าเชื้อนี้สามารถเข้าทำลายฝักยางได้ทุกระยะ ทำให้ฝักเน่า ถ้าความชื้นในอากาศสูงจะพบเชื้อราสีขาวเจริญปกคลุมฝัก ฝักที่ถูกทำลายจะเน่าดำค้างอยู่บนต้น ไม่แตกและร่วงหล่นตามธรรมชาติ กลายเป็นแหล่งเชื้อโรคในปีถัดมา

สำหรับความรุนแรงของการเกิดโรคขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำฝน และจำนวนวันฝนตก รวมถึงอุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเชื้อ อยู่ระหว่าง 25-28 องศา เชื้อนี้ต้องการน้ำเพื่อการขยายพันธุ์ จึงระบาดได้ดีในสภาพอากาศเย็น ฝนตกชุก มีความชื้นสูงต่อเนื่องกันอย่างน้อย 4 วัน เช่นหน้าฝน หรือมีน้ำท่วมขัง และมีแสงแดดน้อยกว่า 3 ชั่วโมง ต่อวัน

ผู้ว่าการ กยท. กล่าวต่อถึงวิธีการป้องกันเชื้อไฟทอฟธอราว่า เกษตรกรควรปลูกยางพันธุ์ต้านทานโรค เช่น RRIT 251 และ RRIT 408 ในเขตและแหล่งปลูกยางที่ระบาดของโรค ไม่ควรปลูกยางพันธุ์ที่อ่อนแอ เช่น RRIM600 หมั่นกำจัดวัชพืชและตัดแต่งกิ่งในสวนยาง ให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก เพื่อลดความชื้นในสวนยาง เมื่อพบโรคให้ใช้สารเคมี metalaxyl หรือ fosetyl-AI ทาที่หน้ากรีดเพื่อป้องกันโรคเส้นดำ เนื่องจากเป็นเชื้อเดียวกัน ต้นยางใหญ่ที่เกิดใบร่วงอย่างรุนแรงจนใบร่วงหมด ควรหยุดกรีดยาง และใส่ปุ๋ยบำรุงต้นยางให้สมบูรณ์

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ไฟทอฟธอรา ราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ ใบจุด

FK-1 ฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการแตกยอด แตกใบใหม่ ส่งเสริมผลผลิต

รายละเอียดด้านล่างนะคะ

ไฟทอปธอร่า ไฟทอฟธอรา ไฟทอปเทอร่า โรคยางพารา



ปุ๋ย ยาปราบฯ ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้ | เจดีเซ็นทรัล
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้ | เจดีเซ็นทรัล
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้ | เจดีเซ็นทรัล
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้ | เจดีเซ็นทรัล
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้ | เจดีเซ็นทรัล
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้ | เจดีเซ็นทรัล
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้ | เจดีเซ็นทรัล
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้ | เจดีเซ็นทรัล
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้ | เจดีเซ็นทรัล
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้ | เจดีเซ็นทรัล

ยาปราบฯ หมวดจุลินทรีย์ยอดนิยม (โรงงานจำหน่ายโดยตรง ผ่านทาง ลาซาด้า และ ช้อปปี้ เท่านั้น)

TRX
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้ |
TRX
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้ |
TRX
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้ |





โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614

บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
คุณ กมลทิพย์ สังข์วร, Wednesday 29 March 2023 13:01:00, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สุรพงษ์ นันตรี, Wednesday 29 March 2023 12:59:48, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สุราษฎ ตือติ่ง, Wednesday 29 March 2023 12:58:34, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ภูวนัย ปิ่นกาศ, Wednesday 29 March 2023 12:57:19, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ นพชัย ไชยยงยศ, Wednesday 29 March 2023 12:55:59, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ประยงค์ สุนทร, Wednesday 29 March 2023 12:53:37, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ เจษฎา อารีย์, Wednesday 29 March 2023 12:51:47, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ฤทธิชัย มานันที, Wednesday 29 March 2023 12:50:38, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ชานเมเอ, Wednesday 29 March 2023 12:49:12, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ กิจกร ศิลปกอบ, Wednesday 29 March 2023 12:47:09, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
ยาแก้โรคสนิมขาว โรคราขาวในผักบุ้ง ยากำจัดหนอนผักบุ้ง ยากำจัดเพลี้ยผักบุ้ง และปุ๋ยเร่งโต สำหรับผักบุ้ง
Update: 2564/08/11 06:10:56 - Views: 2507
การป้องกันและกำจัด โรคใบจุด ในข้าวโพด.
Update: 2566/03/08 15:40:40 - Views: 51
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคจุดสีน้ำตาล ใน ต้นกาแฟ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/14 12:59:40 - Views: 2449
Protect Plants แอพพลิเคชั่นดีๆ ของกรมส่งเสริมการเกษตร เพื่อเกษตรกรไทย
Update: 2564/08/05 11:35:37 - Views: 2548
ไฟทอฟธอรา อินเฟสทันส เชื้อรา สาเหตุโรค potato blight ในมันฝรั่ง
Update: 2564/08/23 04:53:53 - Views: 2438
กำจัดเชื้อรา กะหล่ำ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/16 10:18:51 - Views: 2442
กำจัดแมลงศัตรูพืชมันสำปะหลัง ยาฆ่าไรแดง ในมันสำปะหลัง และพืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/24 13:49:20 - Views: 2443
หนอนเสาวรส หนอน กะทกลก ฆ่าหนอน ไอกี้ ปลอดสารพิษ เร่งฟื้นฟู บำรุง โตไว FK-T
Update: 2565/08/01 18:37:35 - Views: 2449
ยาฉีดเงาะ หนอนเจาะผลเงาะ หนอนคืบ ใช้ ไอกี้ เพลี้ยไฟในเงาะ เพลี้ยต่างๆ ใช้ มาคา ส่วนโรคเงาะที่เกิดจากเชื้อรา..
Update: 2563/04/11 13:21:30 - Views: 2593
การเพิ่มผลผลิต มะละกอ สูงสุด เลือกปุ๋ยถูกสูตร ในช่วงเวลาที่ถูกต้อง
Update: 2566/01/06 06:48:55 - Views: 2441
โรคมะพร้าวยอดเน่า ใบแห้ง ใช้ ไอเอส และ FK-1
Update: 2566/02/28 13:56:41 - Views: 71
แก้โรคราในชวนชม ชวมชมใบไหม้ ราน้ำค้าง ใน ชวนชม โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/09/26 02:59:36 - Views: 2435
ปุ๋ยขนุน ตรา FK ปุ๋ยน้ำสำหรับขนุน บทบาทของปุ๋ยตรา FK ต่อการเจริญเติบโตและคุณภาพของขนุน
Update: 2565/12/18 07:51:47 - Views: 2434
โรคกาแฟตายยอด กาแฟยอดกิ่งแห้ง
Update: 2564/08/18 23:43:51 - Views: 2498
เวียดนาม ราคาส่งออกยางพาราพบปัญหา ราคาตก
Update: 2562/09/08 13:42:18 - Views: 2436
โรคใบไหม้ทุเรียน
Update: 2564/09/03 22:40:20 - Views: 2433
ชาเขียว ใบไหม้ ใบร่วง กำจัดโรคชาเขียว จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/12 11:00:29 - Views: 2446
แมลงศัตรูพืช ในมันสำปะหลัง เราป้องกันและกำจัดได้อย่างไรบ้าง?
Update: 2563/06/14 16:43:43 - Views: 2460
ทุเรียน ระวังโรคใบติดทุเรียน
Update: 2564/05/28 10:16:48 - Views: 2434
หนอนกัดกินเปลือกยางพารา
Update: 2564/08/18 05:25:23 - Views: 2458
© FarmKaset.ORG | อนุญาโตตุลาการ | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022