[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3582 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 358 หน้า, หน้าที่ 359 มี 2 รายการ

เพลง มันสำปะหลังพืชเศรษฐกิจ
เพลง มันสำปะหลังพืชเศรษฐกิจ



เพลงส่งเสริมการขาย ปุ๋ยทางใบ ตรา FK สองสูตรสำหรับมันสำปะหลัง

http://ไปที่..link..
อ่าน:3690
โรคราดำมะม่วง (Sooty mold/Black Mildew) ต้องกำจัดแมลงพาหะ และกำจัดโรครา
โรคราดำมะม่วง (Sooty mold/Black Mildew) ต้องกำจัดแมลงพาหะ และกำจัดโรครา
สาเหตุของโรค
เกิดจาก แมงจำพวกปากดูด เช่น เพลี้ยจักจั่น เป็นพาหะนำโรค ทำให้เชื้อราดำหลายชนิด เช่น Capnodium sp._Meliola sp. มาเกาะติดของเหลว ที่เพลี้ยถ่ายไว้ จึงกำให้เชื้อโรคราเกาะติดมะม่วง และเจริญขึ้น

ความสำคัญ
พบทั่วไปในแหล่งปลูกมะม่วงของประเทศ ราดำที่จะกล่าวถึงมีหลายชนิดด้วยกัน แต่ที่พบเห็นทั่ว ๆ ไป ชนิดที่ขึ้นปกคลุมใบเป็นแผ่นสีดำ เมื่อแห้งอาจจะร่อนหลุดออกเป็นแผ่น ๆ อีกชนิดหนึ่งขึ้นบนใบมีลักษณะคล้ายดาวเป็นแฉก ๆ ราดำเหล่านี้ไม่ได้ดูดกินน้ำเลี้ยงจากพืชโดยตรง แต่อาจมีผลคือการเจริญเติบโต โดยเฉพาะอย่างยิ่งในฤดูที่มะม่วงออกดอก หากมีราดำขึ้นปกคลุมดอก จะเป็นผลให้การผสมเกสรของดอก ไม่สามารถจะเกิดขึ้นได้ เนื่องจากมีเชื้อราขึ้นปกคลุมปลายเกสรตัวเมีย ปกติแล้วราดำมีอยู่ทั่ว ๆ ไปในอากาศแต่ไม่สามารถจะเจริญขึ้นบนใบ หรือช่อดอกมะม่วงได้ หากไม่มีแมลงปากดูด ได้แก่ เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยหอย เพลี้ยแป้ง โดยแมลงเหล่านี้จะดูดกินน้ำเลี้ยงจากพืช ตามยอดอ่อน และช่อดอก แล้วจะถ่ายสารซึ่งมีลักษณะคล้ายน้ำหวานออกมาฟุ้งกระจายไปเคลือบตามบริเวณใบ และช่อดอก ซึ่งเชื้อราดำ ในอากาศก็จะสามารถขึ้นได้ และทำให้การติดดอกออกผลของมะม่วงลดลงหรือไม่ติดผลเลย

ลักษณะอาการ
โรคราดำจะเกิดทั้งบนใบ ช่อดอก และผลอ่อน มีลักษณะเหมือนเขม่าหรือฝุ่นสีดำปกคลุมเป็นแผ่นสีดำ ซึ่งเมื่อแห้งอาจจะร่วงหลุดเป็นแผ่น

การป้องกันกำจัด

เนื่องจากโรคนี้เกิดจากแมลงเป็นสาเหตุสำคัญ ดังนั้นในช่วงที่มะม่วงเริ่มแทงช่อดอก ให้เข้าสำรวจแมลงปากดูด เช่น เพลี้ยจักจั่นในสวน

หากพบ ให้ฉีดพ่นด้วย มาคา สารอินทรีย์ป้องกันกำจัด เพลี้ย และแมลงจำพวกปากดูด

ผสม ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน

ช่วงระบาด ฉีดพ่นซ้ำ ทุก 5-7 วัน หมั่นสังเกตุอาการ

ระยะป้องกัน ฉีดพ่นทุก 15-30 วัน โดยอ้างอิงจากการระบาดในแปลงข้างเคียง

Reference
Main content from: kaengkhoi.saraburi.doae.go.th
อ่าน:3690
โรคไหม้ข้าว ระยะคอรวง หมั่นสำรวจแปลง รู้ทันก่อนเกิดโรค
โรคไหม้ข้าว ระยะคอรวง หมั่นสำรวจแปลง รู้ทันก่อนเกิดโรค
กรมส่งเสริมการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในช่วงนี้เป็นช่วงที่ข้าวกำลังออกรวง แนะให้เกษตรกรหมั่นลงพื้นที่เพื่อสำรวจแปลง เพื่อป้องกันโรคไหม้ข้าว ระยะคอรวง ซึ่งโรคไหม้ข้าวสามารถพบได้ในหลายช่วงอายุของการปลูกข้าวตั้งแต่ระยะกล้า ระยะแตกกอ ไปจนถึงระยะออกรวง การระบาดของโรคพบได้ในสภาพแปลงนาที่มีต้นข้าวหนาแน่น อับลม แปลงนาที่ใส่ปุ๋ยอัตราสูง สภาพอากาศร้อนในตอนกลางวัน และมีชื้นสูงในตอนกลางคืน กระแสลมแรงจะเป็นตัวช่วยในการแพร่กระจายโรคได้ดี โดยลักษณะอาการในแต่ละระยะการเจริญเติบโตมีลักษณะ ดังนี้

ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าอาการของโรครุนแรงต้นกล้าจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้

ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ

ระยะออกรวง (โรคไหม้คอรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวงเมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลาย เมล็ดจะลีบ แต่ถ้าเป็นโรคตอน รวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวง ทำให้เปราะหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายปริมาณมาก ยิ่งในช่วงนี้ทุกภาคของประเทศไทยมีฝนตกอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับข้าวอยู่ในระยะออกรวงจึงอาจทำให้การระบาดของโรคไหม้ข้าวระยะคอรวงเพิ่มมากขึ้นและอาจส่งผลกระทบต่อผลผลิตข้าวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
กำจัดหญ้า กำจัดวัชพืช คุมหญ้า กำจัดวัชพืชใบแคบและใบกว้าง คาร์รอน เพื่อการควบคุมวัชพืชอย่างมีประสิทธิภาพ
กำจัดหญ้า กำจัดวัชพืช คุมหญ้า กำจัดวัชพืชใบแคบและใบกว้าง คาร์รอน เพื่อการควบคุมวัชพืชอย่างมีประสิทธิภาพ
คาร์รอน
---
ยากำจัดหญ้า ยากำจัดวัชพืช ยาคุมหญ้า คาร์รอน (Diuron 80% WG) เพื่อการควบคุมวัชพืชอย่างมีประสิทธิภาพ
.
คาร์รอน เป็นสารกำจัดวัชพืชที่มีสารออกฤทธิ์ไดยูรอน (80% WG)
สามารใช้ฉีดพ่นก่อนวัชพืชงอก หรือหลังวัชพืชงอกแล้วมีใบจริง 2-3 ใบ
.
อัตราส่วนผสม คาร์รอน
100 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
.
คาร์รอนหรือที่รู้จักกันในชื่อ Diuron 80% WG เป็นสารกำจัดวัชพืชที่ใช้กันอย่างแพร่หลายซึ่งเป็นที่รู้จักในด้านประสิทธิภาพในการควบคุมวัชพืชประเภทต่างๆ อยู่ในกลุ่มของสารกำจัดวัชพืช ซึ่งมุ่งเป้าไปที่กระบวนการสังเคราะห์แสงในพืชและนำไปสู่การสูญพันธุ์
.
ประเภทของวัชพืชที่ Carron กำจัด
.
วัชพืชใบแคบทุกชนิด:
วัชพืชใบแคบมักมีลักษณะใบเรียวยาว คาร์รอนสามารถควบคุมวัชพืชประเภทนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
.
วัชพืชใบกว้างทุกชนิด:
วัชพืชใบกว้างมีใบแบนกว้างกว่าและอาจสร้างปัญหาได้เป็นพิเศษในพื้นที่เกษตรกรรมและพืชสวนหลายแห่ง คาร์รอนยังมีประสิทธิภาพสูงในการกำจัดวัชพืชใบกว้าง
.
ข้อควรระวังเพื่อความปลอดภัย: เมื่อใช้คาร์รอน จำเป็นต้องสวมอุปกรณ์ป้องกัน เช่น ถุงมือ แว่นตา และเสื้อผ้าที่เหมาะสม เพื่อลดการสัมผัส นอกจากนี้ ให้ปฏิบัติตามแนวทางและข้อบังคับด้านความปลอดภัยสำหรับการใช้สารกำจัดวัชพืชในภูมิภาคของคุณเสมอ
.
ข้อควรพิจารณาด้านสิ่งแวดล้อม: คำนึงถึงข้อกังวลด้านสิ่งแวดล้อมเมื่อใช้ Carron หลีกเลี่ยงการฉีดใกล้แหล่งน้ำ เนื่องจากไดยูรอนอาจเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำได้ ปฏิบัติตามเขตกันชนที่แนะนำและแนวทางปฏิบัติในการใช้งานเพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
.
💲ราคาสิน 450บาท
✈จัดส่งฟรี kerry ด่วน เก็บเงินปลายทาง
.
📌สั่งซื้อ สอบถาม
» ทักแชทเพจนี้
» Line@ ID: @FarmKaset หรือคลิกแอดไลน์ http://ไปที่..link..
» Website: http://ไปที่..link..
» TikTok http://ไปที่..link..
» โทร 090-592-8614
.
🔎ซื้อกับลาซาด้า ช้อปปี้ มีข้อดีคือ มีการจัดโปรโมชั่น และเคมเปญ ต่อเนื่องจากทาง Shopee_ Lazada
.
» ซื้อกับช้อปปี้ที่ http://ไปที่..link..
.
» ซื้อกับลาซาด้าที่ http://ไปที่..link..
อ่าน:3689
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 ตัวช่วยสำคัญที่จะช่วยให้ต้นมะพร้าวน้ำหอมของคุณออกผลดก ผลใหญ่ คุณภาพดี
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 ตัวช่วยสำคัญที่จะช่วยให้ต้นมะพร้าวน้ำหอมของคุณออกผลดก ผลใหญ่ คุณภาพดี
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 ตัวช่วยสำคัญที่จะช่วยให้ต้นมะพร้าวน้ำหอมของคุณออกผลดก ผลใหญ่ คุณภาพดี
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 : ตัวช่วยเพิ่มผลผลิตมะพร้าวน้ำหอม
มะพร้าวน้ำหอมเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย เกษตรกรหลายท่านจึงมุ่งหาแนวทางเพิ่มผลผลิตและคุณภาพผล ปุ๋ยเป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตและออกดอกออกผลของมะพร้าว

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นปุ๋ยเคมีมาตรฐานชนิดโพแทสเซียมคลอไรด์ สูตรปุ๋ย 0-0-60 หมายความว่าปุ๋ยนี้ไม่มีธาตุไนโตรเจน (N) และฟอสฟอรัส (P) แต่มีธาตุโพแทสเซียม (K) สูงถึง 60% เหมาะสำหรับบำรุงต้นมะพร้าวในช่วงติดผล ช่วยให้:

ผลใหญ่: โพแทสเซียมช่วยขยายขนาดผล เพิ่มเนื้อสัมผัส และความหนาของเนื้อมะพร้าว
ผลดก: เพิ่มจำนวนผล เพิ่มโอกาสการติดผล
น้ำหนักดี: เพิ่มน้ำหนักเนื้อมะพร้าว
คุณภาพดี: เพิ่มความหวาน กลิ่นหอม และความอร่อย
ผลผลิตสูง: เพิ่มผลผลิตโดยรวม

วิธีการใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 กับต้นมะพร้าวน้ำหอม:

ฉีดพ่นทางใบ: ผสมปุ๋ย 25 กรัม (2 ช้อนโต๊ะ) ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วใบและลำต้น ทุกๆ 15-20 วัน
รองโคนต้น: โรยปุ๋ยบริเวณโคนต้น ประมาณ 250-500 กรัม/ต้น ทุกๆ 3-4 เดือน

ข้อควรระวัง:

สวมอุปกรณ์ป้องกัน เช่น ถุงมือ หน้ากาก แว่นตา เมื่อใช้ปุ๋ย
เก็บปุ๋ยให้มิดชิด ห่างไกลจากมือเด็กและสัตว์เลี้ยง
ห้ามรับประทาน

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 เป็นตัวช่วยเพิ่มผลผลิตมะพร้าวน้ำหอม ช่วยให้เกษตรกรได้ผลผลิตที่มีคุณภาพและเพิ่มรายได้

หมายเหตุ: ข้อมูลข้างต้นเป็นเพียงคำแนะนำเบื้องต้น เกษตรกรควรศึกษาวิธีการใช้ปุ๋ยอย่างละเอียด และปรับปริมาณการใช้ปุ๋ยให้เหมาะสมกับสภาพดิน สภาพอากาศ และสายพันธุ์มะพร้าว

🌿ฉีดพ่นทางใบ อัตราผสม 25 กรัม(2ช้อนโต๊ะ) ต่อน้ำ 20 ลิตร
ถัง 16-20 ลิตร ใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 25 กรัม (2ช้อนโต๊ะ)
ถัง 200 ลิตร ใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 250 กรัม (1ส่วน4ถุง)
.
🌳ปุ๋ยทางใบสูตรสูง 3สูตรหลัก ที่ใช้ได้กับทุกพืช
- เร่งโตเร่งต้นเร่งใบเร่งเขียว สูตร 30-20-5
- เร่งระบบราก เร่งดอก สูตร 10-40-10
- เพิ่มผลผลิต ขยายขนาดผล สูตร 15-5-30
.
∞ ผสมปุ๋ยทางใบเป็นสูตรต่างๆได้ตามต้องการ
» เราพัฒนาระบบคำนวณสูตรผสมปุ๋ยให้ใช้ฟรี
» ใช้ปุ๋ย 3สูตรหลักด้านบน ผสมได้หลากหลายสูตรสูง ใช้ได้กับทุกพืช
£ มีเอกสารแนบวิธีการผสมลงในกล่อง

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 1 ถุง บรรจุ 1 กิโลกรัม ผสมน้ำได้ 800 ลิตร ใช้ได้ประมาณ 10 ไร่

📌สั่งซื้อ สอบถาม

»โทร 097-918-3530
»ไลน์ janemini1112

🔎ซื้อกับลาซาด้า ช้อปปี้
.
» ซื้อสินค้า ที่ช้อปปี้: http://ไปที่..link..
.
» ซื้อสินค้า ที่ลาซาด้า: http://ไปที่..link..
โรคราสีชมพู ที่เกิดกับ ลองกองผลอ่อน
โรคราสีชมพู ที่เกิดกับ ลองกองผลอ่อน
สภาพอากาศร้อน สลับกับมีฝนตกในช่วงนี้ กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรชาวสวนลองกองเฝ้าระวัง การระบาดของโรคราสีชมพู มักพบโรคในระยะที่ต้นลองกองมีผลอ่อน เริ่มแรกพบเส้นใยสีขาวของเชื้อรา เจริญคลุมกิ่งหรือลำต้น ต่อมาเส้นใยของเชื้อราหนาขึ้นและเปลี่ยนเป็นสีชมพูยึดแน่นกับกิ่ง เมื่อเฉือนดูบริเวณกิ่งหรือลำต้นที่พบเชื้อรา จะพบเนื้อไม้เป็นแผลสีน้ำตาล และกิ่งที่เป็นโรคราสีชมพูบริเวณยอดจะเหี่ยว ใบเหลือง และร่วงเป็นหย่อมๆ ต่อมากิ่งจะแห้งตายในที่สุด

สำหรับแนวทางในการป้องกันโรคราสีชมพู ให้เกษตรกรตัดแต่งทรงพุ่มต้นลองกองให้โปร่ง มีอากาศถ่ายเทสะดวก เพื่อลดการสะสมความชื้นใต้ทรงพุ่มไม่ให้มีมากเกินไป ส่วนในช่วงฤดูฝนเกษตรกรควรหมั่นตรวจดูต้นลองกองบริเวณกิ่งภายในสวนอย่างสม่ำเสมอ หากพบอาการใบเหลืองหรือพบราสีขาว หรือสีชมพูขึ้นบนกิ่ง ให้เกษตรกรตัดกิ่งที่เป็นโรค เก็บเศษซากพืชส่วนที่เป็นโรค และกำจัดวัชพืชในแปลงปลูกนำไปเผาทำลายนอกสวน เพื่อลดการสะสมเชื้อราสาเหตุโรค

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

FK-1 ฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการเจริญเติบโต ส่งเสริมผลผลิต
ชมพู่เขียวหวาน ชมพู่สีเขียว ป้องกัน โรค แมลง และบำรุง ด้วยสินค้าจากเรา
ชมพู่เขียวหวาน ชมพู่สีเขียว ป้องกัน โรค แมลง และบำรุง ด้วยสินค้าจากเรา
โรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ราน้ำค้าง ใช้ ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่น

บำรุง เร่งโต ส่งเสริมผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หมายเหตุ เกะกล่องออกมา มีสองถุง ถุงนึงเป็นธาตุหลัก อีกถุงเป็นธาตุเสริมพร้อมสารจับใบ ใช้ถุงละ 50กรัม ทั้งสองถุงพร้อมกัน ต่อน้ำ 20ลิตร

ปัญหาเพลี้ย แมลงรบกวน ฉีดพ่น มาคา ในอัตรา 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
อ่าน:3689
ดอกทานตะวัน ความนิยมปลูกและทานดอกทานตะวันทั่วโลก
ดอกทานตะวัน ความนิยมปลูกและทานดอกทานตะวันทั่วโลก
ดอกทานตะวันเป็นพืชขนาดใหญ่ที่มีดอกสีเหลืองสดใสนั้น มีประวัติศาสตร์อันยาวนานใอเมริกาเหนือ โดยมีหลักฐานว่า ชนพื้นเมืองอเมริกันนำดอกไม้ชนิดนี้ไปใช้เป็นอาหารและยาตั้งแต่เมื่อประมาณ 1_000 ปีก่อนคริสตกาล

ในส่วนของเมล็ดทานตะวันนั้น เชื่อกันว่า นักสำรวจชาวสเปนน่าเป็นผู้นำเข้ามาในยุโรปโดยในช่วงปลายศตวรรษที่ 16 และเมื่อเวลาผ่านไป ดอกทานตะวันก็ได้ไปเติบโตอยู่ในยุโรปตะวันออกอีกด้วย จนปัจจุบัน ยูเครนเป็นผู้ผลิตน้ำมันดอกทานตะวันรายใหญ่ที่สุดของโลกไปแล้ว

นอกจากนี้ ดอกทานตะวันยังได้รับความนิยมมากขึ้นในโซเชียลมีเดีย เพราะผู้คนมากมายต่างชื่นชอบการถ่ายภาพตัวเองในทุ่งทานตะวันที่สดใส โดยภาพถ่ายดังกล่าวถูกเรียกว่า Sunflower Selfies

แต่ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมา ภาพดอกทานตะวันได้ปรากฏในโซเชียลมีเดียด้วยเหตุผลที่แตกต่างออกไป นั่นก็คือ เพื่อแสดงการสนับสนุนยูเครนหลังจากการรุกรานของรัสเซีย

ผู้เชี่ยวชาญด้านสวนและนักเขียนอย่าง เจสสิก้า ดามิอาโน (Jessica Damiano) เพิ่งจะเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับการปลูกดอกทานตะวันให้กับเอพี ซึ่งเธอระบถว่า การปลูกทานตะวันนั้นเป็นเรื่องง่าย และสามารถปลูกในกระถางได้ หากเป็นพันธุ์ที่มีขนาดเล็ก

วิธีปลูก
หากต้องการปลูก ให้เริ่มจากการเพาะเมล็ดทานตะวัน โดยแช่เมล็ดลงไปในน้ำที่มีอุณหภูมิห้องเป็นเวลา 2-8 ชั่วโมงเพื่อเริ่มกระบวนการปลูก จากนั้นหยอดเมล็ดลงไปในดินที่ลึก 2.5 ซม. และห่างกัน 15 ถึง 30 ซม. นอกจากนี้ ควรปลูกทานตะวันที่ภายนอกบ้านหลังจากช่วงเกิดน้ำค้างแข็งได้ผ่านพ้นไปแล้ว หรือเริ่มปลูกในบ้านเป็นเวลา 3 สัปดาห์ก่อนวันสุดท้ายของการเกิดน้ำค้างแข็ง และที่สำคัญ ต้องรักษาดินให้ดินเปียกอยู่ตลอดเวลา แต่อย่าเปียกจนเกินไป จนกว่าเมล็ดจะเริ่มงอกออกมา

เมื่อความหนาวเย็นจนทำให้เกิดน้ำค้างแข็งผ่านพ้นไปแล้ว ก็สามารถย้ายต้นทานตะวันออกมานอกบ้านได้ โดยเลือกบริเวณที่ต้นไม้จะได้รับแสงแดดโดยตรงเป็นเวลาอย่างน้อยวันละ 6-8 ชั่วโมง

เมื่อต้นทานตะวันเริ่มเติบโตขึ้น พวกมันจะมีรากยาวซึ่งจะฝังลึกลงไปในพื้นดิน ดังนั้น ก่อนที่จะปลูก จำเป็นต้องมีการเคลียร์พื้นที่โดยการขุดดินลงไปอย่างน้อย 33 ซม. เพื่อนำหินออกจากชั้นดิน

นอกจากนี้ ควรผสมปุ๋ยหมักจำนวนมากลงในดินที่ปลูกต้นทานตะวัน เนื่องจากปุ๋ยหมักช่วยให้สารอาหารที่สำคัญและยั่งยืนซึ่งจะช่วยพืชเติบโตได้ตลอดฤดูกาล โดยส่วนที่ขาดไม่ได้คือ การรดน้ำเมื่อดินเริ่มแห้ง และควรให้น้ำในปริมาณราว 250 มิลลิเมตร ต่อสัปดาห์ คอยสังเกตปริมาณน้ำฝนที่ได้รับในแต่ละสัปดาห์ และควรมีวัสดุคลุมดินที่หนาประมาณ 5 เซนติเมตรในการช่วยให้ดินกักเก็บน้ำได้

อย่างไรก็ดี ต้นทานตะวันอาจไม่ต้องการสารอาหารเพิ่มเติมหากปลูกพร้อมกับปุ๋ยหมัก แต่ถ้าหากไม่ได้ใส่ปุ๋ยหมักในระหว่างกระบวนการปลูก ก็ควรให้ปุ๋ยเอนกประสงค์หนึ่งหรือสองครั้งในช่วงฤดูเพาะปลูก

ทั้งนี้ ดอกทานตะวันบางชนิดสามารถเติบโตได้สูงถึงสามเมตร ซึ่งหมายความตัวต้นอาจต้องการการปกป้องจากลมแรง ดังนั้นการปลูกดอกทานตะวันชนิดนี้ไว้ใกล้ ๆ กับโครงสร้างหรืออาคารที่จะช่วยปกป้องพวกมันจากลมได้จะเป็นการดีที่สุด หรือจะผูกต้นทานตะวันไว้กับอะไรที่สูง ๆ เพื่อช่วยค้ำลำต้นก็ได้ และเมื่อดอกไม้บานแล้ว ก็สามารถตัดไปไว้ในบ้าน โดยนำไปใส่ลงในภาชนะที่มีน้ำ ก่อนที่จะเพลิดเพลินไปกับความสดใสและสวยงามของดอกทานตะวัน

วิธีรับประทาน
นอกจากดอกทานตะวันจะมีความสวยงามแล้ว เรายังสามารถนำมารับประทานได้อีกด้วย

เมื่อดอกไม้เริ่มร่วงหล่นตอนสิ้นสุดฤดูกาล ส่วนหลังของดอกจะเป็นสีน้ำตาล และเมล็ดของมันจะเริ่มงอกออกมาจากหัว โดยให้ตัดดอกออกจากต้น แล้วนำไปใส่ถุงหรือภาชนะก่อนจะนำเมล็ดออกจากดอกโดยการถูด้วยมือหรือใช้แปรงที่แข็ง ๆ จากนั้น จึงนำเมล็ดไปล้างแล้วตากข้ามคืนให้แห้ง

เราสามารถรับประทานเมล็ดทานตะวันได้ทั้งแบบสุกและแบบดิบ ซึ่งถ้าหากต้องการอบเมล็ดทานตะวัน เราต้องใช้เตาอบที่ตั้งอุณหภูมิไว้ที่ 165 องศาเซลเซียส โดยเมื่อเตาอบร้อน แล้วให้อบเมล็ดทานตะวันจนเป็นสีน้ำตาล ซึ่งกระบวนการนี้ใช้เวลาตั้งแต่ 15 ถึง 30 นาที

และหากต้องการให้เมล็ดทานตะวันมีรสเค็ม ก็ให้ต้มเมล็ดทานตะวันในน้ำเกลือเป็นเวลา 90 นาทีถึง 2 ชั่วโมง จากนั้นก็ปล่อยให้แห้งแล้วนำไปอบในเตาอบ ก่อนที่จะนำมารับประทาน


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
ข้อมูลรูปภาพจาก http://ไปที่..link..
อ่าน:3689
อยากเป็นเจ้าของแบรนด์ ยาดมสมุนไพร ไม่ยากอย่างที่คิด
อยากเป็นเจ้าของแบรนด์ ยาดมสมุนไพร ไม่ยากอย่างที่คิด
ยาดมสมุนไพรจัดอยู่ในประเภท ยาสมุนไพรประจำบ้าน ใช้สูดดมบรรเทาอาการวิงเวียน หน้ามืด ตาลาย เป็นหวัด คัดจมูก อ่อนเพลีย มีวิธีทำที่ง่าย หาสมุนไพรได้สะดวก สามารถทำเป็นรายได้เสริมได้ ยาดมสมุนไพรจะแตกต่างจากยาดมทั่วไป โดยเพิ่มเติมสมุนไพร เช่น กระวาน กานพลู พริกไทยดำ

ยาดมสมุนไพรมีแพร่หลายมาก มีผู้ประกอบการผลิตยาดมสมุนไพรมากขึ้นทั้งในรูปแบบของอุตสาหกรรม และธุรกิจ SME รายย่อย จากการที่เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีขั้นตอนการผลิตไม่ยุ่งยาก และมีต้นทุนที่ไม่สูง ประกอบกับความนิยมการใช้สมุนไพรเพื่อสุขภาพที่สูงขึ้นด้วย ซึ่งการใช้สมุนไพรเพื่อรักษาหรือบรรเทาอาการของโรคเป็น

ความรู้ดั้งเดิมที่สืบทอดกันมานานจากรุ่นสู่รุ่น แต่เมื่อการแพทย์แผนปัจจุบันเริ่มเข้ามาในประเทศไทย การใช้ยาสมุนไพร และการแพทย์แผนไทยเริ่มลดน้อยลง แต่ในปัจจุบันแนวโน้มการใช้สมุนไพรเริ่มกลับมามีบทบาท เนื่องจากผู้คนเริ่มหันกลับมาสนใจสุขภาพกันมากขึ้น การใช้สมุนไพรมีผลข้างเคียงที่น้อยกว่ายาปฏิชีวนะ ไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อร่างกาย มีความปลอดภัยสูง สามารถใช้ได้โดยไม่ต้องกังวลกับโอกาสที่จะเกิดความเป็นพิษ อาการ ไม่พึงประสงค์ หรือผลข้างเคียงต่าง ๆ โดยการใช้สมุนไพรยังมีข้อมูลพื้นฐาน อ้างอิงตามหลังข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ จึงต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับโรค อาการอย่างถูกต้อง และยังคงมีความเสี่ยงที่เกิดจากการใช้สมุนไพรที่ผิดประเภท ผิดอาการ ผิดขนาด และผิดวิธี ทำให้รักษาหรือบรรเทาอาการได้ไม่ตรงตามวัตถุประสงค์ และอาจนำไปสู่อาการไม่พึงประสงค์ และการแพ้ยา แต่ทั้งนี้ สมุนไพรก็ยังคงมีความน่าเชื่อถือและมั่นใจต่อการใช้มากกว่ายาแผนปัจจุบัน สมุนไพรมีความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพ ประกอบด้วยสรรพคุณมากมายที่ช่วยในการดูแลสุขภาพ

ธุรกิจยาดมสมุนไพร เป็นธุรกิจที่ต้องการเจาะตลาดกลุ่มผู้รักสุขภาพทางเลือก ด้วยสมุนไพร การเข้าถึง
กลุ่มผู้บริโภค ผู้ผลิตต้องสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับผลิตภัณฑ์ในทุก ๆ ด้าน เป็นธุรกิจที่กระบวนการทำงาน ไม่ซับซ้อน เริ่มต้นธุรกิจด้วยทุนที่น้อยและสามารถประกอบการเพียงคนเดียวได้ แต่ผู้ที่จะประกอบธุรกิจนี้
จำเป็นจะต้องมีความรู้เรื่องสมุนไพรและต้องใส่ใจทุกรายละเอียดในกระบวนการผลิต หนึ่งในปัญหาด้านการตลาดในการทำธุรกิจยาดมสมุนไพร คือ การปรับเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์ให้หลากหลายและเข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคให้หลายกลุ่ม

สมุนไพรเป็นทั้งอาหารและยารักษาโรค สมุนไพรมีทั้งจากพืช สัตว์ และแร่ธาตุจากธรรมชาติ ที่ไม่มี
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างสภาพภายใน ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นยารักษาโรคหรือบำรุงร่างกายได้ สมุนไพรที่ได้จากส่วนของพืชโดยตรง (พืชวัตถุ) โดยส่วนต่าง ๆ ที่นำมานั้นมีสารที่สามารถใช้เป็นยาได้ ได้แก่ ใบ ดอก ผลเปลือกผล เมล็ด เปลือกเมล็ด รากหรือหัว ต้น แก่น กระพี้ เนื้อไม้ เปลือกไม้ สมุนไพรที่ได้จากอวัยวะของสัตว์(สัตว์วัตถุ) ได้แก่ ตับ ดี นอ เขา เอ็น เลือด น้ำมัน มูล เป็นต้น เช่น ขี้ผึ้ง รังนก น้ำมันตับปลา
สมุนไพรที่ได้จากแร่โดยธรรมชาติหรือสิ่งที่ประกอบขึ้นจากแร่ธาตุต่าง ๆ ตามกรรมวิธี (ธาตุวัตถุ) นำมาใช้เป็นยา เช่น เกลือกำมะถัน น้ำประสานทอง ดีเกลือ สารส้ม เป็นต้น

“สมุนไพรไทย” เป็นเอกลักษณ์ที่สะท้อนวัฒนธรรมความเป็นชาติไทย มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาอัน
ยาวนานควบคู่สังคมไทยนับตั้งแต่ สมัยกรุงสุโขทัยต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ดังจะเห็นเป็นส่วนประกอบในอาหาร คาว-หวาน เป็นยารักษาโรค ใช้ในการดูแลสุขภาพและยาอายุวัฒนะ กระทั่งการเสริมความงาม ภูมิปัญญา เหล่านี้ได้รับการสั่งสม สืบทอด และพัฒนาต่อเนื่อง สร้างคุณค่า และมูลค่าให้แก่สมุนไพรไทยจนถึงปัจจุบัน

ผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรไทย คือ ที่สุดแห่งภูมิปัญญาไทย กลายเป็นหนึ่งในผลิตภัณฑ์ส่งออกสำคัญของประเทศ
โดยในต้นปี 2556 มีมูลค่าส่งออกสมุนไพรส่งไปประเทศญี่ปุ่นกว่า 80 ล้านบาท (Department of the
Permanent Secretary_ Ministry of Commerce._ 2014) ด้วยความพร้อมทางด้านต้นทุนการผลิต อัน

ได้แก่ ภูมิประเทศ วัตถุดิบ กระบวนการผลิต รวมถึงความหลากหลายของรูปแบบผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยและช่องทางการตลาดทั้งในและต่างประเทศ ซึ่งคณะรัฐมนตรีของไทยปีพุทธศักราช 2558 เสนอให้กระทรวงสาธารณสุขร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพัฒนาพืชสมุนไพรไทยให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นที่ยอมรับและสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์แปรรูปจาสมุนไพร

ปัจจุบันความต้องการใช้สมุนไพรในประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพราะความสนใจในการดูแลรักษาสุขภาพด้วยผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ และ สมุนไพรสามารถเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ได้หลากหลาย เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค โดยอุตสาหกรรมสมุนไพรได้รับการคาดการณ์ว่าเป็นอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ และสามารถสร้างความยั่งยืนในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของอุตสาหกรรมเป้าหมาย ทั้งอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพและกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต นอกจากนี้ ยังเกิดจากการเปลี่ยนแปลงบริบทที่คาดการณ์ว่าจะส่งผลต่อความยั่งยืนของระบบเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต

ทั้งในส่วนของผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติของผู้บริโภค และแนวโน้มในการดูแลสุขภาพและความงามที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อุปสงค์ของผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ และผลิตภัณฑ์
สมุนไพรเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ตลาดสมุนไพรทั้งเวชสำอาง อาหารเสริม

ขั้นตอนการทำยาดมสมุนไพร
ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมพิมเสนน้ํา
1. นําส่วนผสมทั้ง 3 ชนิด คือ เมนทอล 3 ส่วน พิมเสน 1 ส่วน การบูร 1 ส่วน
เทผสมรวมกันในภาชนะสําหรับผสมสาร
2. ใช้ไม้พายเล็กคนให้ส่วนผสมทั้งหมดละลายเป็นของเหลว
3. นําพิมเสนที่ได้บรรจุขวดปากกว้างปิดฝาพักไว้
ขั้นที่ 2 ขั้นเตรียมสมุนไพร
1. นําสมุนไพรทั้ง 5 ชนิด ในที่นี้ประกอบด้วย กานพลู ดอกจันทน์เทศ พริกไทยดํา โกศหัวบัว กระวาน ใส่ภาชนะรวมกัน้สมคลุกเคล้าเข้าด้วยกัน
2. น้ําสมุนไพรที่ได้ใส่ในขวดปากกว้างที่เตรียมไว้ในขั้นตอนที่ 1 ปิดฝาขวดให้สนิท
3. แช่สมุนไพรในพิมเสนน้ํา 1 คืน
4. นําส่วนผสมที่ได้บรรจุในขวดมีฝาปิดเพื่อนําไปใช้ประโยชน์ต่อไป
ขั้นที่ 3 ขั้นตอนบรรจุภัณฑ์
1. บรรจุสมุนไพรที่ได้นําใส่ขวด
2. ติดตราโลโก้บรรจุภัณฑ์

การสร้างตลาดและการหาแหล่งตลาดใหม่
ปัจจุบันการหาตลาดเพื่อรองรับสินค้า 1 ตําบล 1 ผลิตภัณฑ์จากชุมชนสู่ผู้บริโภคทั่วไป จนเกิดเป็น
ผลิตภัณฑ์ยอดนิยมระดับประเทศนั้น สามารถหาช่องทางขายใหม่ได้13 ลักษณะ โดยแต่ละลักษณะมีความเหมาะสมแตกต่างกันไปตามประเภทผลิตภัณฑ์ ก่อนจะกําหนดลักษณะการขายต้องทราบสัดส่วนของตลาดหรือธรรมชาติขององค์ ประกอบภายในตลาดเสียก่อน ซึ่งโดยทั่วไประบบการซื้อขายจะแยกได้เป็น 3 ส่วนดังนี้
- ตลาดขายส่ง เน้นการขายผ่านตัวแทนค้าส่ง โดยตลาดนี้จะมีมูลค่าประมาณ 60-80% ของกําลังซื้อตลาดทั่ว
ประเทศ
- ตลาดขายปลีก เน้นการขายปลีก ผู้สนใจทั่วไปและสมาชิกตลาดส่วนนี้จะมีมูลค่าประมาณ20-40% ของกําลังซื้อทั่วประเทศ
- ตลาดขายตรง เป็นการขายด้วยวิธีการสื่อสารโดยตรงไปยังลูกค้าแต่ละคนหรือแต่ละกลุ่มเป้าหมาย
เพื่อให้เกิดการตัดสินใจซื้อโดยตรง ได้แก่ การขายโดยการตั้งทีมขายตรงโทรศัพท์ไปหาลูกค้า_ ใช้ Fax_ จดหมายเชิญชวน_ ใช้ Catalogue รวมทั้งใช้สื่อวิทยุ_ หนังสือพิมพ์_ ทางอินเทอร์เน็ต โดยมีบริการเสริมพิเศษคือ การจัดส่ง
ถึงมือผู้ซื้อโดยตรง (Delivery Service) สําหรับตลาดขายตรง ปัจจุบันมีความสําคัญมากขึ้นเพราะเป็นวิธีสร้างความใกล้ชิดกับลูกค้าโดยตรง ทําให้ได้รับข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการพัฒนาของสินค้าให้ตรงความต้องการที่แท้จริงของลูกค้า

การยื่นขอจดทะเบียน ยาดม สมุนไพร
การขออนุญาตผลิต/ขายผลิตภัณ์ฑสมุนไพร
ผู้ขอรับอนุญาต (เจ้าของร้าน)
1. คำขออนุญาตผลิต นำเข้า หรือขายผลิตภัณฑ์สมุนไพร(แบบ สมพ.1)
2. สัญญาระหว่างผู้รับอนุญาตกับผู้ที่มีหน้าที่ปฏิบัติการ
3. หนังสือมอบอำนาจให้ทำการแทน
4. หนังสือมอบอำนาจและแต่งตั้งผู้ดำเนินกิจการ (กรณีผู้ขออนุญาตเป็นนิติบุคคล)
5. รูปถ่าย ขนาด 1 นิ้ว จ านวน 3 ใบ (ไม่เกิน 6 เดือน)
6. สำเนาบัตรประชาชน
7. สำเนาทะเบียนบ้าน
8. ใบรับรองแพทย์
9. สำเนาใบทะเบียนพาณิชย์
10.สำเนาทะเบียนบ้านสถานที่ผลิต/ขาย สมุนไพร
11. สัญญาเช่า/หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ พร้อมสำเนาบัตรประชาชนผู้ให้เช่า/ผู้ให้ความยินยอม
12. สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียน และผู้มีอำนาจลงชื่อแทนนิติบุคคลผู้ขออนุญาต (กรณีผู้ขอนุญาตเป็นนิติบุคคล)
13. แบบแปลนแผนผังภายในสถานที่ผลิต/ขาย สมุนไพร
14. แผนที่พร้อมพิกัดการเดินทางไปยังสถานประกอบการ

ขั้นตอนการดําเนินงาน
ผ่านแล้ว
1.จัดทําใบอนุญาต/พิจารณาลงนาม
2.แจ้งผู้ประกอบการรับใบอนุญาต
3.รับใบอนุญาต/ชําระค่าธรรมเนียม
4.ผู้ประกอบการยื่นคําขอพร้อมหลักฐาน
5.เจ้าหน้าที่รับคําขอ/ตรวจสอบ
6.ผู้ประกอบการจัดเตรียมสถานที่
7.ตรวจสถานที่
8.ผู้ประกอบการถ่ายรูปภายนอก ภายในร้านยา
9.ส่งให้เจ้าหน้าที่พิจารณาทาง E-mai

ตรวจสถานที่
1.จัดทําใบอนุญาต/พิจารณาลงนาม
2.แจ้งผู้ประกอบการรับใบอนุญาต
3.รับใบอนุญาต/ชําระค่าธรรมเนียม

ค่าธรรมเนียม
- ใบอนุญาตผลิตสมุนไพร 5000 บาท
- ใบอนุญาตนำเข้าสมุนไพร 20000 บาท
- ใบอนุญาตขายสมุนไพร 1500 บาท
- ใบอนุญาตโฆษณา 2500 บาท
- ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับผลิตภัณฑ์สมุนไพร2500 บาท
- ใบรับแจ้งรายละเอียดผลิตภัณฑ์สมุนไพร2500 บาท
- ใบรับจดแจ้งผลิตภัณฑ์สมุนไพร 900 บาท
- ใบแทนใบอนุญาต ใบสำคัญการขึ้นทะเบียนตำรับใบรับแจ้งรายละเอียด ใบรับจดแจ้ง 200 บาท

ข้อมูลจาก http://ไปที่..link.. สำหรับผู้ผลิตสินค้ายาดมสมุนไพร สามารถส่งตัวอย่างเข้าตรวจวิเคราะห์กับ บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด หรือ CENTRAL LAB THAI ได้ที่ลิงค์นี้ http://ไปที่..link..
โรคเชื้อราในเสาวรส: คู่มือการป้องกันและรักษาโรคในเสาวรส
โรคเชื้อราในเสาวรส: คู่มือการป้องกันและรักษาโรคในเสาวรส
เสาวรสเป็นผลไม้ที่อร่อยและมีคุณค่าทางโภชนาการที่เป็นที่นิยมทั่วโลก น่าเสียดายที่มันไวต่อโรคเชื้อราหลายชนิดที่สามารถสร้างความเสียหายอย่างมากต่อพืชและทำให้ผลผลิตผลไม้ลดลง ในบทความนี้ เราจะพูดถึงโรคเชื้อราที่พบได้บ่อยในเสาวรสและการป้องกันและการรักษาที่แนะนำด้วย IS และ FK-1

โรคแอนแทรคโนส
โรคแอนแทรคโนสเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อราที่ใบ ลำต้น และผลเสาวรส ปรากฏเป็นจุดสีน้ำตาลเข้มหรือดำบนใบและผล ทำให้เปลี่ยนเป็นสีเหลืองและร่วงโรย เชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคแอนแทรคโนสเจริญเติบโตได้ในสภาพที่อบอุ่นและชื้น และสามารถแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน

ไฟทอฟธอร่า ไบล์ท
โรคไฟทอฟธอราเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อราไฟทอฟธอรา มีผลทำลายราก ลำต้น และผลเสาวรส ทำให้เน่าตายได้ อาการต่างๆ ได้แก่ ใบและเถาเหี่ยว รากเน่า และผลเน่า โรคนี้มักระบาดในพื้นที่ที่มีฝนตกชุกและดินที่มีการระบายน้ำไม่ดี

การป้องกันและการรักษาที่แนะนำ
การป้องกันและรักษาโรคเชื้อราในเสาวรสเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติทางวัฒนธรรมที่ดีและการใช้สารฆ่าเชื้อราที่เหมาะสม สารกำจัดเชื้อราที่มีประสิทธิภาพชนิดหนึ่งคือ IS ซึ่งมีสารประกอบอินทรีย์ที่สามารถป้องกันและกำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราได้ ผสมไอเอสในอัตรา 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ลำต้น และผลของเสาวรส

นอกจากนี้ยังสามารถบำรุงต้นเสาวรสด้วย FK-1 ซึ่งเป็นส่วนผสมของธาตุหลักและธาตุเสริม ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม สังกะสี และสารลดแรงตึงผิว สามารถผสม FK-1 ในอัตรา 50 กรัมของถุงแรกและ 50 กรัมของถุงที่สองในน้ำ 20 ลิตร แล้วราดลงบนรากของพืช

มาตรการป้องกันอื่นๆ ได้แก่:

ตัดแต่งกิ่งและกำจัดส่วนของพืชที่ได้รับผลกระทบเพื่อป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อรา
ตรวจสอบให้แน่ใจว่ามีการระบายน้ำในดินอย่างเพียงพอเพื่อป้องกันการสะสมของความชื้นส่วนเกิน
การให้น้ำที่เหมาะสมเพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้มีน้ำขังและส่งเสริมการเจริญเติบโตที่ดี
หลีกเลี่ยงการให้น้ำเหนือศีรษะเพื่อลดโอกาสการแพร่กระจายของสปอร์ของเชื้อรา
บทสรุป
โรคเชื้อราสามารถสร้างความเสียหายอย่างมากต่อต้นเสาวรสและทำให้ผลผลิตผลไม้ลดลง อย่างไรก็ตาม ด้วยการปฏิบัติทางวัฒนธรรมที่ดีและการใช้สารฆ่าเชื้อราที่เหมาะสม เช่น IS และ FK-1 โรคเหล่านี้สามารถป้องกันและรักษาโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ สิ่งสำคัญคือต้องระบุอาการของโรคเชื้อราตั้งแต่เนิ่นๆ และใช้มาตรการที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการแพร่กระจาย เมื่อปฏิบัติตามคำแนะนำเหล่านี้ ผู้ปลูกเสาวรสสามารถรักษาพืชให้แข็งแรงและให้ผลผลิตได้ และเพลิดเพลินกับการเก็บเกี่ยวที่อุดมสมบูรณ์
อ่าน:3689
3582 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 358 หน้า, หน้าที่ 359 มี 2 รายการ
|-Page 46 of 359-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 | 358 | 359 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
คาดการณ์ ราคารับซื้อ สับปะรด และ การส่งออกสับปะรด ปี 2568
Update: 2567/11/26 11:40:17 - Views: 409
ยารักษาโรคพืช กำจัดโรคใบจุด ใน มะเขือเทศ โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด(ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/05/31 10:48:14 - Views: 3490
โรคใบด่างข้าวโพด
Update: 2564/08/10 12:01:22 - Views: 3611
แก้ปัญหาโรคใบไหม้ ใบแห้ง ใบจุด ราสนิม โรคจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค 1ขวด ใช้ได้ 5ไร่
Update: 2564/08/16 07:40:46 - Views: 3568
เตือน!! ระวังเพลี้ยไฟ บุก สวนกล้วยไม้ สร้างเสียหายได้มาก จัดการได้อย่างไร?
Update: 2566/11/01 13:35:12 - Views: 3481
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตรสำหรับมัลเบอร์รี่: พัฒนาต้นและผลผลิตได้อย่างครบถ้วน
Update: 2567/02/12 14:53:49 - Views: 3523
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในต้นมะละกออย่างมีประสิทธิผล
Update: 2566/05/06 09:34:07 - Views: 3563
ลำไย โตไว ใบเขียว ผลใหญ่ แข็งแรง ผลผลิตดี อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/05 13:33:28 - Views: 3469
ป้องกัน กำจัด โรคราน้ำค้างในอ้อย
Update: 2566/01/07 09:24:11 - Views: 3435
วัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิด mRNA คืออะไร
Update: 2564/08/21 21:30:12 - Views: 3700
ประโยชน์ของการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสานในการเพาะปลูกทางการเกษตร
Update: 2566/01/05 08:45:03 - Views: 3611
โรคเชื้อราในกะหล่ำดอก: วิธีป้องกันและควบคุมเชื้อราที่มีผลกระทบต่อผลผลิต
Update: 2566/11/21 09:24:19 - Views: 3588
โรคใบไหม้ ในพืชต่างๆ ราน้ำค้าง ราสนิม ใบจุด พืชขาดธาตุอาหาร ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม #โรคใบไหม้ #โรคพืชจากเชื้อรา
Update: 2564/11/01 08:17:32 - Views: 3472
เตือน!! ระวังหนอนเจาะลำต้น ระบาดทำลาย ต้นข้าวโพด ของคุณ ...สร้างเสียหายได้มาก จัดการได้อย่างไร?
Update: 2566/11/02 15:17:12 - Views: 3486
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 : ตัวช่วยลับ เพิ่มผลผลิตพริกให้ใหญ่ ดก และคุ้มค่า
Update: 2567/03/13 11:38:40 - Views: 3469
มังคุดใบแหว่ง หนอนชอนใบ กัดกิน กำจัด หนอนมังคุด ใช้ ไอกี้ บำรุงด้วย FK-T
Update: 2565/07/23 08:27:14 - Views: 3482
การป้องกันกำจัดโรคเชื้อราในถั่วเหลือง
Update: 2566/05/11 09:34:40 - Views: 3493
เพิ่มผลผลิตถั่วลิสง ด้วย ฟาร์มิค ฮิวมิคประสิทธิภาพสูง
Update: 2567/03/12 13:21:02 - Views: 3554
โรคใบไหม้ ใบจุด ใบขีดสีน้ำตาล โรคใบติดทุเรียน แอนแทรคโนส โรคกุ้งแห้งพริก ราน้ำค้างในพืชตระกูลแตง ราสนิม ราดำ โรคพืชต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ เมทาแลคซิล
Update: 2566/10/09 14:52:45 - Views: 3465
โรคใบไหม้ (โรคใบจุดตาเสือ) : LEAF BLIGHT DISEASE
Update: 2564/08/09 06:41:05 - Views: 3583
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022