[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3562 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 2 รายการ

กำจัดเชื้อรา แตงกวา ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
กำจัดเชื้อรา แตงกวา ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

เกิดจากการเข้าทำลายของเชื้อรา Pseudoperonospora cubensis สามารถเข้าทำลายได้เฉพาะในพืชวงศ์แตงอาการจะเกิดเป็นปื้นเหลืองบนใบ ด้านหลังของใบอาจมองเห็นกลุ่มของเส้นใยหรือมองไม่เห็นด้วยตา จากนั้นปื้นสีเหลืองจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล โดยเริ่มเปลี่ยนจากกลางแผลออกไป โรคราน้ำค้างมักจะเกิดขึ้นในเขตอบอุ่นและเขตร้อนชื้นที่มีปริมาณน้ำฝนและน้ำค้างพอเพียงกับระยะเวลาที่จะก่อให้เกิดการระบาดของโรคขึ้นได้ สภาพอากาศเหมาะต่อการเจริญของเชื้อคือ อุณหภูมิ 16-22 องศาเซลเซียส และความชื้นสูง จะทำให้มีการระบาดของโรคอย่างรวดเร็วทำให้ ใบของแตงแห้งและทำให้ต้นตาย ถ้าหากควบคุมโรคได้ไม่ดี จะก่อให้เกิดความเสียหายรุนแรงทั้งในสภาพการปลูกในแปลงเปิด ในโรงเรือน และในสภาพการปลูกแบบอื่นๆ

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย 'การควบคุมประจุไฟฟ้า' สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
ยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง ปุ๋ยเร่งโตมันสำปะหลัง และปุ๋ยระเบิดหัวมันสำปะหลัง ครบเซ็ต
ยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง ปุ๋ยเร่งโตมันสำปะหลัง และปุ๋ยระเบิดหัวมันสำปะหลัง ครบเซ็ต
ยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง กู๊ดโซค เร่งราก ป้องกันโรค สะสมอาหารในท่อนพันธุ์ เพื่อใช้ในระยะงอก

ฉีดพ่นด้วย FK-1 เมื่อมันสำปะหลังเริ่มแตกยอดใบหลังปลูก ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต แตกกิ่ง ขยายทรงพุ่ม ใน FK-1 ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อความเจริญเติบโต และการเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง ให้กับต้นมันสำปะหลัง

เพิ่มขนาดหัวมันสำปะหลัง เพิ่มผลผลิต เพิ่มเปอร์เซ็นแป้ง ฉีดพ่น FK-3C เมื่อมันสำปะหลังมีอายุมากกว่า 3 เดือนขึ้นไป หรือสังเกตุว่าเริ่มลงหัวแล้ว FK-3C เน้นโพแตสเซียมเป็นพิเศษ จะช่วยส่งเสริมกระบวนการเคลื่อนย้ายแป้งและน้ำตาล เพื่อสะสมเป็นหัวมันสำปะหลัง ทำให้ หัวโต แน่น น้ำหนักดี เปอร์เซ็นต์แป้งสูง
เพลี้ยไฟ (rice thrips)
เพลี้ยไฟ (rice thrips)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Stenchaetothrips biformis (Bagnall) วงศ์ : Thripidae อันดับ : Thysanoptera

เพลี้ยไฟ Stenchaetohrips biformis (Bagnall) เป็นแมลงจำพวกปากดูด ขนาดเล็กลำตัวยาวประมาณ 1-2 มิลลิเมตร มีทั้งชนิดมีปีกและไม่มีปีก ตัวเต็มวัยมีสีดำ ตัวอ่อนสีเหลืองอ่อน ตัวเต็มวัยวางไข่ในเนื้อเยื่อของใบข้าว ตัวอ่อน มี 2 ระยะ ระยะเวลาตั้งแต่ตัวอ่อนถึงตัวเต็มวัยนานประมาณ 15 วัน

ลักษณะการทำลายและการระบาด

เพลี้ยไฟทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะทำลายข้าวโดยการดูดกินน้ำเลี้ยง จากใบข้าวที่ยังอ่อนโดยอาศัยอยู่ตามซอกใบ ระบาดในระยะกล้า เมื่อใบข้าวโตขึ้นใบที่ถูกทำลายปลายใบจะเหี่ยวขอบใบจะม้วนเข้าหากลางใบและ อาศัยอยู่ในใบที่ม้วนนั้น พบทำลายข้าวในระยะกล้าหรือหลังปักดำ 2-3 สัปดาห์ โดยเฉพาะในอากาศร้อนแห้งแล้งหรือฝนทิ้งช่วงนานติดต่อกันหรือสภาพนาข้าวที่ ขาดน้ำ ถ้าระบาดมากๆ ทำให้ต้นข้าวแห้งตายได้ทั้งแปลง

พืชอาหาร

ข้าว ข้าวสาลี ข้าวโอ๊ต ข้าวบาร์เลย์ มิลเลท ป่านลินิน หญ้าข้าวนก หญ้าไซ และหญ้าต่างๆ

การป้องกันกำจัด

1) ดูแลแปลงข้าวระยะกล้าหรือหลังหว่าน 7 วัน อย่าให้ขาดน้ำ

2) ไขน้ำท่วมยอดข้าวทิ้งไว้ 1-2 วัน เมื่อตรวจพบเพลี้ยไฟตัวเต็มวัย 1-3 ตัวต่อต้นในข้าวอายุ 6-7 วันหลังหว่าน ใช้ปุ๋ยยูเรียอัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ หว่านเมื่อข้าวอายุ 10 วัน เพื่อเร่งการเจริญเติบโตของต้นข้าว

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

มาคา สารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัด เพลี้ยไฟ และเพลี้ยต่างๆ

FK-1 บำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต ส่งเสริมผลผลิต

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นตัวช่วยสำหรับเกษตรกรที่ต้องการเพิ่มผลผลิต ขนาด คุณภาพของมังคุด ช่วยให้มังคุดมีรสชาติหวาน อร่อย
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นตัวช่วยสำหรับเกษตรกรที่ต้องการเพิ่มผลผลิต ขนาด คุณภาพของมังคุด ช่วยให้มังคุดมีรสชาติหวาน อร่อย
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นตัวช่วยสำหรับเกษตรกรที่ต้องการเพิ่มผลผลิต ขนาด คุณภาพของมังคุด ช่วยให้มังคุดมีรสชาติหวาน อร่อย
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 : ตัวช่วยสำคัญ เพิ่มผลผลิตมังคุด
มังคุด ราชินีผลไม้ อุดมไปด้วยคุณค่าทางโภชนาการ รสชาติอร่อย และเป็นที่ต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ เกษตรกรผู้ปลูกมังคุดจึงมุ่งหวังผลผลิตที่ดก ผลใหญ่ คุณภาพดี เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 สูตรโพแทสเซียมคลอไรด์ 100% เป็นตัวช่วยสำคัญสำหรับการบำรุงต้นมังคุด เพิ่มผลผลิต และยกระดับคุณภาพผล

คุณสมบัติของปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60:

ธาตุอาหารโพแทสเซียมสูงถึง 60% ช่วยให้ต้นมังคุดสังเคราะห์แสงได้ดี ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของลำต้น ใบ ดอก และผล
กระตุ้นการออกดอก เพิ่มจำนวนดอก เพิ่มโอกาสการติดผล
เพิ่มขนาดผล ช่วยให้ผลมังคุดใหญ่ขึ้น เต่ง
เพิ่มน้ำหนักผล เพิ่มเนื้อสัมผัส แน่น อร่อย
เพิ่มคุณภาพผล ผลมีสีสวย เปลือกหนา เก็บไว้ได้นาน
เพิ่มความแข็งแรงให้ต้นมังคุด ต้านทานโรคและแมลงศัตรูพืช

วิธีการใช้:

ฉีดพ่นทางใบ ละลายปุ๋ย 20-30 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
ฉีดพ่นทุกๆ 7-10 วัน
เริ่มฉีดพ่นหลังจากมังคุดติดผล

ข้อควรระวัง:

สวมอุปกรณ์ป้องกัน เช่น ถุงมือ หน้ากาก แว่นตา เมื่อใช้ปุ๋ย
เก็บปุ๋ยให้มิดชิด พ้นมือเด็กและสัตว์เลี้ยง
ห้ามรับประทาน
ควรอ่านฉลากและคำแนะนำก่อนใช้

การใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 ควบคู่กับปุ๋ยสูตรอื่นๆ ที่เหมาะสมกับช่วงการเจริญเติบโตของต้นมังคุด จะช่วยให้เกษตรกรได้ผลผลิตมังคุดที่ดก ผลใหญ่ คุณภาพดี ตอบโจทย์ความต้องการของตลาด

🌿ฉีดพ่นทางใบ อัตราผสม 25 กรัม(2ช้อนโต๊ะ) ต่อน้ำ 20 ลิตร
ถัง 16-20 ลิตร ใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 25 กรัม (2ช้อนโต๊ะ)
ถัง 200 ลิตร ใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 250 กรัม (1ส่วน4ถุง)
.
🌳ปุ๋ยทางใบสูตรสูง 3สูตรหลัก ที่ใช้ได้กับทุกพืช
- เร่งโตเร่งต้นเร่งใบเร่งเขียว สูตร 30-20-5
- เร่งระบบราก เร่งดอก สูตร 10-40-10
- เพิ่มผลผลิต ขยายขนาดผล สูตร 15-5-30
.
∞ ผสมปุ๋ยทางใบเป็นสูตรต่างๆได้ตามต้องการ
» เราพัฒนาระบบคำนวณสูตรผสมปุ๋ยให้ใช้ฟรี
» ใช้ปุ๋ย 3สูตรหลักด้านบน ผสมได้หลากหลายสูตรสูง ใช้ได้กับทุกพืช
£ มีเอกสารแนบวิธีการผสมลงในกล่อง

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 1 ถุง บรรจุ 1 กิโลกรัม ผสมน้ำได้ 800 ลิตร ใช้ได้ประมาณ 10 ไร่

📌สั่งซื้อ สอบถาม

»โทร 097-918-3530
»ไลน์ janemini1112

🔎ซื้อกับลาซาด้า ช้อปปี้
.
» ซื้อสินค้า ที่ช้อปปี้: http://ไปที่..link..
.
» ซื้อสินค้า ที่ลาซาด้า: http://ไปที่..link..
น้อยหน่า ผลเน่า ผลแห้ง ใบไหม้ กำจัดโรค เชื้อราต่างๆในน้อยหน่า ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวน ปุ๋ย ศัตรูพืช
น้อยหน่า ผลเน่า ผลแห้ง ใบไหม้ กำจัดโรค เชื้อราต่างๆในน้อยหน่า ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวน ปุ๋ย ศัตรูพืช
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

โรคดอกร่วง
สาเหตุเกิดจากเชื้อรา เข้าทำลายก้านดอก และกลีบดอก เกิดเป็นจุดสีน้ำตาลดำ ทำให้ดอกร่วงหล่น ถ้าดอกที่เป็นโรคไม่รุนแรงดอกสามารถเจริญและสามารถสืบพันธุ์ได้ แต่โรคก็สามารถติดไปยังผลทำให้ผลเหี่ยวย่นมีสีน้ำตาลเข้ม

โรคมัมมี่
โรคมัมมี่ สาเหตุเกิดจากเชื้อรา เข้าทำลายผิวเปลือก โดยในระยะแรกผิวเปลือกจะเป็นแผลจุดสีม่วงดำ และแผลจะขยายใหญ่มากขึ้น ผลเน่าแห้งและแข็ง แตกออกตามร่องของผลอย่างเห็นได้ชัด เนื้อเยื่อภายในจะเน่าเป็นสีน้ำตาลเนื้อไม่เละ คือลักษณะของผลน้อยหน่าที่เป็นโรคมัมมี่ ผลจะเน่าแห้งและแข็งเป็นสีน้ำดำทั้งผล

โรคแอนแทรคโนส
โรคแอนแทรคโนส สาเหตุเกิดจากเชื้อรา เข้าทำลายใบและยอดอ่อนของน้อยหน่า ซึ่งจะเข้าทำลายในช่วงฤดูฝน และมักเกิดกับต้นน้อยหน่าที่ไม่ได้รับการตัดแต่งกิ่ง โดยใบของน้อยหน่าที่เป็นโรคจะมีจุดสีดำกระจายบนใบ ทำให้ใบแห้งเหี่ยว และร่วงหล่น ยอดอ่อนที่เป็นโรคจะมีจุดสีดำบนปลายยอดและจะขยายลุกลามไปถึงโคนกิ่ง ทำให้กิ่งแห้งตาย โรคแอนแทรคโนสยังสามารถระบาดไปยังขั้วผลและผลน้อยหน่าได้ โดยโรคจะไหลไปกับหยดน้ำทำให้ขั้วผลและผลเน่า

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย 'การควบคุมประจุไฟฟ้า' สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
โป๊ยเซียน การปลูก การเลี้ยง และการดูแลรักษา
โป๊ยเซียน การปลูก การเลี้ยง และการดูแลรักษา
แม้ว่าต้นโป๊ยเซียนจะสามารถปรับตัวและเจริญเติบโตได้ดีในทุกภูมิภาคของไทยก็ตาม แต่การปลูกโป๊ยเซียนให้สวยงามนั้น นอกจากสภาพแวดล้อมแล้ว การดูแลรักษาก็นับว่ามีส่วนสำคัญ

ดินปลูกโป๊ยเซียน

ควรเป็นดินชั้นบนมีอินทรียวัตถุพวกเศษพืช โดยเฉพาะใบก้ามปูและใบทองหลางที่เน่าเปื่อยผุพังคลุกเคล้าอยู่ในดินจนเป็นเนื้อเดียวกัน ดินประเภทนี้จะอุ้มน้ำและระบายอากาศได้ดี ทำให้รากของโป๊ยเซียนแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว การใช้ดินปลูกที่แน่นทึบและมีน้ำขังอาจทำให้รากและต้นโป๊ยเซียนเน่าได้ เมื่อปลูกโป๊ยเซียนได้ระยะหนึ่งควรทำการพรวนดินรอบๆ กระถางปลูก ห่างจากโคนต้นประมาณ 2 นิ้ว พร้อมทั้งใส่ปุ๋ยคอกลงไปในดินประมาณ 1-2 ช้อนแกง และควรเปลี่ยนดินปลูกทุกปี

แสงแดด

โป๊ยเซียนเป็นไม้ที่ชอบแดด การปลูกถ้าให้โป๊ยเซียนได้รับแสงแดดประมาณ 60-70% จะดีมาก โดยเฉพาะแดดตอนเช้าถึงตอนสายก่อนเที่ยง ถ้าได้รับแสงแดด 100% ทั้งวันต้นจะแข็งแรง สีของดอกจะเข้มแต่เล็กลงกว่าเดิม นอกจากนี้ใบยังอาจจะไหม้เกรียมได้ ถ้าให้โป๊ยเซียนได้รับแดดน้อยหรืออยู่ในร่ม ดอกจะโต สีดอกไม่เข้ม ต้นไม่แข็งแรง ดังนั้นจึงควรจัดให้โป๊ยเซียนได้รับแสงแดดประมาณ 60-70% โดยใช้ตาข่ายพรางแสงช่วยก็จะดีมาก อย่างไรก็ตามในฤดูร้อนอากาศแห้งแล้งแดดจัดและร้อนมากเกินไปอาจทำให้โป๊ยเซียนเหี่ยวเฉาได้ ดังนั้นความชุ่มชื้นในอากาศก็เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับโป๊ยเซียนเช่นกัน

การรดน้ำโป๊ยเซียน

ตามปกติควรรดน้ำวันละครั้งในตอนเช้าและควรรักษาระดับความชื้นของดินให้พอเหมาะไม่แฉะหรือแห้งเกินไป เช่น ถ้าเป็นช่วงฤดูแล้งดินปลูกแห้งมากควรรดน้ำทั้งเช้าและเย็น ฤดูฝนถ้าวันใดฝนตกก็ไม่จำเป็นต้องรดน้ำแต่ควรตรวจดูผิวดินในกระถางด้วย ทั้งนี้เพราะใบของโป๊ยเซียนอาจปกคลุมกระถางจนทำให้ฝนที่ตกลงมาไม่สามารถลงไปในกระถางได้ ถ้าโป๊ยเซียนกำลังออกดอกควรหลีกเลี่ยงอย่าให้น้ำไปถูกดอกเพราะจะทำให้ดอกเน่าและร่วงเร็วกว่าปกติ สำหรับน้ำที่ใช้รดควรเป็นน้ำที่มีสภาพเป็นกลาง ถ้าน้ำมีสภาพเป็นกรดอาจผสมปูนที่ใช้กินกับหมากลงไปเล็กน้อยก็ได้ ถ้าเป็นน้ำประปาหรือน้ำบาดาลควรมีบ่อหรือถังพักน้ำไว้หลายๆ วันจึงจะนำมาใช้ได้

การตัดแต่งกิ่งโป๊ยเซียน

โป๊ยเซียนบางต้นมีการแตกกิ่งก้านสาขามาก บางต้นมีลำต้นเดียวไม่ค่อยแตกกิ่งก้านสาขา ต้นที่มีกิ่งก้านสาขามากจะเป็นพุ่มทึบแสงแดดและอากาศถ่ายเทไม่สะดวก ทำให้โป๊ยเซียนออกดอกน้อยและมีขนาดเล็ก นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งหลบซ่อนของโรคและแมลงศัตรูพืช ควรตัดกิ่งก้านออกบ้างเพื่อให้แสงและอากาศถ่ายเทได้สะดวก การตัดควรตัดให้ชิดลำต้นไม่ควรเหลือตอกิ่งไว้ กิ่งที่เหลือไว้ควรให้มีรูปทรงสวยงามเป็นไปตามธรรมชาติ หลังจากตัดกิ่งออกแล้วควรใช้ปูนแดงทาบริเวณรอยตัดเพื่อป้องกันเชื้อรา ส่วนกิ่งที่ตัดออกอาจนำไปขยายพันธุ์ต่อไป สำหรับโป๊ยเซียนที่มีลำต้นเดี่ยวไม่ค่อยแตกกิ่งก้าน ถ้ากิ่งสูงมากเมื่อโดนลมแรงๆ อาจทำให้ต้นหักได้ควรตัดยอดไปขยายพันธุ์เป็นต้นใหม่ ส่วนโคนที่เหลือก็จะแตกกิ่งก้านออกมาใหม่

การให้ปุ๋ยโป๊ยเซียน

เมื่อปลูกโป๊ยเซียนเป็นเวลานานธาตุอาหารในดินก็จะถูกใช้ไปเรื่อยๆ จึงจำเป็นต้องเพิ่มธาตุอาหารหรือปุ๋ยลงไปในดิน การใส่ปุ๋ยให้กับโป๊ยเซียนสามารถใส่ได้ทั้งปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยวิทยาศาสตร์หรือปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์อาจเป็นปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก เช่น มูลวัว มูลสุกร มูลไก่ มูลค้างคาว รวมทั้งปุ๋ย กทม. ปุ๋ยเหล่านี้ทำให้ดินร่วนซุย ระบายถ่ายเทอากาศได้ดี ควรใส่เดือนละครั้งสลับกับการใส่ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยเคมีควรใช้ปุ๋ยที่มีคุณภาพดีซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งปุ๋ยละลายช้า ปุ๋ยเกล็ดและปุ๋ยน้ำโดยปฏิบัติตามคำแนะนำในฉลากอย่างเคร่งครัด การให้ปุ๋ยเคมีควรให้ในช่วงเช้าและควรงดน้ำก่อนให้ปุ๋ย 1 วันเพื่อกระตุ้นให้รากดูดปุ๋ยได้มากขึ้น ควรรดหรือโรยเฉลี่ยรอบๆ ต้นเดือนละ 1-2 ครั้ง สำหรับไม้ที่ปลูกใหม่ๆ ยังไม่ควรให้ปุ๋ยเคมีเพราะระบบรากยังจับตัวกับดินไม่ดีพอประกอบกับรากอาจมีการฉีกขาด เนื่องจากการเปลี่ยนดินทำให้ปุ๋ยกระทบรากโดยตรงและเร็วเกินไป อาจทำให้โป๊ยเซียนตายได้ การใส่ปุ๋ยเพื่อให้โป๊ยเซียนออกกิ่งหรือดอกมีวิธีปฏิบัติดังนี้

การปลูกเลี้ยงเพื่อให้แตกกิ่ง การทำให้โป๊ยเซียนคายน้ำน้อยๆ จะทำให้โป๊ยเซียนไม่ออกดอกแต่จะแตกกิ่งแทน ดังนั้นสถานที่ปลูกจึงควรเป็นที่อับลม มีลมพัดผ่านน้อย มีแสงแดดไม่มากหรือพรางแสงด้วยที่พรางแสงประมาณ 60-70% มีความชื้นแต่ไม่แฉะ การวางกระถางก็ควรวางให้สูงจากพื้นเพียงเล็กน้อย นอกจากนี้การยืดช่วงเวลากลางวันให้ยาวออกไปโดยการใช้หลอดไฟ Day Light 60-100 วัตต์ ส่องให้กับต้นโป๊ยเซียนในเวลากลางคืนก็จะช่วยให้ต้นโป๊ยเซียนออกกิ่งได้ดีขึ้น สำหรับดินที่ปลูกควรผสมปุ๋ยคอกมูลสัตว์ เช่น มูลวัว มูลไก่ ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ก็ควรใช้ปุ๋ยที่มีธาตุไนโตรเจนสูง เช่น 15-5-5_ 25-7-7 ในปริมาณน้อยๆ ทุก 7-10 วัน

การปลูกเลี้ยงเพื่อให้ออกดอก จะตรงข้ามกับกับการปลูกเพื่อให้แตกกิ่ง คือการวางกระถางควรวางให้สูงจากพื้นประมาณ 60-70 ซม. เพื่อให้อากาศพัดผ่านก้นกระถางได้สะดวก เมื่อโป๊ยเซียนคายน้ำมากจะทำให้ออกดอก แสงแดดควรให้มากกว่า 50% หรือพรางแสงด้วยที่พรางแสง 40-50% แสงแดดจะช่วยให้สีของดอกมีสีเข้มขึ้น แต่ไม่ควรให้โป๊ยเซียนถูกแสงแดด 100% หรือถูกแสงแดดโดยตรงจะทำให้ใบไหม้เกรียมได้ ดินปลูกไม่ควรมีปุ๋ยคอกมูลสัตว์มากนัก

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

FK ธรรมชาตินิยม ประกอบด้วยธาตุอาหารพืชที่จำเป็น ที่จะช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโตให้กับโป๊ยเซียน โตไว สมบูรณ์ ออกดอกดี มีความแข็งแรง ต้านทานโตโรคพืชได้ดีขึ้น

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โป๊ยเซียมใบไหม้ โรคราต่างๆในโป๊ยเซียน

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
โรคลำไย ราดำ โรคจุดสนิม ไฟท็อปโทร่า แมลงศัตรูพืชลำไย หนอนเจาะขั้วผล เลือกยาไปใช้ได้เลยค่ะ..
โรคลำไย ราดำ โรคจุดสนิม ไฟท็อปโทร่า แมลงศัตรูพืชลำไย หนอนเจาะขั้วผล เลือกยาไปใช้ได้เลยค่ะ..
🔥ลำไย โรคราสีชมพู โรคจุดส่าหร่ายสนิม ราดำลำไข โรคราต่างๆ ไฟท็อปโทร่า ใช้ ไอเอส
โรคพุ่มแจ้ โรคไม้กวาดแจ้ เกิดจาก เพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด เพลี้ยจักจั่นสีน้ำตาล ใช้ มาคากำจัดเพลี้ย
หนอนเจาะขั้วผลลำไย หนอนต่าง ใช้ไอกี้
.
หนอนมาใช้ ไอกี้_ เจ้าเพลี้ยตัวดีใช้ มาคา_ หากเจอโรคใบไหม้โรคเชื้อราใช้ ไอเอส_ ใจร้อนอยากให้พืชฟื้นตัวเร็วใช้ FK-1 เร่งฟื้นตัว เร่งเขียว เร่งโตนะคะ
..สนใจทักแชทเลย..
.
ทั้งหมดนี้ ใช้ได้กับทุกพืชค่ะ
.
ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค
.
ไอกี้ กำจัดหนอน 490 บาท บรรจุ 500กรัม_ ไอกี้ เป็นสารชีวินทรีย์ แบคทีเรียแกรมบวก ใช้กำจัดหนอนทุกชนิดโดยเฉพาะ
.
มาคา กำจัดเพลี้ย 470 บาท บรรจุ 1 ลิตร_ มาคา เป็นสารอินทรีย์สกัดจากพืช
.
ไอเอส กำจัดโรคใบไหม้ โรคเชื้อรา 450 บาท บรรจุ 1 ลิตร_ ไอเอส เป็นสารอินทรีย์ ทำงานแบบ อีออนคอนโทรลในการกำจัดโรคราต่างๆ
.
FK-1 ใช้เร่งฟื้นตัว เร่งโตแตกยอดแตกใบใหม่ ราคา 890 บาท บรรจุ 2 กิโลกรัม_ FK-1 เป็นธาตุหลัก N-P-K บวกธาตุรองธาตุเสริม สารจับใบ (ปุ๋ยเคมี ธาตุ N-P-K ไม่ได้อันตรายเหมือนสารเคมีหรือยาเคมี แต่ สำหรับคนที่กังวล ไม่ต้องซื้อตัวนี้ค่ะ ตัดออกไปเลย)
.
การสั่งซื้อ
ทักแชทได้เลยค่ะ..
หรือ ไลน์ไอดี PrimPB
หรือ โทร 090-592-8614
อ่าน:3522
โรคมันสำปะหลัง: โรคใบไหม้มันสำปะหลัง เกิดได้ทุกภาคในไทย ป้องกันด้วย ไอเอส บำรุงด้วย FK-1
โรคมันสำปะหลัง: โรคใบไหม้มันสำปะหลัง เกิดได้ทุกภาคในไทย ป้องกันด้วย ไอเอส บำรุงด้วย FK-1
โรคมันสำปะหลังใบไหม้ เกิดจากเชื้อ Xanthomonas campestris pv. manihotis มีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศบราซิลในปี 2455 หลังจากนั้นมีรายงานการแพร่ระบาดเกือบทุกประเทศที่มีการปลูกมันสำปะหลังทั้งทวีปเอเชียและลาตินอเมริกา ในประเทศไทยพบครั้งแรกที่จังหวัดระยอง เมื่อปี 2518 และต่อมาพบทั่วทุกภาค ระดับความเสียหายเนื่องจากโรคนี้มีตั้งแต่ 30 เปอร์เซ็นต์ เมื่อใช้ท่อนพันธุ์จากต้นที่เป็นโรคถ้า..

อ่านต่อ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3522
เที่ยวเกษตรที่สูง ภูหินร่องกล้า
เที่ยวเกษตรที่สูง ภูหินร่องกล้า
เกษตรจังหวัดพิษณุโลก โทรมาชวนไปทำข่าวเปิดศูนย์บริการท่องเที่ยวเกษตรบ้านร่องกล้า หมู่ที่ 10 ตำบลเนินเพิ่ม อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก อยู่เลยขึ้นไปจากที่ตั้งที่ทำการอุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า เราตกลงรับปากโดยไม่ต้องคิดมาก ตั้งใจจะไปลักเก็บกระหล่ำปลีและบล็อคโคลีที่ชาวม้งปลูกไว้อยู่เต็มดอย มาทำกับข้าวกินซะหน่อย
อ่าน:3522
เกษตรเตือนภัยโรคพืช โรคเน่าคอดินพืช-ผัก
เกษตรเตือนภัยโรคพืช โรคเน่าคอดินพืช-ผัก
เมื่อเข้าสู่ฤดูหนาว ในช่วงหลังการเก็บเกี่ยวข้าว เกษตรกรส่วนใหญ่จะเริ่มทำการเพาะปลูกพืชผัก สำนักงานเกษตรจังหวัดเชียงใหม่ จึงมีข้อแนะนำให้เกษตรกรรู้จักโรคพืชที่อาจเกิดการระบาดในพืชผักได้ในช่วงฤดูหนาวนี้รวมถึงวิธีการป้องกันกำจัด

นายสมพล แสนคำ เกษตรจังหวัดเชียงใหม่ กล่าวว่า โรคของต้นอ่อนหรือกล้าผักต่างๆ มีอยู่ด้วยกันหลายชนิดแต่ที่ทราบและรู้จักกันดีที่สุด ได้แก่ โรคโคนเน่าคอดิน (damping-off) หรือที่ชาวบ้านเรียกกันทั่วๆ ไปว่าโรคกล้าตายพราย หรือโรคเหี่ยวเขียว ซึ่งจัดว่าเป็นโรคระบาดสำคัญที่สร้างความเสียหายให้กับผักมากมายหลายชนิด หลายตระกูลในเกือบทุกสภาพของดินและภูมิอากาศตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการเจริญเติบโต

เชื้อรามีหลายชนิดที่เป็นสาเหตุให้เกิดโรคเน่าคอดิน ได้แก่ Phycomycetes : Pythium spp. _ Phytophthora spp. Deuteromycetes : Botrytis cinerea _ Diplodia pinea _ Cylindrocladium scoparium _ Fusarium spp _ Pestalozzia funerea_ Rhizoctonia solani_ Sclerotium bataticola

ลักษณะอาการของโรค เชื้อราจะเข้าทำลายพืชในระยะต้นกล้า ทำให้ลำต้นเน่าและตายลงอย่างรวดเร็ว เส้นใยของราที่เป็นสาเหตุจะแพร่กระจายอยู่ในดิน และเข้าสู่ต้นกล้าโดยแทงเข้าไปในเซลล์ผิว

อาการต้นกล้าเน่า อาการทั่วไปในแปลงจะพบว่า ต้นกล้าฟุบตายเป็นหย่อมๆ เมื่อนำกล้ามาพิจารณาดูที่ต้นจะเห็นว่า บริเวณโคนต้นจะมีลักษณะแผลช้ำ เหี่ยวแฟบ คอรวงเป็นสีน้ำตาลดำและเน่า เป็นเหตุทำให้ต้นกล้าหักพับลง พบกับกล้าพืชแทบทุกชนิดในแปลงที่มีกล้าแน่นเกินไป และความชื้นสูง สาเหตุเนื่องจากเชื้อราอาการต่างๆ ของโรคดังกล่าวมาแล้ว จะเกิดได้รุนแรงขนาดไหนนั้นขึ้นอยู่กับพืช ชนิด และปริมาณของเชื้อโรค และสภาพแวดล้อม เชื้อโรคแต่ละชนิดต้องการสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันไป เช่น โรคเน่าคอดิน โรครากเน่าจะเกิดรุนแรงเมื่อความชื้นสูง ดินมีการระบายน้ำไม่ดี โรคเน่าเละของผักระบาด เมื่อความชื้นสูง และอากาศร้อน โรคราแป้งขาวเป็นได้ดีในสภาพแวดล้อมที่แห้งแล้ง ในขณะที่โรคราน้ำค้างเป็นโรคได้ดี และระบาดมาก เมื่อมีความชื้นสูง และฝนชุก โรคใบจุด (ตากบ) ของยาสูบพบว่า ในแปลงที่มีปุ๋ยไนโตรเจนสูง ทำให้เกิดโรคมาก โรคเหี่ยวของมะเขือเทศที่เกิดจากเชื้อราจะเป็นโรครุนแรงมากน้อยแค่ไหน ขึ้นอยู่กับสภาพความเป็นกรดเป็นด่างของดินที่ปลูก และอัตราส่วนปุ๋ยไนโตรเจนและโพแทสเซียมที่ให้ สรุปได้ว่า เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสม เชื้อจะเจริญได้ดีมีการเพิ่มปริมาณจำนวนมาก และเข้าทำลายพืชได้ง่าย โดยอาจเข้าทำลายโดยตรง เช่น เชื้อรา หรืออาจเข้าทางบาดแผล และทางรูเปิดธรรมชาติ เช่น ปากใบ ในสภาพที่พอเหมาะเชื้อจะเข้าไปเจริญ และขยายพันธุ์ในส่วนต่างๆ ของพืช และแสดงอาการโรคให้เห็น ซึ่งจะเป็นช่วงเวลาที่เชื้อมีจำนวนมาก พร้อมที่จะแพร่ระบาดขยายขอบเขตของการเกิดโรคออกไป โดยมีลมหรือน้ำพัดพาติดไปกับส่วนขยายพันธุ์ หรือเมล็ดพันธุ์ แมลง และสัตว์บางชนิดพาไป ติดไปกับเครื่องมือ หรือวัสดุการเกษตร เช่น มีด จอบ เสียม ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก หรือบางทีมนุษย์ก็เป็นผู้นำ โรคแพร่ระบาดเสียเอง และสามารถแพร่ระบาดได้ไกลข้ามประเทศ โดยการนำหรือแลกเปลี่ยนพันธุ์พืชที่มีโรคติดอยู่ เป็นต้น

อาการโรคเน่าคอดิน แบ่งออกเป็น 2 ขั้น คือ

1) ราเข้าทำลายเมล็ดหรือต้นกล้า ก่อนที่จะงอกพ้นดิน ทำให้เมล็ดไม่งอกหรือรากต้นอ่อน ถูกทำลายทันที ทำให้ไม่มีใบเลี้ยงออกมา

2) ต้นกล้าเป็นโรคเมื่อโผล่พ้นดินแล้ว ถ้าเข้าทำลายส่วนล่างหรือส่วนราก โดยราจะแพร่กระจายอย่างรวดเร็วในเนื้อเยื่อพืชโดยเฉพาะราก ทำให้ต้นกล้าเหี่ยวทั้งต้นและหักล้มก่อนจะแสดงอาการเหี่ยว โดยส่วนติดผิวดินจะเน่าในขณะที่ส่วนอื่นยังเต่งอยู่ แต่ถ้าเชื้อราเข้าทำลายส่วนบนหรือส่วนใบเลี้ยง ซึ่งจะพบไม่บ่อยนัก จะพบเมื่อต้นกล้าอยู่กันอย่างหนาแน่นภายหลังจากระยะที่มีฝนตก

ที่มา http://www.farmkaset..link..
3562 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 2 รายการ
|-Page 54 of 357-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ฮิวมิค ฟาร์มิค เพิ่มผลผลิตสูงสุดให้กับสวนเงาะ ด้วยฮิวมิก คุณภาพสูง
Update: 2567/03/12 13:28:58 - Views: 3448
ตรวจดิน ตรวจ วิเคราะห์ ธาตุอาหารพืช ที่มีในดิน 27 ค่าธาตุอาหาร สะดวกรวดเร็วกับ iLab.work
Update: 2565/07/20 21:47:34 - Views: 3390
เพลี้ยอ่อนคะน้า เพลี้ยในคะน้า เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/09/19 23:10:08 - Views: 3453
เจาะลึกแนวคิดการทำธุรกิจ เอ็มเจมอเตอร์ กับ คุณมานิตย์ จงจิตเวชกุล - ปิยะมาศ บัวแก้ว Piyamas Live
Update: 2563/06/04 17:06:50 - Views: 3526
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนเจาะสมอฝ้าย ใน ดอกทานตะวัน และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/11 13:55:33 - Views: 3404
การควบคุมศัตรูพืชไม่มีวิธีการใดดีท่ีสุด ต้องใช้หลักการผสมผสาน
Update: 2564/03/10 22:01:08 - Views: 3981
ต้นข้าว ใบไหม้ ใบจุด เมล็ดด่าง กำจัดโรคต้นข้าว จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/15 11:14:36 - Views: 3494
วัคซีน mRNA คืออะไร? วัคซีนป้องกัน โควิดที่เป็น mRNA มียี่ห้ออะไรบ้าง
Update: 2564/08/09 06:46:26 - Views: 3413
เยี่ยมไร่อ้อยของท่านนายกสมาคมชาวไร่อ้อยมุกดาหาร
Update: 2553/02/20 10:47:38 - Views: 3423
แก้โรคกล้วยตายพราย ฉีดพ่นด้วย ไอเอส ยาอินทรีย์ป้องกันและยัยั้งเชื้อรา ปลอดสารพิษ
Update: 2562/10/19 14:02:05 - Views: 3442
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนเจาะฝักถั่ว ใน ถั่วฝักยาว และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/07 14:31:14 - Views: 3501
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 : สูตรเร่งผลใหญ่ ผลดก เพิ่มคุณภาพผลผลิตสำหรับต้นลำไย
Update: 2567/03/06 13:10:29 - Views: 3513
ปุ๋ยทุเรียน คุณภาพสูง ทดแทนปุ๋ยเม็ด ยาแก้ ทุเรียนใบไหม้ โรคใบติด เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยทุเรียน หนอน
Update: 2565/05/02 06:04:58 - Views: 3532
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราน้ำค้าง ในกะเพรา ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/20 13:10:59 - Views: 3471
บำรุงต้นมะเขือเทศ เพิ่มผลผลิตด้วย ปุ๋ยฮิวมิค ตรา ฟาร์มิค
Update: 2567/03/12 13:45:01 - Views: 3420
โรคใบไหม้ ราสนิม ราน้ำค้าง ป้องกันแลำกำจัดด้วยไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชือรา และ ปุ๋ย FK1
Update: 2563/06/26 11:26:10 - Views: 3414
ปุ๋ยสำหรับมะเขือเทศ ปุ๋ยน้ำสำหรับมะเขือเทศ และพืชตระกูลมะเขือ FK-1 โตไว ใบเขียว ระบบรากแข็งแรง ผลโต น้ำหนักดี
Update: 2564/09/16 21:56:30 - Views: 3413
ยากำจัดโรคราแป้ง ใน พุทรา โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/10 10:16:08 - Views: 3445
การใช้คาร์รอน (Diuron 80% WG) เพื่อควบคุมวัชพืชในไร่ข้าวโพด
Update: 2567/02/13 09:22:09 - Views: 3577
การใช้ปุ๋ยฉีดพ่นเพิ่มประสิทธิภาพในการเลี้ยงแตงโม: สู่การผลิตที่โตไว รากแข็งแรง และใบสวยงาม
Update: 2566/11/24 14:38:53 - Views: 3441
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022