[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3562 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 2 รายการ

หนอนขี้เหล็ก บุกโรงเรียน กลับกลายเป็นผีเสื้อโบยบิน ที่สวยงาม
หนอนขี้เหล็ก บุกโรงเรียน กลับกลายเป็นผีเสื้อโบยบิน ที่สวยงาม
หนอนขี้เหล็ก บุกโรงเรียน กลับกลายเป็นผีเสื้อโบยบิน ที่สวยงาม
กองทัพหนอนคูนหรือหนอนต้นขี้เหล็กนับหมื่นๆ ตัว บุกเข้าโรงเรียนเสิงสาง ต.เสิงสาง อ. เสิงสาง จ.นครราชสีมา ไต่ตัวอาคารและพื้นที่ต่างๆ ภายในโรงเรียนได้เริ่มกลายเป็นดักแด้

หนอนต้นขี้เหล็กที่ฟักตัวเป็นดักแด้ ได้กลายร่างเป็นผีเสื้อแสนสวยสีเหลืองเขียวบินไปทั่วบริเวณ ซึ่งก่อนหน้านี้ มีชาวบ้านที่ทราบข่าวการระบาดต่างพากันมาเก็บตัวดักแด้ไปประกอบอาหารและจำหน่าย ทำให้จำนวนของดักแด้ของหนอนต้นขี้เหล็ก แทบจะไม่เหลือให้เห็น ทั้งๆ ที่ทางโรงเรียนเห็นว่า หนอนขี้เหล็กไม่มีพิษมีภัยอะไรกับนักเรียน จึงอยากจะอนุรักษ์เอาไว้ดูความสวยงามเพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาเรียนรู้วงจรชีวิต แต่ก็ไม่ทัน เพราะชาวบ้านเข้ามาเก็บตัวดักแด้ในวันที่คณะครูอาจารย์และนักเรียนไปทัศนศึกษา จึงไม่มีใครคอยอยู่ห้ามปรามชาวบ้านที่เข้ามาเก็บ จึงเหลือหนอนดักแด้ที่กลายเป็นผีเสื้อแสนสวยโบยบินให้เห็นไม่มากนัก

ในขณะที่บริเวณหาดชมตะวัน ภายในอ่างเก็บน้ำลำปลายมาศ อุทยานแห่งชาติทับลานที่ 4 อำเภอเสิงสางจังหวัดนครราชสีมา ก็มีผีเสื้อที่กลายร่างจากหนอนคูนหรือหนอนต้นขี้เหล็ก ออกมาโบยบินเป็นจำนวนมาก ซึ่งในบริเวณนี้เป็นเขตอุทยานฯ ที่ชาวบ้านไม่สามารถเข้ามาเก็บตัวดักแด้ของหนอนผีเสื้อต้นขี้เหล็กได้ จึงทำให้มีจำนวนของผีเสื้อออกมาโบยบินให้ได้ชมความงามตลอดแนวของอ่างเก็บน้ำลำปลายมาศ ในระยะที่สามารถเข้าใกล้ได้แค่คืบเดียวเท่านั้น นับเป็นภาพที่สวยงาม ทำให้ประชาชนที่ทราบข่าวพากันเดินทางมาชมความสวยงามของผีเสื้อในบริเวณนี้จำนวนมาก

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
การควบคุมโรคพืช และแมลงศัตรูพืช ด้วยสารสกัดสมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพ
การควบคุมโรคพืช และแมลงศัตรูพืช ด้วยสารสกัดสมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพ
ในปัจจุบันสภาพแวดล้อมก าลังเข้าขั้นวิกฤติ สืบเนื่องมาจากการกระท าของมนุษย์
โดยเฉพาะการใช้สารเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิต และการก าจัดศัตรูพืช ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อ
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ก่อให้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน น้ า และระบบ
นิเวศวิทยา การท ากสิกรรมธรรมชาติ เพื่อผลิตอาหารที่มีคุณภาพ ถูกหลักอนามัย ปลอดภัย และ
ประหยัดต้นทุนนั้น เกษตรกรจ าเป็นต้องหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี และหันมาใช้สารสกัดจาก
สมุนไพรทดแทนถึงแม้ว่าสารสกัดสมุนไพร จะมีผลในการท าลายแมลงที่เป็นประโยชน์พวกแมลงตัว
ห้ า หรือแมลงตัวเบียนบ้างก็ตาม แต่ก็น้อยกว่าสารเคมีเพราะพิษจากสมุนไพรสลายตัวได้รวดเร็ว
และไม่ตกค้างนาน การใช้สารสมุนไพรทดแทนการใช้สารเคมี จะมีความจ าเป็นในช่วงแรก ๆ ของ
การเปลี่ยนแปลง เพราะเกษตรกรใช้สารเคมีติดต่อกันมาเป็นเวลานาน จนท าให้ความสมดุล
ระหว่างแมลงศัตรูพืช กับแมลงที่เป็นประโยชน์สูญเสียไป เมื่องดสารเคมี และใช้สารสมุนไพร
ทดแทนไปสักระยะจนสามารถอนุรักษ์ และเพิ่มจ านวนประชากรของแมลงที่เป็นประโยชน์ได้มาก
จนเกิดความสมดุลภายในแปลงได้แล้วจึงค่อย ๆ ลดการใช้สารสมุนไพรลง โดยใช้เฉพาะเท่าที่
จ าเป็นเท่านั้น การใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในคน สัตว์ และพืช การน าสมุนไพรมาใช้ในการ
ควบคุมโรคนั้น ควรมีความเข้าใจพื้นฐานของฤทธิ์ยาสมุนไพร และสรรพคุณของวัตถุนานาชนิด ที่
จะน ามาใช้ปรุงเป็นยาเสียก่อน โดยสรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิดนั้นจะขึ้นอยู่กับรสของสมุนไพร
นั้น ๆ รสยาแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1 ยารสประธาน หมายถึง ยาที่ปรุงเป็นต ารับแล้ว แบ่งเป็น 3 รส คือ รสเย็น รส
ร้อน และรสสุขุม
2 ยา 9 รส หมายถึง สรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิด คือ
1) รสฝาด สรรพคุณ ใช้ในการสมานแผลต่าง ๆ
2) รสหวาน สรรพคุณ ซึมซาบไปตามผิว
3) รสเบื่อเมา สรรพคุณ แก้พิษ ดับพิษโลหิต
4) รสขม สรรพคุณ แก้ทางโลหิตและดี
5) รสมัน สรรพคุณ เป็นยาอายุวัฒนะ
6) รสหอมเย็น สรรพคุณ บ ารุงหัวใจ บ ารุงโลหิต
7) รสเค็ม สรรพคุณ ฟอกโลหิต ดับพิษร้อน
8) รสเปรี้ยว สรรพคุณ บ ารุงเลือด แก้กระหายน้ า
9) รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ แก้โรคลม บ ารุงธาตุไฟ
และบางต ารายังได้เพิ่มอีก 1 รส คือ รสจืด สรรพคุณ ดับพิษ แก้ไข้ ขับปัสสาวะแก้ทางเตโชธาตุ
พิการ เช่นกันกับการน าสมุนไพรมาใช้ในการควบคุมโรคพืช และแมลงศัตรูพืชนั้น ก็ต้องมีความ
เข้าใจในพื้นฐานของฤทธิ์ยาสมุนไพร และสรรพคุณของวัตถุต่าง ๆ ที่จะน ามาใช้ปรุงเป็นยาป้องกัน
หรือยารักษาโรคพืชรวมทั้งยาฆ่า - ท าลายวงจรชีวิต และป้องกันแมลงด้วยโดยสรรพคุณของตัวยา
สมุนไพรที่ใช้ในการเกษตรสามารถแบ่งออกตามรสของสมุนไพรได้ประมาณ 5 รส คือ
1) สมุนไพรรสขม ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ป้องกันแมลง อาทิเช่น ฟ้าทลายโจร บอระเพ็ด
สะเดา และหญ้าใต้ใบ
2) สมุนไพรรสเบื่อเมา ฆ่าหนอนเพลี้ย แมลงอื่น ๆ อาทิเช่น หางไหล หนอนตาย
หยาก ขอบชะนางแดง - ขาว ใบน้อยหน่า สลัดได พญาไร้ใบ แสยก และเมล็ดมะกล่ า
3) สมุนไพรที่มีรสฝาด แก้เชื้อราโรคพืช อาทิเช่น เปลือกแค เปลือกมังคุด ใบฝรั่ง
และใบทับทิม
4) สมุนไพรหอมระเหย ไล่แมลง เปลี่ยนกลิ่นต้นพืช อาทิเช่น ตะไคร้หอม สาบเสือ
โหระพา กะเพรา ผักชี กะทกรก สาบแร้งสาบกา และผักแพรวแดง
5) สมุนไพรที่มีรสเปรี้ยว ไล่แมลง แสบร้อน อาทิเช่น เปลือกส้ม มะกรูด มะนาว และ
มะขาม
วิธีการปรุง หรือสกัดยาสมุนไพร เพื่อใช้ในการเกษตร สามารถประยุกต์เทคนิคการปรุง หรือสกัด
ยาสมุนไพร เพื่อน ามาใช้ในการเกษตรได้หลายวิธี อาทิเช่น
1) บดผง น าไปโรย หรือคลุมดินป้องกันศัตรูพืช
2) แช่น้ า (1 - 2 วัน) น าไปฉีดพ่น
3) ดองเหล้า (1 - 3 วัน) น าไปฉีดพ่น
4) ต้ม น าไปฉีดพ่น และรดราด
5) สกัดด้วยไอน้ า และความดัน ซึ่งเป็นเทคนิคต้องใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่แข็งแรง
6) การหมัก ซึ่งเป็นวิธีการที่ประหยัด และเก็บรักษาสรรพคุณของยาไว้ได้ทนนาน
นอกจากนี้ยังได้สารฮอร์โมน วิตามินและแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์ ต่อพืชอีกด้วย
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติโป่งแรด ตั้งอยู่เลขที่ 44/2 หมู่ 3 ต าบลพลับพลา อ าเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี
ในปัจจุบันสภาพแวดล้อมก าลังเข้าขั้นวิกฤติ สืบเนื่องมาจากการกระท าของมนุษย์
โดยเฉพาะการใช้สารเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิต และการก าจัดศัตรูพืช ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อ
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ก่อให้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน น้ า และระบบ
นิเวศวิทยา การท ากสิกรรมธรรมชาติ เพื่อผลิตอาหารที่มีคุณภาพ ถูกหลักอนามัย ปลอดภัย และ
ประหยัดต้นทุนนั้น เกษตรกรจ าเป็นต้องหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี และหันมาใช้สารสกัดจาก
สมุนไพรทดแทนถึงแม้ว่าสารสกัดสมุนไพร จะมีผลในการท าลายแมลงที่เป็นประโยชน์พวกแมลงตัว
ห้ า หรือแมลงตัวเบียนบ้างก็ตาม แต่ก็น้อยกว่าสารเคมีเพราะพิษจากสมุนไพรสลายตัวได้รวดเร็ว
และไม่ตกค้างนาน การใช้สารสมุนไพรทดแทนการใช้สารเคมี จะมีความจ าเป็นในช่วงแรก ๆ ของ
การเปลี่ยนแปลง เพราะเกษตรกรใช้สารเคมีติดต่อกันมาเป็นเวลานาน จนท าให้ความสมดุล
ระหว่างแมลงศัตรูพืช กับแมลงที่เป็นประโยชน์สูญเสียไป เมื่องดสารเคมี และใช้สารสมุนไพร
ทดแทนไปสักระยะจนสามารถอนุรักษ์ และเพิ่มจ านวนประชากรของแมลงที่เป็นประโยชน์ได้มาก
จนเกิดความสมดุลภายในแปลงได้แล้วจึงค่อย ๆ ลดการใช้สารสมุนไพรลง โดยใช้เฉพาะเท่าที่
จ าเป็นเท่านั้น การใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในคน สัตว์ และพืชการน าสมุนไพรมาใช้ในการควบคุม
โรคนั้น ควรมีความเข้าใจพื้นฐานของฤทธิ์ยาสมุนไพร และสรรพคุณของวัตถุนานาชนิด ที่จะ
น ามาใช้ปรุงเป็นยาเสียก่อน โดยสรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิดนั้นจะขึ้นอยู่กับรสของสมุนไพร
นั้น ๆ รสยาแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
ยารสประธาน หมายถึง ยาที่ปรุงเป็นต ารับแล้ว แบ่งเป็น 3 รส ย่อย คือ รสเย็น รสร้อน และ
รสสุขุม
5.6.2 ยา 9 รส หมายถึง สรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิด คือ
1) รสฝาด สรรพคุณ ใช้ในการสมานแผลต่าง ๆ
2) รสหวาน สรรพคุณ ซึมซาบไปตามผิว
3) รสเบื่อเมา สรรพคุณ แก้พิษ ดับพิษโลหิต
4) รสขม สรรพคุณ แก้ทางโลหิตและดี
5) รสมัน สรรพคุณ เป็นยาอายุวัฒนะ
6) รสหอมเย็น สรรพคุณ บ ารุงหัวใจ บ ารุงโลหิต
7) รสเค็ม สรรพคุณ ฟอกโลหิต ดับพิษร้อน
8) รสเปรี้ยว สรรพคุณ บ ารุงเลือด แก้กระหายน้ า
9) รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ แก้โรคลม บ ารุงธาตุไฟ
และบางต ารายังได้เพิ่มอีก 1 รส คือ รสจืด สรรพคุณ ดับพิษ แก้ไข้ ขับปัสสาวะแก้
ทางเตโชธาตุพิการ เช่นกันกับการน าสมุนไพรมาใช้ในการควบคุมโรคพืช และแมลงศัตรูพืชนั้น ก็
ต้องมีความเข้าใจในพื้นฐานของฤทธิ์ยาสมุนไพร และสรรพคุณของวัตถุต่าง ๆ ที่จะน ามาใช้ปรุงเป็น
ยาป้องกัน หรือยารักษาโรคพืชรวมทั้งยาฆ่า - ท าลายวงจรชีวิต และป้องกันแมลงด้วยโดยสรรพคุณ
ของตัวยา
สมุนไพรที่ใช้ในการเกษตรสามารถแบ่งออกตามรสของสมุนไพรได้ประมาณ 5 รส คือ
1) สมุนไพรรสขม ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ป้องกันแมลง อาทิเช่น ฟ้าทลายโจร บอระเพ็ด
สะเดา และหญ้าใต้ใบ
2) สมุนไพรรสเบื่อเมา ฆ่าหนอนเพลี้ย แมลงอื่น ๆ อาทิเช่น หางไหล หนอนตาย
หยาก ขอบชะนางแดง - ขาว ใบน้อยหน่า สลัดได พญาไร้ใบ แสยก และเมล็ดมะกล่ า
3) สมุนไพรที่มีรสฝาด แก้เชื้อราโรคพืช อาทิเช่น เปลือกแค เปลือกมังคุด ใบฝรั่ง
และใบทับทิม
4) สมุนไพรหอมระเหย ไล่แมลง เปลี่ยนกลิ่นต้นพืช อาทิเช่น ตะไคร้หอม สาบเสือ
โหระพา กะเพรา ผักชี กะทกรก สาบแร้งสาบกา และผักแพรวแดง
5) สมุนไพรที่มีรสเปรี้ยว ไล่แมลง แสบร้อน อาทิเช่น เปลือกส้ม มะกรูด มะนาว และ
มะขาม
วิธีการปรุง
หรือสกัดยาสมุนไพร เพื่อใช้ในการเกษตร สามารถประยุกต์เทคนิคการปรุง หรือสกัด
ยาสมุนไพร เพื่อน ามาใช้ในการเกษตรได้หลายวิธี อาทิเช่น
1) บดผง น าไปโรย หรือคลุมดินป้องกันศัตรูพืช
2) แช่น้ า (1 - 2 วัน) น าไปฉีดพ่น
3) ดองเหล้า (1 - 3 วัน) น าไปฉีดพ่น
4) ต้ม น าไปฉีดพ่น และรดราด
5) สกัดด้วยไอน้ า และความดัน ซึ่งเป็นเทคนิคต้องใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่แข็งแรง
6) การหมัก ซึ่งเป็นวิธีการที่ประหยัด และเก็บรักษาสรรพคุณของยาไว้ได้ทนนาน
นอกจากนี้ยังได้สารฮอร์โมน วิตามินและแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์ ต่อพืชอีกด้วย
สมุนไพรสูตร (ต ารับ)
ใช้เป็นสารไล่แมลง และบ ารุงพืชที่ก าลังได้รับความนิยมใช้กันโดยทั่วไป กว่า 60
จังหวัดทั่วประเทศ พอจะประมวลประสบการณ์จากศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง จังหวัดชลบุรี
มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ศูนย์กสิกรรมสมุนไพรวังจันทร์ จังหวัดระยอง ศูนย์เรียนรู้ชุมชน กลุ่ม
ปุ๋ยชีวภาพ งานวิชาการเกษตร ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชด าริ
จังหวัดจันทบุรี โครงการเกษตรอินทรีย์สุรินทร์ เครือข่ายกสิกรรมไร้สารพิษแห่งประเทศไทย
เครือข่ายชุมชนชาวอโศก พอสรุปได้ดังนี้สารสมุนไพร ก าจัดเพลี้ยชนิดต่าง ๆ เช่น เพลี้ยอ่อน
เพลี้ยไรแดงเพลี้ยแป้ง เพลี้ยหอย เพลี้ยไฟ เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยกระโดดสีน้ าตาล และหมัดกระโดด
สูตร 1
ส่วนประกอบ
1) หนอนตายหยาก 2 กิโลกรัม
2) บอระเพ็ด 1 กิโลกรัม
3) ขมิ้นชัน 1 กิโลกรัม
4) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
5) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 2 กิโลกรัม
6) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
สับบดสมุนไพรแล้วหมักรวมกันไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 4 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น
สูตร 2
ส่วนประกอบ
1) ว่านน้ า 1 กิโลกรัม
2) สาบเสือ 1 กิโลกรัม
3) ยาฉุน ½ กิโลกรัม
4) ตะไคร้หอม 1 กิโลกรัม
5) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
6) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 กิโลกรัม
7) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
สับบดสมุนไพรหมักรวมกัน 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 4 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น
สูตร 3
ส่วนประกอบ
1) ยาฉุน ½ กิโลกรัม
2) สะเดา ½ กิโลกรัม
3) ข่า 1 กิโลกรัม
4) ตะไคร้หอม 1 กิโลกรัม
5) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
6) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 กิโลกรัม
7) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
สับบดหมักทิ้งไว้ 7 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 5 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น
สูตร 4
ส่วนประกอบ
1) หางไหลสด 1 กิโลกรัม
2) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า ทุบให้แตก แช่น้ า 1 วัน
วิธีใช้ ผสมน้ า 1:20 ฉีดพ่นทุก ๆ 7 วัน
สูตร 5
ส่วนประกอบ
1) ใบเสม็ดขาว 1 กิโลกรัม
2) เหล้า 10 ลิตร
วิธีท า สับบดดองเหล้าไว้ 3 วัน
วิธีใช้ ผสมน้ า ½ ลิตร ต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น
สารสมุนไพร ก าจัดหนอนกระทู้ หนอนชอนใบ หนอนใยผัก หนอนหนังเหนียว
หนอนใต้หนอนเจาะสมอฝ้าย
สูตร 1
ส่วนประกอบ
1) ฟ้าทะลายโจร 1 กิโลกรัม
2) เปลือกหัน 1 กิโลกรัม
3) เปลือกแค 1 กิโลกรัม
4) หางไหล 1 กิโลกรัม
5) ตะไคร้หอม 1 กิโลกรัม
6) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
7) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 ลิตร
8) น้ าสะอาด 15 ลิตร
วิธีท า
สับบดหมักรวมไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 1:100 ฉีดพ่น และรดราด
สูตร 2
ส่วนประกอบ
1) หนอนตายหยาก 1 ลิตร
2) โทงเทง 1 ลิตร
3) สาบเสือ 1 ลิตร
4) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
5) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 ลิตร
6) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
สับบดหมักทิ้งไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 1:100 ฉีดพ่นและรดราด
สารสมุนไพรก าจัดโรคพืช
สูตร 1
ส่วนประกอบ
1) เปลือกแค 1 กิโลกรัม
2) กระเทียม 1 กิโลกรัม
3) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
4) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 ลิตร
5) น้ าสะอาด 1 กิโลกรัม
วิธีท า
สับบดหมักไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 1:100-1:200 ฉีดพ่นและรดราด
สูตร 2
ส่วนประกอบ
1) ว่านหางจระเข้ 1 กิโลกรัม
2) ใบดอกรัก 1 กิโลกรัม
3) กระเทียม 1 กิโลกรัม
4) ขมิ้นชัน 1 กิโลกรัม
5) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
6) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 กิโลกรัม
7) น้ าสะอาด 15 ลิตร
วิธีท า
สับบดหมักไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 1:100 - 1:200 ฉีดพ่นและรดราด
สูตร 3
ส่วนประกอบ
1) ว่านหางจระเข้ 200 กรัม
2) กระเทียม 200 กรัม
3) น้ าสบู่ 4 ช้อนโต๊ะ
4) น้ าส้มสายชู 100 ซี.ซี.
5) น้ าสะอาด 20 ลิตร
วิธีท า
สับบด หมักไว้ 7 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 4 ช้อนต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น ทุก ๆ 7 วัน
สารสมุนไพร ก าจัดหอยเชอรี่
ส่วนประกอบ
1) น้ าปูนใส 1 ลิตร
2) มะกรูด 1 กิโลกรัม
3) กระเทียม 1 กิโลกรัม
4) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
5) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 กิโลกรัม
6) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
หมักมะกรูด กระเทียม หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น น้ าตาล และน้ า รวมกันไว้ 7 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ าปูนใส กับส่วนผสมที่หมักไว้ ในอัตราส่วน 1: 1 หยดลงในนาที่มีหอยเชอรี่
หมายเหตุ การฉีดพ่นสมุนไพรก าจัดโรค และแมลงควรฉีดพ่นในช่วงเช้ามือ หรือช่วงเย็น ๆ ถ้า
มีโรคระบาด หรือแมลงระบาด ควรฉีดพ่น และรดราดดินติดต่อกันทุกวัน เป็นเวลา 3 วัน
ติดต่อกันอย่างไรก็ตามการควบคุมโรค และแมลงให้ได้ผลดีควรท าทั้งการอนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติ
และการใช้สมุนไพรควบคู่กันไปจนกว่าธรรมชาติในแปลงจะสมดุล
สารสมุนไพร จากสะเดา
ส่วนผสม
1) สะเดาทั้ง 5 2 กิโลกรัม (ได้เมล็ดด้วยยิ่งดี)
2) บอระเพ็ดทั้ง 5 4 กิโลกรัม
3) ข่าทั้ง 5 1 กิโลกรัม
4) ตะไคร้หอมทั้ง 5 1 กิโลกรัม
5) หางไหล หรือโล่ติ้น 1 กิโลกรัม
6) ผลไม้สุก 3 ชนิด 1 กิโลกรัม (กล้วยสุก มะละกอสุก ฟักทอง
อย่างละเท่า ๆ กัน)
7) ยาฉุน 2 กิโลกรัม
8) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
9) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 3 กิโลกรัม
10) น้ าสะอาด 40 ลิตร
วิธีท า
หั่น หรือสับสะเดา บอระเพ็ด ข่า ตะไคร้หอม หางไหล และผลไม้สุก ให้ได้ความ
ยาวประมาณ 1 - 2 ข้อมือ ผสมน้ าสะอาด กับน้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาลใส่ลงในถังหมัก
น าส่วนผสมที่หั่น หรือสับแล้วใส่ลงในถังหมักปิดฝาให้สนิทและเก็บไว้ในที่ร่ม 1 เดือน
วิธีใช้
ผสมน้ าหมัก 1 ลิตร ต่อน้ าสะอาด 300 ลิตร ฉีดพ่นในเวลาเช้ามืด หรือหลัง
ตะวันตกดิน
หมายเหตุ ได้ประโยชน์ทั้งเป็นสารขับไล่แมลง เป็นฮอร์โมนบ ารุงพืชให้ติดดอกออกผลดี และยัง
เป็นปุ๋ย อินทรีย์ชีวภาพอีกด้วย
เทคนิคส าคัญในการผลิต และการใช้สารสกัดสมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพ
1 การหมักสารสกัดสมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพ ควรหมักในถังพลาสติกที่มีฝาปิดสนิท
และควรมีลักษณะทึบแสง
2 ควรเก็บรักษาไว้ในที่ร่ม ไม่ควรโดนแสงแดด
3 ตลอดระยะเวลาการหมักไม่ควรเปิดฝาก่อนถึงเวลา เพราะอาจท าให้การหมักไม่
สมบูรณ์ น ามาใช้ประโยชน์ไม่ได้ แต่ในกรณีถ้าถังบวมมาก จนอาจระเบิดได้ ก็อนุโลมให้แง้มฝา
เล็กน้อย เพื่อปล่อยก๊าซออกบ้าง แล้วให้รีบปิดให้สนิทเหมือนเดิม
4 ควรคลุมดิน (อย่าเปลือยดิน) โดยใช้เศษฟาง เศษใบไม้ หรือวัชพืชจ าพวกหญ้า
ต่าง ๆ คลุมให้ทั่วบริเวณใต้ทรงพุ่ม หรือเลยออกมาเล็กน้อย ควรเว้นระยะห่างจากโคนต้น
ประมาณ 1 คืบ และหนาประมาณ 1 ฝ่ามือ
5 การฉีดพ่นใบ หรือรดราดดิน ควรผสมตามอัตราส่วนที่ก าหนดและควรฉีดพ่น
หรือรดราดลงบนดินให้ทั่วบริเวณทรงพุ่ม โดยฉีดพ่น หรือรดราดลงบนเศษฟาง หรือใบไม้กิ่งไม้ที่
คลุมดินอยู่
6 ไม่ควรใช้ยาฆ่าหญ้า เพราะจะท าให้ประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพรอินทรีย์
ชีวภาพลดลง ให้ใช้การตัดหรือนาบแทน
7 ไม่ควรใช้ร่วมกับสารเคมี หรือยาฆ่าแมลง เพราะประสิทธิภาพของสารสกัด
สมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพจะลดลง และสิ่งส าคัญ คือ แมลงที่เป็นประโยชน์ต่าง ๆ (ตัวห้ า ตัวเบียน)
จะตายลง
ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านชุมชนปฐมอโศก ตั้งอยู่เลขที่ 66 หมู่ 5 ต าบลพระประโทน อ าเภอเมือง
จังหวัดนครปฐม
คุณสมบัติของสมุนไพรแต่ละชนิดในการป้องกันและก าจัด (แมลงโรคพืช)
พืชสมุนไพร
หางไหล : หนอนกินช่อ เพลี้ยไฟ ไรขาว ไรแดง เพลี้ยจักจั่น
ขมิ้นชัน : ดวงเจาะเมล็ด ด้วงงวงข้าว มอดข้าวเปลือก หนอนกระทู้ ไรแดง
สบู่ต้น : หนอนชอนใบ หนอนม้วนใบ หนอนแปะใบ หนอนแก้ว
ตะไคร้หอม : หนอนกระทู้ หนอนคืบ หนอนใย หนอนหลอด ราน้ าค้าง หนอนม้วน
ใบ ราแป้ง หนอนเจาะยอด / ดอก / ผล ราสนิม
กระเทียม : เพลี้ยอ่อน หนอนกระทู้ ราน้ าค้าง ราแป้ง ราสนิม
ใบมะเขือเทศสด : ด้วงหมัดผัก หนอนเจาะต้น ไส้เดือนฝอย รา / แบคทีเรียบางชนิด
หนอนใย
ยาสูบ / ยาฉุน : เพลี้ย ไร รา ด้วงหมัดผัก ด้วงเจาะสมอ หนอนกระ หล่ า หนอน
ชอนใบ หนอนมวนใบ หนอนกระทู้
พริกสด : โรคจากไวรัสทุกชนิด ขับไล่แมลง
ใบแก่มะรุม : (ใช้รองก้นหลุม) ราในดิน รากเน่า โคนเน่า ผลเน่า (แตง _ ฟัก) เน่า
คอดิน แง่งขิงเน่า
สาบเสือ : หนอนกระทู้ หนอนใย เพลี้ยกระโดด เพลี้ยไฟ เพลี้ยจักจั่น
แมลงโรคพืช
เพลี้ยไฟ : ใช้พืชสมุนไพร หางไหล สะเดา ยาสูบ ยาฉุน สาบเสือ ตะไคร้หอม /
แกง ใบดาวเรือง กระเทียม ข่า พริก ดีปลี
แมลงหวี่ขาว : ใช้พืชสมุนไพร กระเทียม พริก มะกรูด ขึ้นฉาย ตะไคร้หอม /
แกง
หมัดกระโดด : (ใช้ทางใบ)ตะไคร้หอม/แกงขิง ข่า พริก ใบน้อยหน่า หางไหล หนอน
ตายหยาก (ใช้ทางดิน) สะเดา เมล็ดน้อยหน่า ตะไคร้หอม / แกง ยาฉุน
เพลี้ยอ่อน : ใช้พืชสมุนไพร สะเดา ยาสูบ ยี่หร่า หางไหล (เหล้าขาว +
น้ าส้มสายชู)
เพลี้ยแป้ง : ใช้พืชสมุนไพร ยาสูบ ยาฉุน สะเดา บอระเพ็ด ตะไคร้หอม / แกง
สาบเสือ กระเทียม (ไวท์ออย + น้ ามันก๊าซ)
รากเน่าโคนเน่า : ใช้พืชสมุนไพร เปลือกมะม่วงหิมพานต์ เทียนหยด ราก หม่อน
ผลเน่า : ใช้พืชสมุนไพร ต้นกระดูกไก่ด า / ขาว ว่านน้ า ตะไคร้หอม กระ
เพรา โหระพา ใบยูคาลิปตัส
ไส้เดือนฝอย : ใช้พืชสมุนไพร สะเดา ละหุ่ง ใบยูคาลิปตัส สาบเสือ แขยง เลี่ยน
ปะทัดจีน ใบดาวเรือง ตะไคร้หอม
โรคเน่าคอดิน: ใช้พืชสมุนไพร ใบมะรุมแห้ง กระเทียม ผิวมะกรูด รากหม่อน
โรคเหี่ยว : ใช้พืชสมุนไพร เปลือกเงาะ ขึ้นฉาย ใบมะรุมแห้ง
โรคใบจุด : ใช้พืชสมุนไพร ว่านน้ า ใบกระดูกไก่ด า / ขาว ลูกประค าดีควาย
เปลือก มะม่วงหิมพานต์

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
กล้วยใบม่วงหลังใบอ่อน เกิดจุดกระเป็นริ้วเขียวอมเหลือง เพราะ กล้วยขาดธาตุสังกะสี
กล้วยใบม่วงหลังใบอ่อน เกิดจุดกระเป็นริ้วเขียวอมเหลือง เพราะ กล้วยขาดธาตุสังกะสี
กล้วยเนื้อเยื่อตาย เพราะขาดธาตุสังกะสี (Zn)

อาการที่บ่งบอกว่ากล้วย ขาดธาตุสังกะสี แสดงให้เห็นตรงระหว่างเส้นใบ มีอาการใบเหลือง และลามออกไปทั่วทั้งใบ และเกิดเป็นจุดกระเป็นริ้ว เขียวอมเหลือง อาการจะเริ่มจากใบอ่อนของกล้วย สังเกตุเห็นแต้มจางสีม่วงหลังใบอ่อน ต้นกล้วยจะเรียงกาบใบเป็นชั้นแคบๆ เครือกล้วยมีขนาดเล็ก รูปร่างผิดปกติ ผลกล้วยสั้นเล็กเหมือนนิ้วมือ

อาการขาดธาตุสังกะสี (Zn) พบบ่อยที่สุด เมื่อเทียบกับการขาดธาตุอาหารอื่นๆในพืช

อาการใบเหลือง พบเช่นกันเมื่อ ขาดธาตุ ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม แมงกานีส เหล็ก
แต่การขาดธาตุสังกะสี มักพบบ่อยที่สุด

การขาดธาตุสังกะสี สับสนได้ง่ายกับ โรคไวรัส เหรือผลข้างเคียงกับการใช้สารกำจัดวัชพืช

สังกะสี มีหน้าที่สำคัญ

ส่วนใหญ่สำคัญต่อการทำงานของเอนไซม์และก็สำคัญสำหรับการสังเคราะห์ฮอร์โมนควบคุมการเจริญเติบโตด้วย ส่งผลกระทบหลักต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้วย ผลผลิตและคุณภาพ ธาตุสังกะสีเป็นหนึ่งในธาตุอาหารรองที่สำคัญที่สุดในการผลิตกล้วยและมีรายงานว่าขาดธาตุนี้อย่างแพร่หลาย

Reference: main content from yara.co.th
อ่าน:3476
โรคไฟทอปธอรา ป้องกันและกำจัดโรค ในทุเรียน โรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อราสกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติ
โรคไฟทอปธอรา ป้องกันและกำจัดโรค ในทุเรียน โรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อราสกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติ
โรคไฟทอปธอรา ป้องกันและกำจัดโรค ในทุเรียน โรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อราสกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติ
IS: สารต้านเชื้อราอินทรีย์สำหรับการควบคุมไฟทอฟธอร่าของทุเรียน

ทุเรียนเป็นที่รู้จักในฐานะ "ราชาแห่งผลไม้" ถือเป็นสถานที่พิเศษในดวงใจของผู้ที่ชื่นชอบผลไม้มากมาย อย่างไรก็ตาม ความท้าทายที่สำคัญประการหนึ่งที่ชาวสวนทุเรียนต้องเผชิญคือการมีเชื้อราไฟทอปธอร่า ซึ่งเป็นโรคเชื้อราทำลายล้างที่ส่งผลกระทบต่อผลไม้และอาจนำไปสู่การสูญเสียผลผลิตอย่างมาก ในการแสวงหาวิธีแก้ปัญหาที่ยั่งยืน นักวิจัยและพัฒนาได้แนะนำ IS ซึ่งเป็นสารต้านเชื้อราอินทรีย์ที่ได้จากส่วนผสมจากธรรมชาติทั้งหมด

จากการวิจัยและพัฒนาอย่างกว้างขวาง IS ได้พิสูจน์แล้วว่าเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมและยับยั้งไฟทอฟธอราในทุเรียน ด้วยการใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเพื่อจัดการกับสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช IS จะสร้างสภาวะที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการเจริญเติบโตและการแพร่กระจายของเชื้อรา วิธีการที่เป็นนวัตกรรมใหม่นี้ขัดขวางวงจรชีวิตของไฟทอฟธอรา ป้องกันการแพร่กระจายและลดผลกระทบต่อพืชทุเรียน

ความสำเร็จของ IS อยู่ที่ความสามารถในการยึดติดกับผิวใบพืชได้อย่างมีประสิทธิภาพ คุณลักษณะนี้ช่วยให้แน่ใจว่าสารต้านเชื้อรายังคงสัมผัสใกล้ชิดกับบริเวณที่ได้รับผลกระทบ เพิ่มประสิทธิภาพสูงสุดในการต่อสู้กับไฟทอฟธอรา IS มาจากแหล่งอินทรีย์ ซึ่งแตกต่างจากสารฆ่าเชื้อราที่ใช้สารเคมีแบบดั้งเดิม ทำให้เป็นทางเลือกที่ปลอดภัยและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมสำหรับเกษตรกรและผู้บริโภค

ข้อดีอย่างหนึ่งของ IS คือองค์ประกอบที่เป็นธรรมชาติทั้งหมด เป็นสูตรที่พิถีพิถันโดยใช้ส่วนผสมที่มาจากธรรมชาติ หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีสังเคราะห์ที่อาจส่งผลเสียต่อสุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม วิธีการแบบออร์แกนิกนี้สอดคล้องกับความต้องการที่เพิ่มขึ้นสำหรับแนวทางปฏิบัติทางการเกษตรแบบยั่งยืนและเป็นทางเลือกแทนสารฆ่าเชื้อราทั่วไป

นอกจากนี้ IS ยังผ่านการทดสอบอย่างเข้มงวดเพื่อความปลอดภัยและประสิทธิภาพ การทดลองภาคสนามอย่างกว้างขวางและการศึกษาในห้องปฏิบัติการได้แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการควบคุมไฟทอฟธอร่าได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อต้นทุเรียนหรือทำให้คุณภาพของผลลดลง สิ่งนี้ทำให้ IS เป็นตัวเลือกที่เหมาะสำหรับเกษตรกรที่ต้องการต่อสู้กับโรคเชื้อราในขณะที่รักษาความสมบูรณ์ของผลผลิต

การประยุกต์ใช้ IS นั้นง่ายและสะดวก เกษตรกรสามารถนำวิธีการนี้ไปใช้ในการจัดการศัตรูพืชที่มีอยู่ได้อย่างง่ายดาย ไม่ว่าจะเป็นการฉีดพ่นทางใบหรือด้วยวิธีอื่นๆ ที่เหมาะสม ความเก่งกาจของ IS ช่วยให้สามารถบูรณาการเข้ากับระบบการเกษตรต่างๆ ได้อย่างไร้รอยต่อ ทำให้เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนหลากหลายกลุ่มสามารถเข้าถึงได้

ด้วยการใช้พลังของ IS เกษตรกรผู้ปลูกทุเรียนสามารถต่อสู้กับไฟทอปธอร่าได้อย่างมีประสิทธิภาพและปกป้องพืชผลของพวกเขา ธรรมชาติอินทรีย์ของมันไม่เพียงรับประกันความปลอดภัยของเกษตรกรและผู้บริโภค แต่ยังก่อให้เกิดความยั่งยืนโดยรวมของการปลูกทุเรียน เมื่อมี IS เป็นพันธมิตร เกษตรกรสามารถมั่นใจในความสามารถในการดูแลรักษาต้นทุเรียนให้แข็งแรงและให้ผลผลิตคุณภาพสูง

โดยสรุป IS แสดงถึงความก้าวหน้าในการต่อสู้กับไฟทอฟธอร่าในทุเรียน องค์ประกอบทางอินทรีย์ของมันประกอบกับประสิทธิภาพสูงในการควบคุมและยับยั้งเชื้อรา ทำให้ทุเรียนเป็นสินทรัพย์ที่มีค่าสำหรับชาวสวนทุเรียนทั่วโลก ด้วยการใช้สารต้านเชื้อราที่เป็นนวัตกรรมใหม่นี้ เกษตรกรสามารถปกป้องพืชผลของพวกเขา ส่งเสริมแนวทางปฏิบัติทางการเกษตรที่ยั่งยืน และรับประกันการเก็บเกี่ยวที่อุดมสมบูรณ์ของผลไม้เมืองร้อนอันเป็นที่รักนี้สำหรับรุ่นต่อๆ ไป

สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
ประโยชน์ของการปลูกพืชคลุมดินในระบบเกษตร
ประโยชน์ของการปลูกพืชคลุมดินในระบบเกษตร
การปลูกพืชคลุมดินเป็นวิธีการทำการเกษตรที่ปลูกพืชรองบนที่ดินระหว่างพืชหลักโดยหมุนเวียนกันไป การปฏิบัตินี้มีประโยชน์หลายประการต่อดินและสุขภาพโดยรวมของระบบการเกษตร

ข้อดีประการหนึ่งของการปลูกพืชคลุมดินคือช่วยปรับปรุงโครงสร้างดินและความอุดมสมบูรณ์ เมื่อพืชคลุมดินเติบโตขึ้น มันจะดูดสารอาหารจากดินและปล่อยกลับคืนสู่ดินเมื่อพลิกดิน สิ่งนี้ช่วยรักษาและปรับปรุงปริมาณธาตุอาหารในดิน ทำให้มีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้นสำหรับพืชหลักชนิดต่อไป

ข้อดีอีกอย่างคือการปลูกพืชคลุมดินสามารถช่วยกำจัดวัชพืชได้ นิสัยการเจริญเติบโตอย่างหนาแน่นของพืชคลุมดินจำนวนมากสามารถช่วยกำจัดวัชพืชและป้องกันไม่ให้พวกมันงอก สิ่งนี้สามารถประหยัดเวลาและเงินของเกษตรกรในมาตรการควบคุมวัชพืชและยังช่วยลดการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช

การปลูกพืชคลุมดินยังสามารถช่วยป้องกันการพังทลายและปรับปรุงการกักเก็บน้ำในดิน รากของพืชคลุมดินช่วยยึดดินให้อยู่กับที่และยังสามารถช่วยดูดซับน้ำส่วนเกิน ซึ่งสามารถลดความเสี่ยงของการพังทลายและช่วยประหยัดน้ำสำหรับพืชหลัก

นอกจากประโยชน์เหล่านี้แล้ว การปลูกพืชคลุมดินยังสามารถให้ที่อยู่อาศัยและอาหารแก่แมลงที่มีประโยชน์และสัตว์ป่าอื่นๆ สิ่งนี้สามารถช่วยส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพและปรับปรุงสุขภาพโดยรวมของระบบนิเวศเกษตร

โดยรวมแล้ว การปลูกพืชคลุมดินสามารถมีผลกระทบเชิงบวกมากมายต่อระบบการเกษตร ความสามารถในการปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดิน ปราบวัชพืช ป้องกันการพังทลาย และส่งเสริมความหลากหลายทางชีวภาพ ทำให้เป็นเครื่องมือที่มีค่าสำหรับเกษตรกรที่ต้องการปรับปรุงที่ดินและพืชผลอย่างยั่งยืน
อ่าน:3476
ป้องกันกำจัด โรคเชื้อราไฟท็อปธอร่า ใน ปาล์มน้ำมัน
ป้องกันกำจัด โรคเชื้อราไฟท็อปธอร่า ใน ปาล์มน้ำมัน
ปาล์มน้ำมัน เป็นพืชที่มีคุณค่าซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมอาหารและเชื้อเพลิงชีวภาพ อย่างไรก็ตาม ยังไวต่อโรคพืชหลายชนิด ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ Phytophthora nicotianae เชื้อรานี้สามารถสร้างความเสียหายอย่างมากต่อต้นปาล์มน้ำมัน ทำให้ผลผลิตและคุณภาพลดลง

วิธีหนึ่งในการป้องกันและกำจัด Phytophthora nicotianae คือการใช้สารประกอบอินทรีย์ ไอเอส สารประกอบเหล่านี้ทำงานโดยสร้างสภาพแวดล้อมบนใบพืชที่ไม่เหมาะกับการเจริญเติบโตของเชื้อรา พวกมันทำเช่นนี้โดยการควบคุมสมดุลของไอออนบนผิวใบ ทำให้เชื้อราสร้างตัวได้ยาก

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพสูงสุดของสารประกอบอินทรีย์ ไอเอส สามารถใช้ร่วมกับผลิตภัณฑ์อื่นที่เรียกว่า FK-1 ซึ่งประกอบด้วยสารอาหารหลายชนิด ได้แก่ แมกนีเซียม สังกะสี ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และสารลดแรงตึงผิว เมื่อฉีดพ่นร่วมกับ ไอเอส และ FK-1 สามารถช่วยเร่งการงอกใหม่ของพืชหลังการทำลายของโรค นอกจากนี้ยังสามารถช่วยบำรุงและส่งเสริมการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตได้ดียิ่งขึ้น

หากต้องการใช้วิธีนี้ ให้ผสม ไอเอส และ FK-1 เข้าด้วยกันแล้วฉีดพ่นลงบนพืชที่ได้รับผลกระทบ สิ่งนี้จะช่วยป้องกันการเจริญเติบโตของ Phytophthora nicotianae และส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืชน้ำมันปาล์ม สิ่งสำคัญคือต้องใช้อัตราส่วนที่ถูกต้องของ ไอเอส และ FK-1 และปฏิบัติตามคำแนะนำบนบรรจุภัณฑ์

สรุปได้ว่า สารประกอบอินทรีย์ของ ไอเอส และ FK-1 สามารถเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัด Phytophthora nicotianae ในปาล์มน้ำมัน โดยการสร้างสภาพแวดล้อมบนใบพืชที่ไม่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของเชื้อราและส่งเสริมการงอกใหม่ของพืช วิธีนี้สามารถช่วยเพิ่มผลผลิตและปรับปรุงคุณภาพของพืชผลได้

เลือกซื้อ ไอเอส และ FK-1 เลื่อนลงล่างอีกนิดนะคะ
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสนิม ใน ถั่วฝักยาว ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสนิม ใน ถั่วฝักยาว ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสนิม ใน ถั่วฝักยาว ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
เชื้อราไตรโคเดอร์มาคือสกุลของเชื้อราที่พบว่ามีคุณสมบัติที่เป็นประโยชน์หลายประการ หนึ่งในนั้นคือความสามารถในการปกป้องพืชจากโรคต่างๆ เชื้อรา Trichoderma harzianum สายพันธุ์เฉพาะในสกุล Trichoderma harzianum พบว่ามีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดโรคราสนิมถั่วฝักยาวโดยเฉพาะ

โรคราสนิมถั่วฝักยาวเกิดจากเชื้อรา Uromyces appendiculatus ซึ่งทำลายใบ ลำต้น และฝักถั่วฝักยาว สิ่งนี้สามารถนำไปสู่ผลผลิตพืชผลที่ลดลงและแม้แต่ความล้มเหลวในการเพาะปลูกทั้งหมด โรคนี้เป็นปัญหาโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาพที่อบอุ่นและชื้นซึ่งเหมาะสำหรับการเจริญเติบโตและการแพร่กระจายของเชื้อรา

Trichorex ผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์จากเชื้อรา T. harzianum ใช้ในการป้องกันพืชจากโรคราสนิมถั่วฝักยาว เชื้อราทำหน้าที่เป็น biocontrol agent ซึ่งหมายความว่ามันจะแข่งขันกับเชื้อราที่ทำให้เกิดโรคในพื้นที่และทรัพยากรในพืช นอกจากนี้ยังผลิตเอนไซม์ที่ย่อยสลายผนังเซลล์ของเชื้อราที่ทำให้เกิดโรคและฆ่ามันได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Trichorex สามารถนำไปใช้กับพืชในรูปแบบการฉีดพ่นทางใบหรือสามารถใช้เป็นการรักษาเมล็ดพันธุ์ได้ ผลิตภัณฑ์นี้สามารถใช้เป็นมาตรการป้องกันหรือเป็นการรักษาสำหรับการติดเชื้อที่ก่อตัวขึ้นได้ เป็นทางเลือกที่เป็นธรรมชาติและมีประสิทธิภาพแทนสารเคมีฆ่าเชื้อรา ซึ่งอาจส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์

นอกจากความสามารถในการควบคุมโรคราสนิมถั่วฝักยาวแล้ว เชื้อรา Trichoderma harzianum ยังพบว่ามีคุณสมบัติที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกหลายประการ เช่น ส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช และเพิ่มความทนทานต่อความเครียดของพืช

โดยรวมแล้ว Trichorex เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดโรคราสนิมถั่วฝักยาว และเป็นทางเลือกทางธรรมชาติที่ยอดเยี่ยมแทนสารเคมีกำจัดเชื้อรา ด้วยความสามารถในการป้องกันโรค ส่งเสริมการเจริญเติบโต และเพิ่มความทนทานต่อความเครียด จึงเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการรักษาพืชให้แข็งแรงและเพิ่มผลผลิต

ไตรโคเร็กซ์ : เชื้อไตรโคเดอร์มา

ช่วยป้องกันและยับยั้งโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่นใบเหลือง รากเน่า
โคนเน่า ไฟท้อปเธอร่าในทุเรียนโรคแคงเกอร์ในส้ม - มะนาว
โรคทลายปาล์มเน่าโรคแอนแทรกโนสใน มะละกอ แตงโม แตงกวาโรคใบจุด ใบแห้ง
โรคกาบใบเน่า โรคกาบใบแห้งโรคไหม้ในข้าว โรคกุ้งแห้งในพริก
โรคผลเน่า

ใช้อย่างไร

1. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นบริเวณกิ่ง ก้าน ใบ หรือราดบริเวณโคนต้น

2. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อปุ๋ยอินทรีย์ 20 กก.ในการปลูกหรือรองก้นหลุมก่อนปลูก

ไม่ควรผสมใช้ร่วมกับเชื้อบิวเวอร์เรียและเมธาไรเซียม ควรฉีดสลับกันทุก 7-10 วัน

ผลิตภัณฑ์ของเราดีกว่าอย่างไร
1.มีห้องปฏิบัติการเพาะเชื้อจุลินทรีย์
- คัดสายพันธุ์เฉพาะ ผ่านการทดสอบ/วิจัย
- สายพันธุ์เชื้อผ่านการตรวจจาก วว.และ สวทช
2.เชื้อจุลินทรีย์เลี้ยงในอุณหภูมิที่เหมาะสม
- มีตู้บ่มเชื้อควบคุมอุณหภูมิ
- ได้เชื้อจุลินทรีย์สมบูรณ์ แข็งแรง
3.มีห้องสำหรับการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์
- เพื่อลดการปนเปื้อนระหว่างการเพาะเชื้อ
- ควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น แสง
4.ควบคุมคุณภาพเชื้อจุลินทรีย์ตลอดการผลิต

ป้องกันกำจัดโรคพืช
-โรคใบเหลือง ใบเหี่ยว
-โรคใบจุด ราน้ำค้าง
-โรคราแป้ง
-โรคราสีชมพู กาบใบแห้ง
-โรคผลเน่า ในพริกทุเรียน
-โรคใบไหม้
-โรคเหี่ยวเขียว เหี่ยวเหลือง
-โรครากเน่าโคนเน่า
-โรคเมล็ดเน่า

กลไกการป้องกันโรคพืช
1.เจริญเติบโต แข่งขัน แย่งอาหาร น้ำ และที่อยู่กับเชื้อราสาเหตุโรคพืช
จึงทำให้เชื้อโรคลดปริมาณ ลงอย่างรวดเร็ว
2.การสร้างสารปฏิชีวนะ มาทำลายผนังเซลล์เชื้อราโรคพืช
ทำให้เส้นใยเชื้อราโรคพืชเกิดการไหม้ และตาย
3.เป็นปรสิต สร้างเส้นใยพันรัดน้ำเลี้ยงจากเชื้อโรคพืช
ทำให้เส้นใยสลายลดการขยาย เผ่าพันธุ์ลง


สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link..
การรับมือกับศัตรูไม่ต้องการ: การควบคุมหนอนในต้นทับทิม
การรับมือกับศัตรูไม่ต้องการ: การควบคุมหนอนในต้นทับทิม
หากคุณพบหนอนในต้นทับทิม อาจจะเป็นทั้งหนอนและตัวอ่อนของแมลงหรือผีเสื้อที่ทำลายพืชได้ นอกจากนี้ยังมีโรคพืชหรือปัญหาด้านอื่นที่อาจทำให้ต้นทับทิมเจ็บป่วย ด้านล่างนี้คือบางข้อแนะนำเพื่อจัดการกับปัญหานี้:

การตรวจสอบต้นทับทิม:

ตรวจสอบต้นทับทิมของคุณอย่างระมัดระวัง เช็คดูว่ามีหนอนหรือตัวอ่อนของแมลงที่ทำลายพบหรือไม่ ถ้ามี_ ลองเก็บตัวอย่างเพื่อให้ผู้เชี่ยวชาญสามารถพิจารณาและให้คำแนะนำได้ดีขึ้น

การใช้สารเคมี:

หากปัญหามีความรุนแรง คุณสามารถใช้สารเคมีที่เป็นพิษต่อแมลง เช่น พิริมิฟอส-เมทิล หรือบูโรนิล เป็นต้น ต้องอ่านฉลากและปฏิบัติตามคำแนะนำของผู้ผลิต

การใช้วิธีธรรมชาติ:

ในบางกรณี ความสมดุลของระบบนิเวศน์และการใช้วิธีการทางธรรมชาติ เช่น การใช้แตนเจีย สารป้องกันแมลงที่มีสารสกัดจากพืช หรือการปล่อยแมลงศัตรูธรรมชาติ เป็นต้น อาจช่วยลดปัญหาได้

การบำรุงรักษาต้นทับทิม:

ให้ความสำคัญกับการดูแลรักษาต้นทับทิมให้แข็งแรงดี ด้วยการให้น้ำ ปุ๋ย และการตัดแต่งที่เหมาะสม เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันของพืช
หากคุณไม่แน่ใจว่าปัญหาที่พบคืออะไรหรือไม่สามารถควบคุมได้ด้วยวิธีที่กล่าวถึง ควรพบคำปรึกษาจากนักวิชาการทางเกษตรหรือผู้เชี่ยวชาญด้านพืชเพื่อคำแนะนำที่แม่นยำและเหมาะสมสำหรับสถานการณ์ของคุณ

.
ไอกี้-บีที เป็นสารชีวินทรีย์ ป้องกัน กำจัด หนอน ในต้นทับทิม
ไอกี้-บีที สามารถป้องกันกำจัดหนอนต่างๆ ในพืชทุกชนิดได้เช่นกัน
.
สั่งซื้อ ไอกี้-บีที ได้ที่ ลาซาด้า คลิก http://ไปที่..link..
หรือ โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset
.
อ่าน:3475
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร: สร้างสวนมะกรูดที่รุ่งเรืองด้วยปุ๋ยที่มีประสิทธิภาพ โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ผลใหญ่ ดกเต็มต้น
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร: สร้างสวนมะกรูดที่รุ่งเรืองด้วยปุ๋ยที่มีประสิทธิภาพ โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ผลใหญ่ ดกเต็มต้น
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร: สร้างสวนมะกรูดที่รุ่งเรืองด้วยปุ๋ยที่มีประสิทธิภาพ โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ผลใหญ่ ดกเต็มต้น
การเลี้ยงมะกรูดเป็นงานที่ต้องใส่ใจและให้ความสำคัญกับการเลือกใช้ปุ๋ยที่เหมาะสมตามช่วงอายุของต้นมะกรูด ซึ่งปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตรจะเป็นเครื่องมือที่ช่วยเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของมะกรูดในทุกๆ ระยะการเจริญเติบโต ด้วยสูตรที่ถูกต้อง ตั้งแต่การเร่งการเจริญเติบโต การเจริญเติบโตของรากและการออกดอก จนถึงระยะขยายขนาดและผลผลิตที่มีน้ำหนักดี ดังนั้นเลือกใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตรเพื่อให้มะกรูดของคุณเติบโตแข็งแรง สวยงาม และมีคุณภาพดีที่สุด!

สูตรที่ 1: สูตร 30-20-5 (เร่งการเจริญเติบโต)
สูตรนี้เหมาะสำหรับมะกรูดที่อยู่ในช่วงอายุที่ต้องการการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ด้วยสัดส่วนที่มีส่วนผสมของไนโตรเจน (N) สูงที่สุด เพื่อส่งเสริมการเกิดใบใหม่และการเจริญเติบโตของต้นมะกรูดอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้มะกรูดโตไวและมีใบเขียวสดใส.

สูตรที่ 2: สูตรระยะ (เร่งการเจริญเติบโตของรากและการออกดอก)
สูตรนี้ถูกออกแบบมาเพื่อช่วยเสริมสร้างระบบรากที่แข็งแรงและการออกดอกของมะกรูด ด้วยส่วนผสมที่มีประสิทธิภาพเช่น ฟอสฟอรัส (P) และโปแตสเซียม (K) ที่ส่งเสริมการแตกต่างของรากและการพัฒนาดอกอย่างเต็มที่.

สูตรที่ 3: สูตรระยะขยายขนาด (ผลใหญ่ น้ำหนักดี)
ในช่วงระยะนี้ ต้นมะกรูดต้องการประสิทธิภาพที่ดีในการให้พลังงานและสารอาหารสำหรับการขยายขนาดและผลผลิตที่มีน้ำหนักดี ด้วยสูตรที่มีสัดส่วนที่เหมาะสมของไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโปแตสเซียม (K) มะกรูดของคุณจะมีขนาดใหญ่และน้ำหนักดีที่ทุกคนนับถือ.

คำแนะนำในการใช้
ให้ปุ๋ยเป็นระยะๆ ตามช่วงอายุของมะกรูด
ปรับสูตรตามความต้องการของต้นมะกรูด
ให้น้ำเพียงพอและตามความต้องการของต้น

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร ทำให้มะกรูดของคุณเติบโตแข็งแรง สวยงาม และมีคุณภาพดีที่สุด!

🌿ฉีดพ่นทางใบ อัตราผสม 25 กรัม(2ช้อนโต๊ะ) ต่อน้ำ 20 ลิตร

ถัง 16-20 ลิตร ใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 25 กรัม (2ช้อนโต๊ะ)
ถัง 200 ลิตร ใช้ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 250 กรัม (1ส่วน4ถุง)
.
🌳ปุ๋ยทางใบสูตรสูง 3สูตรหลัก ที่ใช้ได้กับทุกพืช
- เร่งโตเร่งต้นเร่งใบเร่งเขียว สูตร 30-20-5
- เร่งระบบราก เร่งดอก สูตร 10-40-10
- เพิ่มผลผลิต ขยายขนาดผล สูตร 15-5-30
.
∞ ผสมปุ๋ยทางใบเป็นสูตรต่างๆได้ตามต้องการ
» เราพัฒนาระบบคำนวณสูตรผสมปุ๋ยให้ใช้ฟรี
» ใช้ปุ๋ย 3สูตรหลักด้านบน ผสมได้หลากหลายสูตรสูง ใช้ได้กับทุกพืช
£ มีเอกสารแนบวิธีการผสมลงในกล่อง

ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 1 ถุง บรรจุ 1 กิโลกรัม ผสมน้ำได้ 800 ลิตร ใช้ได้ประมาณ 10 ไร่


📌สั่งซื้อ สอบถาม

»โทร 097-918-3530
»ไลน์ janemini1112

🔎ซื้อกับลาซาด้า ช้อปปี้
.
» ซื้อปุ๋ยสตาร์เฟอร์ ที่ช้อปปี้: http://ไปที่..link..
.
» ซื้อปุ๋ยสตาร์เฟอร์ ที่ลาซาด้า: http://ไปที่..link..
อ่าน:3475
การจัดการเพลี้ยในต้นลองกอง: วิธีป้องกันและควบคุมเพลี้ยในการเพาะปลูกลองกอง
การจัดการเพลี้ยในต้นลองกอง: วิธีป้องกันและควบคุมเพลี้ยในการเพาะปลูกลองกอง
การมีเพลี้ยในต้นลองกองอาจเป็นปัญหาที่ทำให้พืชเสียหาย ดังนั้นต้องดำเนินการควบคุมเพลี้ยเพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น.

วิธีที่สามารถใช้เพื่อควบคุมเพลี้ยในต้นลองกอง:

การใช้สารเคมี:

ใช้สารเคมีที่มีประสิทธิภาพต่อเพลี้ย เช่น ไดเมโทมีฟอส อีมาเมกติน คลอไรด์ไปริด ฟิโพรนิล หรือสารอื่น ๆ ที่แนะนำโดยผู้เชี่ยวชาญในด้านการจัดการแมลง.

การใช้ธรรมชาติ:

ใช้ศัตรูธรรมชาติ เช่น แตนเบีย การปล่อยพันธุ์พืชเพื่อควบคุมเพลี้ย หรือการใช้สารฯจากพืชบางชนิดที่มีฤทธิ์ต่อเพลี้ย เช่น สะเดา ข่า หรือตะไคร้.

การตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ:

ตรวจสอบต้นลองกองอย่างสม่ำเสมอเพื่อตระหนักต้นแรกของการระบาดของเพลี้ยและดำเนินการทำลายทันที.

การป้องกัน:
ควรทำการควบคุมเพลี้ยอย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการระบาดของเพลี้ยและรักษาต้นลองกองให้สมบูรณ์.

.
มาคา เป็นสารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัด เพลี้ยต่างๆ ในต้นลองกอง
มาคา สามารถป้องกันกำจัดเพลี้ยต่างๆ ในพืชทุกชนิดได้เช่นกัน
.
สั่งซื้อ มาคา ได้ที่ ลาซาด้า คลิก http://ไปที่..link..
หรือ โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset
.
อ่าน:3475
3562 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 2 รายการ
|-Page 97 of 357-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
เสริมสร้างการเจริญเติบโตด้วยปุ๋ยฉีดพ่นทางใบสำหรับแตงโม: สูตรที่สมบูรณ์เพื่อผลผลิตที่ยอดเยี่ยม
Update: 2566/11/16 12:38:42 - Views: 3398
ไบโอเทค สวทช. พัฒนา แบคทีรีโอฟาจ ทำลายเชื้อแบคทีเรียก่อโรคพืชในดิน
Update: 2564/08/12 22:03:27 - Views: 3408
กำจัดเชื้อรา ดอกมะลิ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/12 11:17:29 - Views: 3419
มะเขือเทศ โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ขยายขนาด ผลใหญ่ ผลดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/03/28 15:42:59 - Views: 3459
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนกระทู้ผัก ใน ผักคะน้า และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/15 10:49:22 - Views: 3431
ยารักษาโรคพืช กำจัดโรคดอกกระถิน ใน ต้นข้าว โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด(ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/05/31 16:00:24 - Views: 3452
ฉลากโภชนาการคืออะไร
Update: 2565/09/08 15:27:32 - Views: 3442
การป้องกันและกำจัดโรคใบไหม้และใบจุดในเมล่อนโดยใช้สารอินทรีย์ ไอเอส และ FK-1
Update: 2566/04/26 13:26:58 - Views: 3448
การจัดการหนอนผีเสื้อศัตรูพืช: วิธีแก้ปัญหาและป้องกันความเสียหายในสวนและแปลงปลูก
Update: 2566/11/16 14:22:42 - Views: 3575
ปุ๋ยบำรุงกาแฟ ปุ๋ยกาแฟ โตไว ระบบรากแข็งแรง ออกผลดก คุณภาพดี FK-1 มี N,P,K,Mg,Zn
Update: 2564/11/22 07:03:19 - Views: 3420
โรคราน้ำค้างในคะน้า: วิธีป้องกันและกำจัดโรคพืชจากเชื้อรา
Update: 2566/05/15 11:15:11 - Views: 3467
มะม่วง ใบไหม้ ใบจุด แอนแทรคโนส ขั้วผลเน่า ราดำ ราแป้ง โรคราต่างๆ กำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟูด้วย ปุ๋ย FK-T
Update: 2567/04/02 11:58:31 - Views: 3519
ปลูกองุ่น ระวังการระบาด ของโรคราน้ำค้าง
Update: 2564/08/10 05:02:02 - Views: 3512
การเพิ่มผลผลิตข้าวโพดให้สูงสุดด้วย ปุ๋ยอะมิโนเม็ดสกัด วันเด้อร์เขียว: ประโยชน์ของปุ๋ยเม็ดอะมิโน
Update: 2565/12/30 08:45:26 - Views: 3418
มะพร้าว ผลใหญ่ ผลดก ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์ 0-0-60 โพแทสเซี่ยม สูตรเร่งผล เพิ่มผลผลิต ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก และคุณภาพ
Update: 2567/04/27 13:42:12 - Views: 3519
ผู้ใหญ่ลี ตีกลองประชุม!! เป็นเพลงที่แต่งจากเรื่องจริง และมีภาพถ่ายผู้ใหญ่ลี ตัวเป็นๆให้ได้ดูกัน
Update: 2564/03/27 22:48:08 - Views: 3475
สมุนไพรที่ให้ประโยชน์ทางยา กระเทียม...
Update: 2565/11/19 14:02:15 - Views: 3401
ป้องกันกำจัด หนอนชอนใบมะนาว ด้วย ยาฉุน กับเหล้าขาว 40 ดีกรี
Update: 2564/08/16 23:00:04 - Views: 3489
FK ธรรมชาตินิยม อาหารเสริมพืชชั้นดี โตไว ใบงาม ผลผลิตดี ใช้ง่าย ผสมน้ำ ราดลงโคน หรือ ฉีดพ่นทางใบ
Update: 2565/10/21 12:43:50 - Views: 3420
มะพร้าวยอดแห้ง มะพร้าวใบไหม้ ใบเหลือง กำจัดโรคมะพร้าว จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/10 11:08:50 - Views: 3668
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022