[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3589 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 358 หน้า, หน้าที่ 359 มี 9 รายการ

ผักบุ้งทะเล แก้แผลเรื้อรัง แก้พิษฝีบวม แก้งูสวัด ถอนพิษ จากแมลงกัดต่อย พิษสัตว์ทะเล แมงกระพรุน
ผักบุ้งทะเล แก้แผลเรื้อรัง แก้พิษฝีบวม แก้งูสวัด ถอนพิษ จากแมลงกัดต่อย พิษสัตว์ทะเล แมงกระพรุน
ผักบุ้งทะเล แก้แผลเรื้อรัง แก้พิษฝีบวม แก้งูสวัด ถอนพิษ จากแมลงกัดต่อย พิษสัตว์ทะเล แมงกระพรุน
ผักบุ้งทะเล ชื่อสามัญ Goat’s foot creeper_ Beach morning glory

ผักบุ้งทะเล ชื่อวิทยาศาสตร์ Ipomoea pes-caprae (L.) R. Br.(ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ Convolvulus pes-caprae L._ Ipomoea biloba Forssk.) จัดอยู่ในวงศ์ผักบุ้ง (CONVOLVULACEAE)

สมุนไพรผักบุ้งทะเล มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ผักบุ้งต้น ผักบุ้งขน (ไทย)_ ผักบุ้งเล (ภาคใต้)_ ละบูเลาห์ (มะลายู-นราธิวาส)_ หม่าอานเถิง (จีนกลาง) เป็นต้น

ลักษณะของผักบุ้งทะเล
ต้นผักบุ้งทะเล จัดเป็นพรรณไม้ล้มลุกมีอายุหลายปี มีลำต้นทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน สามารถเลื้อยไปได้ยาวมาก ประมาณ 5-30 เมตร ลักษณะของลำต้นหรือเถากลมเป็นสีเขียวปนแดงหรือเป็นสีแดงอมม่วง ผิวเกลี้ยงลื่น ตามข้อจะมีรากฝอย ภายในกลวง ทั้งต้นและใบมียางสีขาว ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ดและตัดลำต้นปักชำ เป็นพรรณไม้กลางแจ้ง ทนต่อความแห้งแล้งได้ดี มักขึ้นตามหาดทรายหรือริมทะเล
ใบผักบุ้งทะเล ใบเป็นใบเดี่ยวออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปกลม รูปไข่ รูปไต หรือรูปเกือกม้า ปลายใบเว้าบุ๋มเข้าหากัน โคนใบสอบแคบเป็นรูปหัวใจ ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 7-11 เซนติเมตรและยาวประมาณ 5-8 เซนติเมตร เส้นใบเป็นแบบขนนก เนื้อใบค่อนข้างหนา ผิวใบมันเป็นสีเขียว หลังใบและท้องใบเรียบ ก้านใบยาวมีสีแดง
ดอกผักบุ้งทะเล ออกดอกเป็นช่อแบบซี่ร่มตามง่ามใบ ในช่อดอกจะมีดอกประมาณ 2-6 ดอก และจะทยอยบานทีละดอก ลักษณะของดอกเป็นรูปปากแตร โคนกลีบดอกเชื่อมติดกัน ส่วนปลายดอกบานเป็นรูปปากแตร มี 5 กลีบ ลักษณะของกลีบดอกกลมรี แตกออกเป็นแฉก 5 แฉก มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 เซนติเมตร ดอกมีเกสรเพศผู้ 5 ก้าน ดอกเป็นสีม่วงอมชมพู สีม่วงอมแดง สีชมพู หรือเป็นสีม่วง ผิวเกลี้ยง ด้านในของดอกส่วนโคนจะมีสีเข้มกว่าด้านนอก ส่วนกลีบดอกเลี้ยงเป็นสีเขียว และดอกจะเหี่ยวง่าย
ต้นช่วยทำให้เจริญอาหาร (ต้น)
ทั้งต้นมีรสเผ็ด ขม เค็ม เป็นยาเย็นเล็กน้อย ออกฤทธิ์ต่อม้ามและตับ ใช้เป็นยาขับลม ขับน้ำชื้น (ทั้งต้น)
ช่วยแก้หวัดเย็น (ทั้งต้น)
ช่วยแก้อาการปวดฟัน (ราก)
ใช้แก้อาการจุกเสียด (ใบ)
เมล็ดมีรสขื่น ใช้เป็นยาแก้ปวดท้อง (เมล็ด)
รากใช้เป็นยาแก้โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (ราก)
เมล็ดใช้เป็นยาถ่าย ยาระบาย (เมล็ด)
รากเป็นยาขับปัสสาวะ ขับปัสสาวะในโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (ราก)
ใบใช้เข้ากับสมุนไพรอื่น นำมาต้มเอาไอรมรักษาริดสีดวงทวาร (ใบ)ผลผักบุ้งทะเล ลักษณะของเป็นรูปมนรีหรือรูปไข่มีเหลี่ยมคล้ายแคปซูล ผิวผลเรียบ พอผลแห้งจะแตกออกได้ มีความยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ภายในมีเมล็ดลักษณะกลม เป็นสีเหลือง มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6 มิลลิเมตร มีขนสีน้ำตาลปกคลุม

สรรพคุณของผักบุ้งทะเล

1. ใบใช้เป็นยาทาภายนอก แก้แผลเรื้อรัง หรือนำไปต้มกับน้ำใช้ล้างแผล (ใบ) น้ำคั้นจากใบนำมาต้มกับน้ำมะพร้าว ทำเป็นขี้ผึ้งทาแผลได้ชนิดรวมทั้งแผลเรื้อรัง (ใบ)

2. ทั้งต้นช่วยกระจายพิษ แก้พิษฝีบวม ฝีหนองบวมแดงอักเสบ แก้งูสวัด (ทั้งต้น)[4] ส่วนใบนำมาโขลก พอก ถอนพิษ แก้พิษต่าง ๆ เช่น พิษจากแมลงสัตว์กัดต่อย เช่น ปลา สัตว์ทะเลอื่น ๆ แมลง เป็นต้น (ใบ)

3. ต้นใช้เป็นยาถอนพิษลมเพลมพัดหรืออาการบวมที่เปลี่ยนไปตามอวัยวะทั่วไป (ต้น_ ทั้งต้น)

4. ใช้เป็นยาทาแก้อาการอักเสบ แก้พิษจากแมงกะพรุนไฟ ทำให้แผลหายเร็วและไม่เป็นแผลเป็น ตามตำรายาระบุให้ใช้ต้นสดนำมาตำให้พอแหลกผสมกับน้ำส้มสายชู นำมาใช้ทาบริเวณที่เป็น ส่วนตำรายาไทยระบุให้ใช้ใบสดประมาณ 10-15 ใบ นำมาตำให้ละเอียด คั้นเอาแต่น้ำทาแผลบริเวณที่ถูกแมงกะพรุน หรือจะตำกับเหล้าใช้เป็นยาพอกก็ได้ หรืออาจจะใช้รากสด 1 ราก นำมาฝนกับน้ำฝนให้ข้น ๆ ผสมกับเหล้าโรงหรือแอลกอฮอล์ แล้วใช้ทาบ่อย ๆ หรือจะใช้ทั้งต้นนำมาตำให้ละเอียด คั้นเอาแต่น้ำหรือนำมาตำผสมกับเหล้าใช้เป็นยาทาหรือพอกก็ได้เช่นกัน (ก่อนทายาให้ใช้ทรายขัดบริเวณที่โดนพิษแมงกะพรุนเพื่อเอาเมือกของแมงกะพรุนออกไปให้หมดก่อนและให้ทาวันละ 2-3 ครั้ง เช้า กลางวัน และเย็น จนกว่าจะหาย) (ต้น_ ราก_ ใบ_ ทั้งต้น)

5. ใบใช้เป็นยาพอกหรือต้มอาบรักษาโรคผิวหนัง (ใบ)

6. ต้นนำมาต้มกับน้ำอาบแก้อาการคันตามผิวหนัง (ต้น_ ทั้งต้น) ส่วนรากใช้เป็นยาแก้ผดผื่นคันมีน้ำเหลือง (ราก)

7. ใช้แก้ผดผื่นคันบริเวณหลังเนื่องจากการกดทับ ตามตำรายาระบุให้ใช้ใบสดนำมาตำให้แหลก คั้นเอาแต่น้ำ ใช้ทาบริเวณที่เป็น (ใบ)

8. ตำรายาแก้ฝีหนองภายนอกระบุให้ใช้ต้นสดนำมาตำให้พอแหลก ผสมกับน้ำตาลทรายแดงหรือน้ำผึ้ง แล้วนำมาพอกบริเวณที่เป็น (ต้น)

9. เมล็ดใช้เป็นยาแก้ตะคริว ป้องกันตะคริว (เมล็ด)

10. ใบมีรสขื่นเย็น ใช้ภายนอกเป็นยาทาแก้โรคไขข้ออักเสบ แก้ปวดไขข้ออักเสบมีหนอง (ใบ)

11. ช่วยแก้ลมชื้นปวดเมื่อยตามข้อ แก้เหน็บชา (ทั้งต้น)

12. ช่วยแก้โรคเท้าช้าง (ราก)



ขอบคุณข้อมูลจาก: https://medthai.com/
อ่าน:4011
โรคใบด่างในเสาวรส เสาวรสใบด่าง เกิดจากเชื้อไว้รัส ไม่มียารักษาโดยตรง ต้องกำจัดแมลงพาหะ และบำรุงให้แข็งแรง
โรคใบด่างในเสาวรส เสาวรสใบด่าง เกิดจากเชื้อไว้รัส ไม่มียารักษาโดยตรง ต้องกำจัดแมลงพาหะ และบำรุงให้แข็งแรง
โรคใบด่างในเสาวรส เสาวรสใบด่าง เกิดจากเชื้อไว้รัส ไม่มียารักษาโดยตรง ต้องกำจัดแมลงพาหะ และบำรุงให้แข็งแรง
โรคใบด่างในเสาวรส (Mosaic) โรคนี้เป็นโรคที่สำคัญที่สุดของเสาวรส เมื่อเกิดการระบาดแล้ว จะทำให้ผลผลิตลดต่ำลง ทั้งปริมาณและคุณภาพ โดยในเสาวรสรับประทานสดนั้น ส่วนใหญ่มีการติดโรคนี้เนื่องจากมีการขยายพันธุ์ โดยใช้กิ่งพันธุ์ดีจากต้นแม่เดิม ที่เป็นโรคอยู่ก่อนแล้ว ปัจจุบันอยู่ในระหว่างการวิจัย เพื่อผลิตต้นแม่ที่ปลอดโรคอยู่

สาเหตุและอาการ

โรคใบด่างเกิดจากเชื้อไวรัส 2 ชนิด คือ Passion fruit Woodiness Virus (PWV) ซึ่งเป็นไวรัสท่อนยาวคดขนาด 650-800 นาโนเมตร ลักษณะต้นที่เป็นโรคจะแสดงอาการใบด่าง เส้นใบใส ผลด่างทั่วผลและมีอาการด่างแบบวงแหวน ผิวเปลือกไม่เรียบ เปลือกหนากว่าปกติ ผลจะมีลักษณะบิดเบี้ยวและขนาดเล็กลง เชื้อไวรัสอีกชนิดหนึ่งคือ Cucumber Mosaic Virus (CMV) อาการที่พบคือใบด่างเหลือง ใบยอดบิดและหงิกงอ ผิวใบไม่เรียบ ผลบิดเบี้ยว

การแพร่ระบาด

เชื้อไวรัสสามารถถ่ายทอดโดยวิธีกล เช่น การตัดแต่งกิ่ง การเสียบกิ่งและระบาดโดยแมลงพาหะ เช่น เพลี้ยอ่อน

การป้องกันกำจัด

1. คัดเลือกต้นกล้าที่สมบูรณ์ปลอดจากไวรัส

2. ไม่ควรปลูกปะปนกับพืชตระกูลแตง มะเขือ

3. เมื่อนำต้นกล้าลงปลูกจนกระทั่งถึงเริ่มติดผล ควรพ่นยาป้องกันกำจัดแมลงพาหะเป็นระยะๆ

4. ควรระมัดระวังเครื่องมือที่ใช้ติดแต่งกิ่ง โดยทำความสะอาดทุกครั้งที่ตัดแต่งต้นเสร็จในแต่ละต้น

5. การบำรุงต้นให้มีความแข็งแรงสมบูรณ์อยู่เสมอ จะทำให้ต้นทนทานต่อการทำลายของโรคไวรัส และยังคงให้ผลผลิตได้ดีถึงแม้ปริมาณและคุณภาพจะลดลงบ้าง แต่ก็ยังคงสามารถให้ผลผลิตได้ดี

🦗 ฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ กำจัด เพลี้ย แมลงหวี่ขาว แมลงพาหะของโรค และแมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🌿 ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี [FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ มาคา
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🦗ข้อมูล มาคา

มาคา เป็นยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ กำจัดแมลงศัตรูพืช
สกัดจากพืช_ 100% จากธรรมชาติ ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

*การใช้มาคากำจัด เพลี้ย และแมลงศัตรูพืช กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿เกี่ยวกับ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig's law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น

🎖คลิกลิงค์เพื่อสั่งซื้อผ่านหน้าเว็บ http://www.farmkaset..link..

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
อ่าน:4008
กัญชาใบไหม้ โรคกัญชา โรคราสนิม โรคใบเหลือง
กัญชาใบไหม้ โรคกัญชา โรคราสนิม โรคใบเหลือง
อาการใบไหม้ของกัญชา กัญชงใบไหม้ โรคราสนิมต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

แต่ควรสังเกตุเช่นกัน ในบ้างครั้ง อาการใบไหม้ โดยเฉพาะอาการใบเหลือง แต่ไม่มีอาการไหม้ อาจจะเกิดจากการขาดธาตุอาหารพืชได้เช่นกัน ความแตกต่างคือ อาการที่เกิดจากการขาดธาตุอาหารพืช จะไม่ลุกลามขยายวงกว้างออกไปเรื่อยๆ

อาการใบไหม้จากเชื้อรา ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ส่วนอาการที่เกิดจากการขาดธาตุ ฉีดพ่น FK ธรรมชาตินิยม
อ่าน:4005
ปัญหาดินเสีย และวิธีแก้ไขดินเสีย ให้ทำการเกษตรได้ดีขึ้น
ปัญหาดินเสีย และวิธีแก้ไขดินเสีย ให้ทำการเกษตรได้ดีขึ้น
เกษตรกรที่ทำงานเกษตรต่างๆ ส่วนมากต้องอาศัยดินเพื่อการปลูกพืช ก็เปรียบได้ว่าดินเป็นเหมื่อนต้นกำหนดแห่งชีวิตเลย แต่พอทำไปนานๆเข้ามันมักจะเกิดปัญหาเพราะดินต้องทำงานหนักมากจนเกินไป เจอพืชที่ทำลายดิน เจอยาฆ่าแมลง ไปมากๆเข้าดินอาจรับไม่ไหว ดินบางพื้นที่อาจได้รับปัญหาอื่นอีกมาก วันนี้เราจะมาพูดถึงสาเหตุที่ทำให้ดินเสีย และวิธีแก้ เพื่อที่ชาวเกษตรกรจะได้หลีกเลี่ยงการทำให้ดินเสียได้บางทีก็อาจทำลายดินหรือแหล่งรายได้ของตัวเองโดยไม่รู้ตัว และใครที่ดินเสียแล้วจะได้ไม่หมดกำลังใจในการทำงาน

ปัญหาดินเสีย

โดยสาเหตุการทำให้ดินเสียมี 2 ประเภท ด้วยกันใหญ่

1.เสียโดยธรรมชาติทำลาย คือ ลมแรง กระแสน้ำกัดเซาะพัดพาหน้าดินหลุดลอยหายไป

2.เสียโดยมนุษย์ทำลาย คือ

2.1 ปัญหาใหญ่เลยก็คือการตัดไม้ทำลายป่า เวลาฝนตกจะไม่มีอะไรดูดน้ำหรือรักษาหน้าดินไว้ จึงทำให้น้ำกัดเซาะหนาดินที่ดีไปหมด

2.2 ชาวเกษตรการทำการเกษตรไม่ถูกวิธี คือ

-การปลูกพืชชนิดเดียวกันเป็นเวลานานโดยไม่เปลี่ยนหรือวนปลูกพืชชนิดอื่น จะทำให้ธาตุอาหารตามระดับความลึกของรากพืชถูกนำไปใช้มากจนดินเสื่อมความสมบูรณ์

-การใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีต่างๆเป็นเวลานาน มันอาจจะได้ผลดีกับพืชแต่จะไปทำลายดินและผู้บริโภคได้

-การไถหรือพรรณดินในขณะที่ดินเปียก

-การขุดหน้าดินไปขาย

-การเผาหน้าดิน

วิธีป้องกันไม่ให้ดินเสีย

1.การปลูกหญ้าแฝกเป็นแนวหน้ากระดานเพื่อเป็นการป้องกันการกัดเซาะหน้าดิน

2.การปลูกพืชคลุมดิน เพื่อเป็นการรักษาหน้าดินไม่ให้เกิดการพังทลาย และจะได้ช่วยเก็บน้ำให้อยู่ในดินในชุมชื้น

3. การปลูกพืชตะกูลถั่วเอาสลับกับพืชชนิดอื่น เพื่อเป็นการเพิ่มไนโตเจนให้กับดิน

4. การใช้ปุ๋ยพืชสดและปุ๋ยคอกแทนปุ๋ยเคมีเพื่อเป็นการไม่ทำให้ดินเสียและรักษาดินได้

5.ปลูกไม้ยืนต้นที่ช่วยบำรุงดิน อย่าง ฉำฉา กระถินเทพา กระถินณรงค์ เป็นต้น

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..ารเกษตร.com/สาเหตุที่ทำให้ดินเสีย/
อ่าน:4005
โรคราแป้ง ในเงาะ
โรคราแป้ง ในเงาะ
สาเหตุของโรคราแป้ง ที่เกิดขึ้นในเงาะ : เกิดจากเชื้อรา Oidium nephelii

ลักษณะการทําลายของโรคราแป้งในเงาะ

โรคราแป้ง (powdery mildew) สามารถเขาทําลายเงาะได้ทุกระยะการเจริญเติบโต แต่อาการรุนแรงและความเสียหายเกิดที่ผลอ่อน อาการที่สังเกตเห็นได้ คือ ใบอ่อน ช่อดอก ผลอ่อน จะมีผงฝุ่นแป้งปกคลุมอยู ทําให้ผลอ่อนร่วง ถ้าเป็นโรคในระยะที่ผลโตแล้วจะทําให้แลดูสกปรกและเกิดอาการเงาะขนเกรียน ขายไม่ได้ราคา เชื้อนี้จะระบาดในช่วงอากาศเย็นและชื้น ราจะขึ้นปกคลุมผิวของพืชและสร้างอวัยวะคล้ายรากแทงเข้าไปภายในพืชดูดกินน้ําเลี้ยง

การแพร่กระจายและฤดูที่มีการระบาด

สปอร์ของเชื้อราแพร่ระบาดทางลมในระยะที่อากาศแห้งแล้งและเย็น เชื้อราเข้าทําลายเงาะระยะดอกบานและติดผลออนและตกคางที่ผิวผลจนถึงระยะเงาะแก่

การป้องกันและกําจัด

1. ในช่วงแตกใบอ่อนและเริ่มติดผลหมั่นตรวจดูว่าพบราแป้งเขาทําลายใบอ่อนหรือไม่ ถ้าพบ ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 7 วัน ต่อเนื่อง สองถึงสามครั้ง

2. ในช่วงระยะผลอ่อน ควรฉีดพ่น ไอเอส เพื่อป้องกันไว้ แม้ยังไม่พบโรค

3. เก็บผลเงาะที่เป็นโรค ใบแป้ง กิ่งแห้ง ที่ร่วงหล่น เผาทำลาย เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของโรค

Reference:
main content from trat.doae.go.th
อ่าน:3995
โรคพืช
โรคพืช
พยาธิวิทยาของพืช (เช่นphytopathology ) เป็นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับโรคในพืชที่เกิดจากเชื้อโรค (สิ่งมีชีวิตที่ติดเชื้อ) และสภาพแวดล้อม (ปัจจัยทางสรีรวิทยา) [1]มีชีวิตที่ก่อให้เกิดโรคติดเชื้อ ได้แก่เชื้อรา _ oomycetes _ แบคทีเรีย _ ไวรัส _ ไวรอยด์ _ ไวรัสเหมือนมีชีวิตไฟโตพลาสมา _ โปรโตซัว _ ไส้เดือนฝอยและพืชกาฝาก ไม่ได้รวมเป็นปรสิตภายนอกเช่นแมลง _ไร _ เลี้ยงลูกด้วยนมหรืออื่น ๆศัตรูพืชที่มีผลต่อสุขภาพของพืชโดยการรับประทานอาหารของเนื้อเยื่อพืช โรคพืชนอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับการศึกษาของประชาชนเชื้อสาเหตุโรครอบโรคผลกระทบทางเศรษฐกิจที่ระบาดวิทยาโรคพืช _ ความต้านทานต่อโรคพืชวิธีโรคพืชส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสัตว์พันธุศาสตร์ pathosystem และการจัดการโรคพืช


วงจรชีวิตของเชื้อโรคเน่าดำ Xanthomonas campestris pathovar campes
ภาพรวม
การควบคุมโรคพืชมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการผลิตอาหารที่เชื่อถือได้และก่อให้เกิดปัญหาสำคัญในการใช้ที่ดินน้ำเชื้อเพลิงและปัจจัยอื่น ๆ ทางการเกษตร พืชทั้งในประชากรธรรมชาติและปลูกดำเนินการต้านทานโรคโดยธรรมชาติ แต่มีตัวอย่างมากมายของการทำลายล้างผลกระทบโรคพืชเช่นความอดอยากของไอร์แลนด์และทำลายเกาลัดเช่นเดียวกับที่เกิดขึ้นอีกโรคพืชที่รุนแรงเช่นระเบิดข้าว _ ถั่วเหลืองไส้เดือนฝอยถุงและส้ม โรคแคงเกอร์ .

อย่างไรก็ตามการควบคุมโรคประสบความสำเร็จพอสมควรสำหรับพืชผลส่วนใหญ่ การควบคุมโรคทำได้โดยการใช้พืชที่ได้รับการปรับปรุงพันธุ์เพื่อให้มีความต้านทานต่อโรคต่างๆได้ดีและโดยวิธีการเพาะปลูกพืชเช่นการปลูกพืชหมุนเวียนการใช้เมล็ดพันธุ์ที่ปราศจากเชื้อโรควันที่ปลูกและความหนาแน่นของพืชที่เหมาะสมการควบคุมความชื้นในสนามและยาฆ่าแมลงใช้. จำเป็นต้องมีความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องในวิทยาศาสตร์ด้านพยาธิวิทยาของพืชเพื่อปรับปรุงการควบคุมโรคและเพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของความดันโรคที่เกิดจากวิวัฒนาการและการเคลื่อนย้ายของเชื้อโรคพืชอย่างต่อเนื่องและจากการเปลี่ยนแปลงในการปฏิบัติทางการเกษตร

โรคพืชก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่สำหรับเกษตรกรทั่วโลก ในภูมิภาคขนาดใหญ่และพันธุ์พืชหลายชนิดคาดว่าโรคโดยทั่วไปจะลดผลผลิตพืชลง 10% ทุกปีในสภาพแวดล้อมที่พัฒนามากขึ้น แต่การสูญเสียผลผลิตของโรคมักจะเกิน 20% ในสภาพแวดล้อมที่พัฒนาน้อยกว่า องค์การอาหารและเกษตรประมาณการว่าศัตรูพืชและโรคมีความรับผิดชอบประมาณ 25% ของการสูญเสียพืช ในการแก้ปัญหานี้จำเป็นต้องใช้วิธีการใหม่ในการตรวจหาโรคและแมลงศัตรูพืชตั้งแต่เนิ่นๆเช่นเซ็นเซอร์ใหม่ที่ตรวจจับกลิ่นพืชสเปกโทรสโกปีและไบโอโฟโตนิกส์ที่สามารถวินิจฉัยสุขภาพของพืชและการเผาผลาญได้ [2]

เชื้อโรคพืช

โรคราแป้งเป็นเชื้อราทางชีวภาพ
เชื้อรา
เชื้อราสาเหตุโรคพืชส่วนใหญ่อยู่ในAscomycetesและBasidiomycetes เชื้อราจะสืบพันธุ์ได้ทั้งแบบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศโดยการสร้างสปอร์และโครงสร้างอื่น ๆ สปอร์อาจแพร่กระจายได้ในระยะทางไกลโดยทางอากาศหรือทางน้ำหรืออาจมาจากดิน เชื้อราที่อาศัยอยู่ในดินจำนวนมากที่มีความสามารถในการมีชีวิตอยู่saprotrophicallyการดำเนินการส่วนหนึ่งของวงจรชีวิตของพวกเขาในดิน เหล่านี้คือ saprotrophs ปัญญา โรคเชื้อราอาจควบคุมได้โดยการใช้ยาฆ่าเชื้อราและการปฏิบัติทางการเกษตรอื่น ๆ อย่างไรก็ตามเชื้อราเผ่าพันธุ์ใหม่มักมีวิวัฒนาการที่ทนทานต่อสารฆ่าเชื้อราต่างๆ เชื้อราที่ก่อโรคทางชีวภาพจะตั้งรกรากอยู่ในเนื้อเยื่อพืชที่มีชีวิตและได้รับสารอาหารจากเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เชื้อโรคจากเชื้อราNecrotrophic จะติดเชื้อและฆ่าเนื้อเยื่อของโฮสต์และดึงสารอาหารจากเซลล์ที่ตายแล้ว เชื้อราที่ทำให้เกิดโรคพืชที่สำคัญ ได้แก่ : [ ต้องการอ้างอิง ]


ระเบิดข้าวที่เกิดจากเชื้อราเนื้อร้าย
Ascomycetes
Fusarium spp. (Fusarium โรคเหี่ยว)
Thielaviopsis spp. (โรคแคงเกอร์เน่ารากดำรากเน่า Thielaviopsis )
Verticillium spp.
Magnaporthe grisea (ระเบิดข้าว)
Sclerotinia sclerotiorum (เน่าคอตตอน)
Basidiomycetes
Ustilago spp. (smuts) เขม่าของข้าวบาร์เลย์
Rhizoctonia spp.
Pakospora pachyrhizi (สนิมถั่วเหลือง)
Puccinia spp. (สนิมของธัญพืชและหญ้าอย่างรุนแรง)
Armillaria spp. (สายพันธุ์ของเชื้อราน้ำผึ้ง_ เชื้อโรคที่รุนแรงของต้นไม้)
สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะคล้ายเชื้อรา
Oomycetes
oomycetesเป็นสิ่งมีชีวิตเชื้อราเช่น [3]พวกเขารวมถึงบางส่วนของที่สุดเชื้อสาเหตุโรคพืชทำลายรวมทั้งจำพวก เชื้อรา Phytophthoraซึ่งรวมถึงตัวแทนสาเหตุของมันฝรั่งปลายทำลาย[3]และการเสียชีวิตอย่างกะทันหันของโอ๊ค [4] [5]สายพันธุ์เฉพาะของ oomycetes มีความรับผิดชอบสำหรับโรครากเน่า

แม้ว่าจะไม่ได้มีความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับเชื้อรา แต่ oomycetes ก็ได้พัฒนากลยุทธ์การติดเชื้อที่คล้ายคลึงกัน Oomycetes สามารถใช้โปรตีน effector เพื่อปิดการป้องกันของพืชในกระบวนการติดเชื้อ [6]นักพยาธิวิทยาพืชมักจะรวมกลุ่มกับเชื้อราที่ทำให้เกิดโรค

เชื้อโรคพืช oomycete ที่สำคัญ ได้แก่ :

ไพเธียมเอสพีพี
Phytophthora spp. รวมถึงการทำลายมันฝรั่งของ Great Irish Famine (1845–1849)
ไฟโตมีเซีย
ราเมือกบางชนิดในPhytomyxeaทำให้เกิดโรคที่สำคัญ ได้แก่รากไม้ในกะหล่ำปลีและญาติของมันและขี้เรื้อนในมันฝรั่ง สิ่งเหล่านี้เกิดจากสายพันธุ์ของPlasmodiophoraและSpongosporaตามลำดับ

แบคทีเรีย

โรคมงกุฎน้ำดีที่เกิดจาก Agrobacterium
แบคทีเรียส่วนใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับพืชนั้นแท้จริงแล้วเป็นsaprotrophicและไม่เป็นอันตรายต่อพืชเอง อย่างไรก็ตามมีจำนวนน้อยประมาณ 100 ชนิดที่รู้จักกันดีสามารถทำให้เกิดโรคได้ [7]โรคจากแบคทีเรียเป็นที่แพร่หลายมากขึ้นในพื้นที่กึ่งเขตร้อนและเขตร้อนของโลก

แบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคพืชส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นรูปแท่ง ( bacilli ) เพื่อให้สามารถตั้งรกรากของพืชได้พวกเขามีปัจจัยการก่อโรคที่เฉพาะเจาะจง เป็นที่ทราบกันดีว่าปัจจัยการก่อโรคของแบคทีเรีย 5 ประเภทหลัก ๆ ได้แก่ การใช้เอนไซม์ย่อยสลายผนังเซลล์สารพิษโปรตีนเอฟเฟกเตอร์ไฟโตฮอร์โมนและเอ็กโซโพลีแซ็กคาไรด์

จุลชีพก่อโรคเช่นErwiniaชนิดใช้มือถือของเอนไซม์ย่อยสลายผนังที่จะทำให้เกิดโรคเน่าเละ สายพันธุ์Agrobacteriumเปลี่ยนระดับของออกซินเพื่อทำให้เกิดเนื้องอกด้วยไฟโตฮอร์โมน Exopolysaccharidesผลิตโดยแบคทีเรียและปิดกั้นหลอดเลือดxylemซึ่งมักนำไปสู่การตายของพืช

แบคทีเรียควบคุมการผลิตของปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคทางองค์ประชุมตรวจจับ


Vitis viniferaกับการติดเชื้อ "Ca. Phytoplasma vitis"
แบคทีเรียก่อโรคพืชที่สำคัญ:

บูร์โกเทอเรีย[8]
โปรตีโอแบคทีเรีย
Xanthomonas spp.
Pseudomonas spp.
Pseudomonas syringae pv. มะเขือเทศทำให้ต้นมะเขือเทศให้ผลผลิตน้อยลงและ "ยังคงปรับตัวเข้ากับมะเขือเทศโดยลดการรับรู้ของระบบภูมิคุ้มกันของมะเขือเทศ" [9]
ไฟโตพลาสมาสและสไปโรพลาสมาส
ไฟโตพลาสม่าและสไปโรพลาสม่าเป็นจำพวกของแบคทีเรียที่ไม่มีผนังเซลล์และเกี่ยวข้องกับไมโคพลาสม่าซึ่งเป็นเชื้อโรคของมนุษย์ ร่วมกันพวกเขาจะเรียกว่าเป็นmollicutes นอกจากนี้ยังมีจีโนมที่เล็กกว่าแบคทีเรียอื่น ๆ ส่วนใหญ่ พวกเขาจะถูกส่งตามปกติโดย SAP ดูดแมลงถูกโอนเข้ามาในโรงงานใยเปลือกไม้ที่มันทำ


ไวรัสโมเสคยาสูบ
ไวรัสไวรอยด์และสิ่งมีชีวิตที่คล้ายไวรัส
มีหลายประเภทของมีไวรัสพืชและบางคนแม้ไม่มีอาการ ภายใต้สถานการณ์ปกติไวรัสพืชทำให้ผลผลิตของพืชสูญเสียไปเท่านั้น ดังนั้นจึงไม่สามารถดำเนินการทางเศรษฐกิจได้ที่จะพยายามควบคุมพวกมันยกเว้นเมื่อพวกมันติดเชื้อไม้ยืนต้นเช่นไม้ผล

ส่วนใหญ่ไวรัสพืชมีขนาดเล็กเดียว stranded RNA จีโนม อย่างไรก็ตามไวรัสพืชบางชนิดยังมีRNAแบบเกลียวคู่หรือจีโนมดีเอ็นเอแบบเกลียวเดี่ยวหรือคู่ จีโนมของเหล่านี้อาจเข้ารหัสเพียงสามหรือสี่โปรตีนกเรพลิโปรตีนเสื้อเป็นโปรตีนเคลื่อนไหวเพื่อที่จะช่วยให้มือถือกับการเคลื่อนไหวของเซลล์ผ่านplasmodesmataและบางครั้งโปรตีนที่ช่วยให้การส่งโดยเวกเตอร์ที่ ไวรัสพืชสามารถมีโปรตีนได้หลายชนิดและใช้วิธีการแปลโมเลกุลที่แตกต่างกัน

ไวรัสพืชโดยทั่วไปมักถ่ายทอดจากพืชไปยังพืชโดยใช้เวกเตอร์แต่การแพร่เชื้อทางกลและเมล็ดพืชก็เกิดขึ้นได้ ส่งเวกเตอร์มักจะเป็นโดยแมลง (ตัวอย่างเช่นเพลี้ย ) แต่บางเชื้อรา _ ไส้เดือนฝอยและโปรโตซัวได้รับการแสดงที่จะเป็นพาหะของเชื้อไวรัส ในหลายกรณีแมลงและไวรัสมีความจำเพาะต่อการแพร่กระจายของไวรัสเช่นเพลี้ยจักจั่นบีทรูทที่แพร่เชื้อไวรัสด้านบนที่เป็นลอนซึ่งก่อให้เกิดโรคในพืชหลายชนิด [10]ตัวอย่างหนึ่งคือโรคโมเสคของยาสูบที่ใบเหี่ยวเฉาและคลอโรฟิลล์ของใบไม้ถูกทำลาย อีกตัวอย่างหนึ่งคือยอดกล้วยที่เป็นพวงซึ่งต้นจะแคระแกร็นและใบด้านบนจะเป็นรูปดอกกุหลาบที่แน่น

ไส้เดือนฝอย

รากปมไส้เดือนฝอย galls
ไส้เดือนฝอยเป็นสัตว์หนอนหลายเซลล์ขนาดเล็ก หลายคนมีชีวิตอยู่อย่างอิสระในดิน แต่มีบางชนิดที่พืช parasitize ราก เป็นปัญหาในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนของโลกซึ่งอาจทำให้พืชผลเสียหายได้ ไส้เดือนฝอยในถุงมันฝรั่ง ( Globodera pallidaและG. rostochiensis ) กระจายอยู่ทั่วไปในยุโรปและอเมริกาเหนือและใต้และสร้างความเสียหายมูลค่า300 ล้านดอลลาร์ในยุโรปทุกปี ไส้เดือนฝอยรากปมมีช่วงโฮสต์ค่อนข้างใหญ่พวกมันเป็นปรสิตในระบบรากของพืชและส่งผลโดยตรงต่อการดูดซึมน้ำและสารอาหารที่จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตและการสืบพันธุ์ของพืชตามปกติ[11]ในขณะที่ไส้เดือนฝอยถุงมีแนวโน้มที่จะติดเชื้อได้เพียงไม่กี่ชนิด ไส้เดือนฝอยสามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงในเซลล์รากเพื่ออำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิต

โปรโตซัวและสาหร่าย
มีตัวอย่างบางส่วนของโรคพืชที่เกิดจากโปรโตซัว (เช่นPhytomonas _ kinetoplastid ) [12]พวกมันถูกถ่ายทอดเป็นโซสปอร์ที่ทนทานซึ่งอาจจะสามารถอยู่รอดได้ในสภาพที่ไม่อยู่นิ่งในดินเป็นเวลาหลายปี นอกจากนี้ยังสามารถแพร่เชื้อไวรัสพืชได้ เมื่อ zoospores เคลื่อนที่เข้ามาติดต่อกับรากผมที่พวกเขาผลิตPlasmodiumซึ่งก้าวก่ายราก

สาหร่ายกาฝากไม่มีสีบางชนิด (เช่นCephaleuros ) ยังก่อให้เกิดโรคพืช [ ต้องการอ้างอิง ]

พืชกาฝาก
พืชกาฝากเช่นBroomrape _ มิสเซิลโทและสั่นที่จะถูกรวมในการศึกษาของ phytopathology ตัวอย่างเช่น Dodder สามารถเป็นท่อส่งไวรัสหรือตัวแทนที่คล้ายไวรัสจากพืชโฮสต์ไปยังพืชที่โดยทั่วไปแล้วไม่ได้เป็นโฮสต์หรือสำหรับตัวแทนที่ไม่สามารถรับต่อกิ่งได้

วิธีการติดเชื้อที่ทำให้เกิดโรคทั่วไป
เอนไซม์ย่อยสลายผนังเซลล์ : ใช้ในการสลายผนังเซลล์พืชเพื่อปลดปล่อยสารอาหารภายใน
สารพิษ : สิ่งเหล่านี้อาจไม่ใช่เฉพาะโฮสต์ซึ่งสร้างความเสียหายให้กับพืชทั้งหมดหรือเฉพาะโฮสต์ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายเฉพาะกับพืชที่เป็นโฮสต์เท่านั้น
effector โปรตีน : เหล่านี้สามารถหลั่งสารในสภาพแวดล้อมหรือโดยตรงเข้าไปในเซลล์โฮสต์ที่มักจะผ่านประเภทระบบสามหลั่ง เอฟเฟกต์บางตัวเป็นที่ทราบกันดีว่ายับยั้งกระบวนการป้องกันโฮสต์ ซึ่งอาจรวมถึง: การลดกลไกการส่งสัญญาณภายในพืชหรือลดการผลิตสารพฤกษเคมี [13]แบคทีเรียเชื้อราและ oomycetes เป็นที่รู้จักสำหรับหน้าที่นี้ [3] [14]
สปอร์ : สปอร์ของเชื้อรา phytopathogenic สามารถเป็นแหล่งที่มาของการติดเชื้อในพืชที่เป็นโฮสต์ อันดับแรกสปอร์จะเกาะติดกับชั้นหนังกำพร้าบนใบและลำต้นของพืชที่เป็นเจ้าภาพ เพื่อให้สิ่งนี้เกิดขึ้นได้ต้องขนส่งสปอร์ที่ติดเชื้อจากแหล่งที่มาของเชื้อโรคสิ่งนี้เกิดขึ้นทางลมน้ำและพาหะเช่นแมลงและมนุษย์ เมื่ออยู่ในสภาพที่เอื้ออำนวยสปอร์จะสร้างเส้นใยดัดแปลงที่เรียกว่าหลอดเชื้อโรค หลอดเชื้อโรคนี้ต่อมาเป็นส่วนนูนเรียกว่าแอพเพล็ตสเตอเรียมซึ่งสร้างผนังเซลล์ที่เป็นเม็ดสีเพื่อสร้างแรงกดดันจากแรงดึง เมื่อแรงดันเทอร์เกอร์สะสมเพียงพอแล้วแอพเพรสโซเรียมจะยืนยันแรงกดต่อชั้นหนังกำพร้าในรูปแบบของหมุดเจาะที่แข็งตัว กระบวนการนี้ยังได้รับความช่วยเหลือจากการหลั่งเอนไซม์ย่อยสลายผนังเซลล์จากแอปเพรสโซเรียม เมื่อหมุดเจาะเข้าไปในเนื้อเยื่อของโฮสต์มันจะพัฒนาเส้นใยเฉพาะที่เรียกว่า haustorium ขึ้นอยู่กับวงจรชีวิตของเชื้อโรค haustorium นี้สามารถบุกรุกและเลี้ยงเซลล์ข้างเคียงภายในเซลล์หรือมีอยู่ภายในเซลล์ภายในโฮสต์ [15]

• ไบล์ท

• ส้มแคงเกอร์

• สนิม

•สมุต

• โมเสคยาสูบ

• กระเบื้องโมเสคเส้นเลือดสีเหลือง

ความผิดปกติของพืชทางสรีรวิทยา
ความผิดปกติของ abiotic อาจเกิดจากกระบวนการทางธรรมชาติเช่นภัยแล้ง _ น้ำค้างแข็ง _ หิมะและลูกเห็บ ; น้ำท่วมและการระบายน้ำไม่ดี การขาดสารอาหาร ; การสะสมของเกลือแร่เช่นโซเดียมคลอไรด์และยิปซั่ม ; ลมไหม้และแตกจากพายุ และไฟป่า ความผิดปกติที่คล้ายคลึงกัน (โดยปกติจัดอยู่ในประเภท abiotic) อาจเกิดจากการแทรกแซงของมนุษย์ซึ่งส่งผลให้เกิดการบดอัดของดินมลพิษทางอากาศและในดินการเค็มที่เกิดจากการชลประทานและการเค็มของถนนการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืชมากเกินไปการจัดการที่เงอะงะ และป่าเถื่อน [ ต้องการอ้างอิง ]


ใบกล้วยไม้ติดเชื้อไวรัส
ระบาดวิทยา
ระบาดวิทยา:การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการระบาดและการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ [16]


สามเหลี่ยมโรคพืช
โรคจัตุรมุข (ปิรามิดโรค) จับองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับโรคพืชได้ดีที่สุด พีระมิดนี้ใช้สามเหลี่ยมของโรคเป็นรากฐานซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆเช่นโฮสต์เชื้อโรคและสิ่งแวดล้อม นอกจากองค์ประกอบทั้งสามนี้แล้วมนุษย์และเวลายังเพิ่มองค์ประกอบที่เหลือเพื่อสร้างโรคจัตุรมุข

ประวัติ:โรคระบาดของโรคพืชที่ทราบกันในอดีตจากการสูญเสียครั้งใหญ่:

- มันฝรั่งไอริชปลายใบไหม้[17]

- โรคดัตช์เอล์ม[18]

- โรคใบไหม้เกาลัดในอเมริกาเหนือ[19]

ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่ระบาด:

ผู้ดำเนินรายการ: ระดับความต้านทานหรือความอ่อนแออายุและพันธุกรรม

เชื้อโรค: ปริมาณของหัวเชื้อพันธุกรรมและประเภทของการสืบพันธุ์

ต้านทานโรค
ความต้านทานโรคพืชคือความสามารถของพืชในการป้องกันและยุติการติดเชื้อจากเชื้อโรคพืช

โครงสร้างที่ช่วยให้พืชป้องกันโรค ได้แก่ ชั้นผิวหนังชั้นนอกผนังเซลล์และเซลล์ป้องกันปากใบ สิ่งเหล่านี้ทำหน้าที่เป็นเกราะป้องกันไม่ให้เชื้อโรคเข้าสู่โฮสต์ของพืช

เมื่อโรคผ่านพ้นอุปสรรคเหล่านี้ไปแล้วผู้รับของพืชจะเริ่มส่งสัญญาณเพื่อสร้างโมเลกุลเพื่อแข่งขันกับโมเลกุลแปลกปลอม เส้นทางเหล่านี้ได้รับอิทธิพลและกระตุ้นโดยยีนภายในพืชโฮสต์และมีความอ่อนไหวต่อการถูกควบคุมโดยการผสมพันธุ์ทางพันธุกรรมเพื่อสร้างพันธุ์พืชที่ต้านทานต่อเชื้อโรคที่ทำลายล้าง [20]

การจัดการ
กักกันภายในประเทศ
พืชที่เป็นโรคหรือพืชแต่ละชนิดสามารถแยกออกจากการเจริญเติบโตอื่น ๆ ที่มีสุขภาพดีได้ ตัวอย่างอาจถูกทำลายหรือย้ายไปไว้ในเรือนกระจกเพื่อบำบัดหรือศึกษา

การตรวจสอบและกักกันท่าเรือและชายแดน
อีกทางเลือกหนึ่งคือหลีกเลี่ยงการนำสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่สัตว์พื้นเมืองที่เป็นอันตรายมาใช้โดยการควบคุมการจราจรและกิจกรรมทั้งหมดของมนุษย์ (เช่นบริการกักกันและตรวจสอบของออสเตรเลีย ) แม้ว่ากฎหมายและการบังคับใช้จะมีความสำคัญเพื่อให้เกิดประสิทธิผลที่ยั่งยืน ปริมาณการค้าทั่วโลกในปัจจุบันมีให้บริการและจะยังคงให้โอกาสในการนำศัตรูพืชมาใช้อย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน [McC 1]ในสหรัฐอเมริกาแม้จะได้รับการประมาณจำนวนที่ดีขึ้นของการแนะนำดังกล่าวและด้วยเหตุนี้ความจำเป็นในการกำหนดเขตกักบริเวณและการตรวจสอบท่าเรือและชายแดนจะต้องมีการตรวจสอบเพิ่มขึ้นอย่างมาก [McC 2]ในออสเตรเลียข้อบกพร่องในการทำความเข้าใจที่คล้ายคลึงกันมีต้นกำเนิดที่แตกต่างกัน: การตรวจสอบพอร์ตไม่มีประโยชน์มากนักเนื่องจากผู้ตรวจสอบรู้เรื่องอนุกรมวิธานน้อยเกินไป มักจะมีศัตรูพืชที่รัฐบาลออสเตรเลียจัดลำดับความสำคัญว่าเป็นอันตรายที่จะถูกเก็บออกนอกประเทศ แต่มีญาติที่อยู่ใกล้นักอนุกรมวิธานที่ทำให้เกิดความสับสน และผู้ตรวจสอบยังพบในสิ่งที่ตรงกันข้าม - ชาวพื้นเมืองที่ไม่เป็นอันตรายหรือชาวพื้นเมืองที่ยังไม่ถูกค้นพบหรือชาวพื้นเมืองที่เพิ่งค้นพบที่พวกเขาไม่จำเป็นต้องกังวล แต่ซึ่งง่ายต่อการสับสนกับสมาชิกในครอบครัวชาวต่างชาติที่ผิดกฎหมาย [BH 1]

X-rayและลำแสงอิเล็กตรอน / E คานฉายรังสีของอาหารที่ได้รับการทดลองการรักษากักกันสำหรับผลไม้ สินค้าที่มาจากฮาวาย องค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ) USDA APHIS ( บริการตรวจสุขภาพสัตว์และพืช ) ผู้ผลิตและผู้บริโภคต่างยอมรับในผลลัพธ์นั่นคือการกำจัดศัตรูพืชอย่างละเอียดถี่ถ้วนและการย่อยสลายของรสชาติน้อยกว่าการอบด้วยความร้อน [21]

วัฒนธรรม
การทำฟาร์มในบางสังคมยังคงอยู่ในระดับเล็ก ๆ โดยมีคนที่มีวัฒนธรรมรวมถึงประเพณีการทำฟาร์มที่ย้อนกลับไปในสมัยโบราณ (ตัวอย่างของประเพณีดังกล่าวจะเป็นการฝึกอบรมตลอดชีวิตเกี่ยวกับเทคนิคการลงพื้นที่การคาดการณ์และการตอบสนองต่อสภาพอากาศการปฏิสนธิการปลูกถ่ายอวัยวะการดูแลเมล็ดพันธุ์และการจัดสวนโดยเฉพาะ) พืชที่ได้รับการตรวจสอบอย่างตั้งใจมักจะได้รับประโยชน์จากการป้องกันภายนอกที่มีการเคลื่อนไหวเท่านั้น ความแข็งแรงโดยรวม ในขณะที่แบบดั้งเดิมในแง่ของการเป็นวิธีการแก้ปัญหาที่ใช้แรงงานมากที่สุดในขณะที่ในทางปฏิบัติหรือจำเป็นก็เพียงพอแล้ว

ความต้านทานของพืช
การพัฒนาทางการเกษตรที่ซับซ้อนในปัจจุบันช่วยให้ผู้ปลูกสามารถเลือกจากสายพันธุ์ผสมข้ามสายพันธุ์อย่างเป็นระบบเพื่อให้แน่ใจว่าพืชผลมีความแข็งแกร่งมากที่สุดตามความเหมาะสมกับลักษณะทางพยาธิวิทยาของภูมิภาคใด แนวทางปฏิบัติในการปรับปรุงพันธุ์ได้รับการปรับปรุงให้สมบูรณ์แบบมานานหลายศตวรรษ แต่ด้วยการปรับแต่งทางพันธุกรรมแม้กระทั่งการควบคุมลักษณะภูมิคุ้มกันของพืชให้ละเอียดขึ้นก็เป็นไปได้ วิศวกรรมของพืชอาหารอาจให้ผลตอบแทนน้อยกว่าอย่างไรก็ตามเนื่องจากผลผลิตที่สูงขึ้นมักถูกชดเชยด้วยความสงสัยและความคิดเห็นเชิงลบเกี่ยวกับ "การปลอมแปลง" นี้กับธรรมชาติ

สารเคมี
สามารถใช้สารประกอบจากธรรมชาติและสารสังเคราะห์หลายชนิดเพื่อต่อสู้กับภัยคุกคามข้างต้น วิธีนี้ใช้ได้ผลโดยการกำจัดสิ่งมีชีวิตที่ก่อให้เกิดโรคโดยตรงหรือยับยั้งการแพร่กระจาย อย่างไรก็ตามแสดงให้เห็นว่ามีผลกระทบในวงกว้างเกินไปโดยทั่วไปจะเป็นผลดีต่อระบบนิเวศในท้องถิ่น จากมุมมองทางเศรษฐกิจสารเติมแต่งจากธรรมชาติที่เรียบง่ายที่สุดอาจทำให้ผลิตภัณฑ์ขาดคุณสมบัติจากสถานะ "ออร์แกนิก" ซึ่งอาจทำให้มูลค่าของผลผลิตลดลง

ที่มา http://www.farmkaset..link..
โรคกุหลาบ โรคใบจุด ราแป้ง ราสนิม โรคหนามดำ โรคตากบ โรคกุหลาบจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส
โรคกุหลาบ โรคใบจุด ราแป้ง ราสนิม โรคหนามดำ โรคตากบ โรคกุหลาบจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส
โรคกุหลาบ โรคใบจุด ราแป้ง ราสนิม โรคหนามดำ โรคตากบ โรคกุหลาบจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส
โรคของกุหลาบ (rose diseases)

1. โรคใบจุด (black spot) เป็นโรคที่รู้จักกันแพร่หลายในวงการปลูกกุหลาบทั่วไป และสามารถเป็นกับต้นพืชได้เกือบตลอดปี โดยเฉพาะฤดูฝนในเดือนที่มีฝนตกสม่ำเสมอ มักเป็นกับใบที่อยู่บริเวณโคนต้นขึ้นมาจนถึงใบบริเวณตามยอด

.

2. โรคราแป้ง (powdery mildew) เป็นโรคที่เกิดขึ้นกับใบอ่อนหรือยอดอ่อนของต้นพืช โดยบริเวณที่เป็นโรคจะมีลักษณะเป็นปุยคล้ายพรมด้วยผงแป้ง ส่วนของต้นพืชที่เป็นโรคจะหงิกงอผิดปกติ และถ้าเป็นมากบริเวณที่เป็นโรคจะเปลี่ยนเป็นสีม่วงถึงดำ

.

3. โรคราสนิม (rust) โรคนี้จะไม่ทำลายร้ายแรงนัก เนื่องจากระยะเวลาที่จะเป็นโรคนี้มีระยะสั้น ในบ้านเราจะพบโรคนี้ในฤดูฝน โดยเฉพาะในเดือนที่มีฝนชุก มักเป็นกับใบแก่บริเวณบนใบ ใบที่เป็นจะมีจุดสีส้มและจะมองเห็นเป็นจุดสีเหลืองทางใต้ใบ

.

4. โรคตากบ (anthracnose) จะพบในเดือนที่มีฝนตกชุกเช่นเดียวกัน อาการของโรคที่พบคือ มีจุดสีน้ำตาลเป็นวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1/4 นิ้วของระยะแรก และจะค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีขาว ขอบสีม่วงและดำ มักจะพบเป็นที่ใบอ่อนหรือกิ่งอ่อน

.

5. โรคหนามดำ (brown canker) เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อราและเป็นกับกิ่งอ่อน ส่วนใหญ่ มักจะเกิดกับหนามก่อนแล้วก็ลุกลามไปตามส่วนของกิ่ง มีลักษณะเป็นรูปวงรี ทำให้เปลือกแห้งตาย ถ้าเป็นรอบกิ่งบริเวณกิ่งตอนบนก็จะ แห้งไปด้วย ทำให้เข้าใจผิดว่าเป็นโรคปลายกิ่งแห้งตายได้ มักเกิดกับกุหลาบบางพันธุ์ เช่น Super star เป็นต้น

.

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สำหรับป้องกันและยับยั้งเชื้อรา สกัดจากพืช ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ปลอดสารพิษ ไม่มีสารตกค้าง ใช้ฉีดพ่นเพื่อป้องกันและยับยั้งโรคพืชทุกชนิด ที่มีสาเหตุมากจากเชื้อรา

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/..

อ่าน:3993
เลี้ยงหมูป่า รายได้เดือนละแสนกว่าบาท หนุ่มพะเยา เพาะเลี้ยงหมูป่าเป็นอาชีพเสริม
เลี้ยงหมูป่า รายได้เดือนละแสนกว่าบาท หนุ่มพะเยา เพาะเลี้ยงหมูป่าเป็นอาชีพเสริม
หนุ่มพะเยาเพาะเลี้ยงหมูป่าเป็นอาชีพเสริม เผยขายได้เดือนละแสนกว่าบาท

พ่อครัวร้านอาหาร หาอาชีพเสริมเพาะเลี้ยงหมูป่าพันธุ์ปากยาว ส่งป้อนตลาด ชี้หมูป่าเลี้ยงง่าย โตไว ไม่ต้องดูแลมากเพียง 5 เดือน สร้างรายได้กว่าแสนบาท เผยแถมยอดสั่งจองต้องรอคิวส่งยาว

นายประสิทธิ์ อินต๊ะลาศ เจ้าของสวนอาหารครัวคนเมือง ซึ่งเลี้ยงหมูป่าพันธุ์ปากยาวได้เสริมรายได้กว่า 100 ตัว ท่ามกลางธรรมชาติกลางทุ่งนา

นายประสิทธิ์ เปิดเผยว่า ปกติตนเองเปิดร้านอาหารชื่อ “สวนอาหารครัวคนเมือง” บ้านจุนรัชดา ม.17 ต.จุน จ.พะเยา ซึ่งขายอาหารเน้นหนักไปทางอาหารของชาวเหนือ หนึ่งในนั้น คือ ผัดเผ็ดหมูป่า ซึ่งขายดีมากถือเป็นอาหารที่ขึ้นชื่อของร้าน แต่ติดปัญหาที่นานๆทีจึงจะมีหมูป่า จะซื้อไว้เยอะๆความสดก็จะหายไป จึงตัดสินใจศึกษาการเลี้ยงหมูป่าเอง เริ่มศึกษาจากหนังสือตำราต่างๆและลองผิดลองถูกอยู่นาน จนพบว่าหมูป่าพันธุ์ที่เลี้ยงง่าย โตเร็ว แข็งแรงคือพันธุ์ปากยาว เริ่มแรกมีพ่อพันธุ์ 1 ตัว แม่พันธุ์ 4 ตัว จากนั้นก็เพิ่มแม่พันธุ์ไปเรื่อยๆ จนปัจจุบันมีแม่พันธุ์ 16 ตัว และลูกหมาป่าอีกกว่า 80 ตัว

หมูป่าพันธุ์ปากยาว เลี้ยงง่าย โตไว มีความต้านทานโรคสูง ไม่ต้องดูแลอะไรมากมาย อาหารเสริมแทบจะไม่มีความจำเป็น ให้แต่เศษพืชผักตามธรรมชาติ เศษอาหาร เพื่อให้ได้เนื้อที่แน่น รสชาติดี ไม่มีมันมาก หนังกรุบกรอบไม่เหนียวแข็ง โดยแต่ละรุ่นจะเลี้ยงไว้ประมาณ 40 ตัว ใช้เวลาเลี้ยงระหว่าง 4-5 เดือนโดยประมาณ จำหน่ายตัวละ 2_500 –3_000 บาท สร้างรายได้เฉลี่ย ไม่ต่ำกว่า 120_000 บาท ต่อหนึ่งรุ่น ซึ่งถือว่าเป็นการลงทุนที่คุ้มค่ามาก และมีตลาดรองรับมากมายจนผลิตไม่ทัน

อ้างอิง
thairath.co.th /news/local/north/1389618
อ่าน:3988
องุ่น ผลใหญ่ ผลดก ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ยโพแทสเซี่ยมคลอไรด์ สตาร์เฟอร์ 0-0-60
องุ่น ผลใหญ่ ผลดก ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ยโพแทสเซี่ยมคลอไรด์ สตาร์เฟอร์ 0-0-60
องุ่น ผลใหญ่ ผลดก ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ยโพแทสเซี่ยมคลอไรด์ สตาร์เฟอร์ 0-0-60
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์สำหรับฉีดพ่นต้นองุ่น: สูตรเร่งผลใหญ่ ดก และเพิ่มคุณภาพ

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ โพแทสเซียมคลอไรด์ 0-0-60 สูตรพิเศษสำหรับองุ่น ช่วยเพิ่มขนาดผล ดก ผลผลิตดี เพิ่มน้ำหนัก และยกระดับคุณภาพผลผลิต

ผสมปุ๋ยสตาร์เฟอร์ แม็กซ่า และฟาร์มิค ฮิวมิค แอซิด กับน้ำเปล่าให้เข้ากัน
กรองตะกอนก่อนนำไปฉีดพ่น
ฉีดพ่นทั่วใบและลำต้น ในช่วงเช้าหรือเย็น
ฉีดพ่นทุกๆ 7-10 วัน

ประโยชน์:

เพิ่มขนาดผลองุ่น ให้ผลใหญ่ขึ้น
เพิ่มจำนวนผล องุ่นดกขึ้น
เพิ่มน้ำหนักผล องุ่นมีน้ำหนักดี
เพิ่มคุณภาพผล องุ่นมีรสชาติอร่อย เนื้อแน่น
เร่งการเจริญเติบโต องุ่นเจริญเติบโตได้ดี
ฟื้นฟูระบบราก องุ่นดูดซึมธาตุอาหารได้ดีขึ้น
เพิ่มผลผลิต องุ่นมีผลผลิตมากขึ้น

ข้อควรระวัง:

เก็บปุ๋ยในที่แห้ง มิดชิด และพ้นมือเด็ก
สวมอุปกรณ์ป้องกัน เช่น หน้ากาก ถุงมือ ยางรองเท้า เมื่อใช้ปุ๋ย
ล้างมือให้สะอาดหลังใช้ปุ๋ย
ไม่ควรฉีดพ่นปุ๋ยในวันที่อากาศร้อนจัด หรือฝนตก

หมายเหตุ:

อัตราส่วนการผสมปุ๋ยสามารถปรับได้ตามความเหมาะสมของต้นองุ่น
ควรฉีดพ่นปุ๋ยสม่ำเสมอ เพื่อผลลัพธ์ที่ดีที่สุด
ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านการเกษตรเพิ่มเติมได้หากมีข้อสงสัย

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ แม็กซ่า และฟาร์มิค ฮิวมิค แอซิด เมื่อใช้ร่วมกัน จะช่วยให้ต้นองุ่นเจริญเติบโตได้อย่างสมบูรณ์ ผลใหญ่ ดก มีคุณภาพดี และเพิ่มผลผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ

🌿ฉีดพ่นทางใบ อัตราผสม 25 กรัม(2ช้อนโต๊ะ) ต่อน้ำ 20 ลิตร

ถัง 16-20 ลิตร ใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 25 กรัม (2ช้อนโต๊ะ)

ถัง 200 ลิตร ใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 250 กรัม (1ส่วน4ถุง)
.
🌳ปุ๋ยทางใบสูตรสูง 3สูตรหลัก ที่ใช้ได้กับทุกพืช
.
∞ ผสมปุ๋ยทางใบเป็นสูตรต่างๆได้ตามต้องการ
» เราพัฒนาระบบคำนวณสูตรผสมปุ๋ยให้ใช้ฟรี
» ใช้ปุ๋ย 3สูตรหลักด้านบน ผสมได้หลากหลายสูตรสูง ใช้ได้กับทุกพืช
£ มีเอกสารแนบวิธีการผสมลงในกล่อง

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 1 ถุง บรรจุ 1 กิโลกรัม ผสมน้ำได้ 800 ลิตร ใช้ได้ประมาณ 10 ไร่

📌สั่งซื้อ สอบถาม

»โทร 097-918-3530
»ไลน์ janemini1112

🔎ซื้อกับลาซาด้า ช้อปปี้
.
» ซื้อสินค้า ที่ช้อปปี้:http://ไปที่..link..
.
» ซื้อสินค้า ที่ลาซาด้า: http://ไปที่..link..
อ่าน:3987
ส่งออกข้าวโพดหวาน อนาคตรุ่ง
ส่งออกข้าวโพดหวาน อนาคตรุ่ง

 

ผู้ประกอบการข้าวโพดหวานกระป๋องลุ้นระทึกอียูยกเลิกมาตรการตอบโต้ทุ่มตลาดกลางปีนี้ เผยหากผู้ประกอบการฝรั่งเศส ฮังการี ไม่เสนอกรรมาธิการยุโรปทบทวน จะถูกยกเลิกโดยปริยายชี้หวังได้สูงเหตุหิมะถล่มสินค้าขาดตลาด ข้าวโพดฝักอ่อนไทยพลอยได้รับอานิสงส์ราคาแตะกก. 35 บาท 

 
นายพรชัย ปิ่นวิเศษ ประธานกลุ่มข้าวโพดหวาน สมาคมผู้ผลิตอาหารสำเร็จรูป เปิดเผยกับ "ฐานเศรษฐกิจ" ถึงสถานการณ์ตลาดข้าวโพดหวานกระป๋องว่ามีแนวโน้มที่สดใสมาก เพราะเวลานี้ทุกตลาดหันมานำเข้าข้าวโพดหวานกระป๋องจากประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น เกาหลี แม้ว่าข้าวโพดหวานกระป๋องของไทยจะถูกเรียกเก็บภาษีตอบโต้การทุ่มตลาด (เอดี)จากสหภาพยุโรป(อียู) แต่ยังสามารถส่งออกได้เพิ่มขึ้น ทั้งนี้เพราะสหรัฐอเมริกาผลผลิตข้าวโพดหวานเริ่มลดลงหลังจากที่รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมปลูกพืชพลังงาน จึงหันมานำเข้าจากไทย ส่วนญี่ปุ่นก่อนหน้านี้เป็นผู้นำเข้าจากสหรัฐฯเมื่อผลผลิตสหรัฐฯลดลงสินค้าราคาแพงญี่ปุ่นจึงหันมานำเข้าจากไทยเช่นเดียวกัน

 
นอกจากมีตลาดใหม่เข้ามารองรับตลาดสหภาพยุโรปแล้ว ขณะนี้ผู้ประกอบการมีความหวังลึกๆ ว่ากลางปีนี้จะมีข่าวดีสำหรับตลาดสหภาพยุโรป เพราะว่าเดือนมิถุนายน 2555 จะครบ 5 ปีที่อียูเรียกเก็บภาษีตอบโต้การทุ่มตลาดและจะมีการทบทวนเป็นครั้งแรก ซึ่งตามขั้นตอนนั้นผู้ประกอบการในยุโรปที่เป็นผู้ยื่นเรื่องต่อทางการของยุโรปให้ไต่สวนและเรียกเก็บภาษีเอดีผู้ส่งออกของไทยต้องเป็นผู้ยื่นให้มีการทบทวนจะยกเลิกหรือเรียกเก็บภาษีเอดีในอัตราเท่าใด หากผู้ประกอบยุโรปไม่ยื่นให้ทบทวนเท่ากับว่าการเรียกเก็บภาษีเอดีจากผู้ส่งออกไทยถูกยกเลิกไปโดยปริยาย

 
"เวลานี้หลายประเทศในสหภาพยุโรปประสบภัยธรรมชาติหิมะตกอย่างรุนแรง จนไม่สามารถปลูกพืชผลทางการเกษตรได้ สินค้าพืชผักต่างๆ ไม่เพียงพอบริโภค จะเห็นได้ว่าเวลานี้ยุโรปสั่งนำเข้าข้าวโพดฝักอ่อนสดจากประเทศไทยจนสินค้าไม่พอป้อน และดันราคาภายในประเทศสูงขึ้นจากเคยรับซื้อกก.ละ 20-21 บาท เวลานี้ข้าวโพดฝักอ่อนราคาสูงถึงกก.ละ 35 บาท จึงมีความหวังว่าผู้ประกอบการในประเทศฝรั่งเศส ฮังการี และอิตาลีที่ยื่นฟ้องกล่าวหาไทยทุ่มตลาดข้าวโพดหวานจะไม่ยื่นให้ทางการยุโรปทบทวน นั่นเท่ากับว่ามาตรการเรียกเก็บเอดีถูกยกเลิกไปโดยปริยาย ส่วนข้าวโพดหวานกระป๋องราคายังไม่เคลื่อนไหวสูงขึ้นเท่ากับข้าวโพดฝักอ่อนเพราะเป็นสินค้าอุตสาหกรรม"

 
นายพรชัย กล่าวว่าจากการที่อุตสาหกรรมข้าวโพดหวานกระป๋องมีอัตราการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง จึงได้เสนอสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) บรรจุข้าวโพดหวานเป็นพืชเศรษฐกิจ มีนโยบายส่งเสริมปลูกอย่างชัดเจน เพราะเวลานี้ปัญหาของผู้ประกอบการคือวัตถุดิบไม่เพียงพอป้อนโรงงาน ทั้งที่ตลาดมีความต้องการ ขณะเดียวกันได้เสนอกระทรวงพาณิชย์เข้ามากำกับดูแลผู้ประกอบการไม่ให้ขายสินค้าตัดราคากันเอง เพราะสาเหตุถูกเรียกเก็บภาษีตอบโต้การทุ่มตลาดอยู่ ณ เวลานี้เป็นผลสืบเนื่องจากผู้ประกอบการขายตัดราคากันเอง ซึ่งไม่มีความจำเป็นแต่อย่างใด เพราะข้าวโพดหวานกระป๋องตลาดมีความต้องการสูง ผู้ส่งออกของไทยสามารถกำหนดราคาขายได้โดยไม่ต้องไปกดราคาขายแข่งกันแต่อย่างใด
 
จากหนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจ
 
อ่าน:3987
3589 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 358 หน้า, หน้าที่ 359 มี 9 รายการ
|-Page 13 of 359-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 | 358 | 359 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร: เสริมสร้างความสมบูรณ์แบบที่ช่วยสนับสนุนการเจริญเติบโตของแตงโม
Update: 2567/02/13 09:02:55 - Views: 3530
ป้องกันกำจัดหนอนกอข้าว สาเหตุข้าวเมล็ดลีบ อาการข้าวฝักดาบ ทำให้ข้าวมีผลผลิตต่ำ
Update: 2567/05/20 12:01:05 - Views: 3743
สถานการณ์ทุเรียนไทยปี 2568: โอกาสทางการค้าและปัญหาภายในประเทศที่ต้องจับตา
Update: 2568/03/22 08:16:58 - Views: 288
ผสมปุ๋ย สูตร เร่งดอก เร่งผล สูตร 9-25-25 หรือ 8-24-24 ใช้เองง่ายๆ ใช้แอพผสมปุ๋ยช่วยคำนวณส่วนผสม
Update: 2566/01/31 09:26:28 - Views: 4815
โรคใบไหม้ ในพืชต่างๆ ราน้ำค้าง ราสนิม ใบจุด พืชขาดธาตุอาหาร ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม #โรคใบไหม้ #โรคพืชจากเชื้อรา
Update: 2564/11/01 08:17:32 - Views: 3489
วิธีการคำนวณสูตรปุ๋ย
Update: 2566/01/27 07:35:15 - Views: 4235
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 ตัวช่วยให้แครอทของคุณหัวใหญ่ ผลผลิตดก เพิ่มคุณภาพ
Update: 2567/03/12 11:43:43 - Views: 3535
ยากำจัดโรคราน้ำค้าง ใน ผักคะน้า โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/06 10:01:05 - Views: 3496
โรคดอกรัก ใบไหม้ ราน้ำค้าง ราสนิม ใบจุด ขาดธาตุอาหาร ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม #ดอกรักใบไหม้ #ปุ๋ยดอกรัก
Update: 2564/11/03 03:38:11 - Views: 3499
ปุ๋ยฝรั่ง ยาแก้ฝรั่งใบไหม้ โรคราฝรั่ง ยากำจัดเพลี้ยฝรั่ง ยากำจัดหนอนฝรั่ง #ปุ๋ยฝรั่ง #ยาฯฝรั่ง
Update: 2564/10/25 23:26:51 - Views: 3497
🎗โรคมะเขือเทศ ไวรัสมะเขือเทศ ไม่มีสารป้องกันกำจัดโดยตรง ให้ป้องกันกำจัดแมลงพาหะ
Update: 2564/06/19 08:29:17 - Views: 4097
ปุ๋ยสำหรับข้าวโพด และ ยาสำหรับข้าวโพด แก้ข้าวโพดใบไหม้ เพลี้ย หนอนต่างๆ
Update: 2564/10/26 01:52:08 - Views: 3499
ต่อสู้กับโรคราแป้งในใบตำลึงด้วยสารอินทรีย์
Update: 2566/05/17 09:24:12 - Views: 3510
มะยงชิดใบไหม้ โรครามะปรางหวาน ใบจุดสีน้ำตาล ใบเหี่ยว แก้ด้วย ไอเอส
Update: 2564/04/26 00:48:24 - Views: 5681
ยากำจัดหนอนมังคุด หนอนชอนใบมังคุด หนอนกินใบมังคุด หนอนต่างๆ ใช้ ไอกี้-บีที
Update: 2564/10/09 05:04:34 - Views: 3647
กำจัด โรคราแป้ง ในต้นทุเรียน แก้ปัญหาโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส สารอินทรีย์คุณภาพสูง จาก FK ขนาด 250 ซีซี
Update: 2566/05/23 11:26:10 - Views: 3515
ปุ๋ยน้ำบำรุงลำไย ปุ๋ยลำไย ปุ๋ยน้ำลำไย ปุ๋ยสำหรับลำไย ปลูกเยอะใช้ FK-1 ปลูกน้อยใช้ FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/10/16 11:55:31 - Views: 3489
ผักชีใบไหม้ ใบเหลือง ใบจุด โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/08 04:04:35 - Views: 4731
หนอนชอนใบฟักเขียว พืชตระกูลฟัก ยากำจัดหนอนฟักเขียว ฟักแฟง ฟักต่างๆ หนอนต่างๆ ใช้ ไอกี้-บีที
Update: 2564/10/04 10:47:38 - Views: 3601
วันนี้ที่ฟาร์มเกษตร เปลี่ยนน้ำปลาคาร์ฟ พบลูกปลาคาร์ฟ ที่เกิดเองจำนวนมาก
Update: 2567/06/08 08:01:46 - Views: 10118
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022