[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3562 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 2 รายการ

การกำจัดข้าววัชพืช (ข้าวดีด ข้าวเด้ง อีดีด อีเด้ง)
การกำจัดข้าววัชพืช (ข้าวดีด ข้าวเด้ง อีดีด อีเด้ง)
ข้าววัชพืช ซึ่งเกิดจากการผสมข้ามระหว่างข้าวป่าที่พบทั่วไปในธรรมชาติกับข้าวปลูก และส่วนใหญ่มีลักษณะที่ชาวนาไม่ต้องการ อาทิ ข้าวปลายเมล็ดมีหาง เปลือกเมล็ดมีสีลายน้ำตาลแดง เยื่อหุ้มเมล็ดมีสีแดง เมล็ดสุกแก่เร็วและร่วงก่อนเก็บเกี่ยว

ข้าวพวกนี้มี 3 ชนิดครับ หรือที่ชาวนาเรียกว่า ข้าวหางหรือข้าวนก ข้าวดีดหรือข้าวเด้ง ข้าวแดงหรือข้าวลาย จะมีผลกระทบทำให้ปริมาณผลผลิตข้าวลดลง เนื่องจากเมล็ดข้าววัชพืชส่วนใหญ่ร่วงก่อนเก็บเกี่ยว และสะสมพักตัวอยู่ในนาเป็นเวลานาน 2-12 ปี เมล็ดจะทยอยงอกจึงทำให้ยากต่อการกำจัด นอกจากนี้ยังทำให้คุณภาพข้าวลดลงอีกเนื่องจากผลผลิตมีการปะปนของเมล็ดข้าววัชพืชที่มีเยื่อหุ้มสีแดงจึงทำให้ถูกตัดราคา

พอมีข้อมูลจากสำนักเกษตรจังหวัดหนองบัวลำภู มีวิธีแนะวิธีการกำจัดข้าววัชพืชเหล่านี้ เห็นแล้วน่าสนใจครับ เพราะเป็นเรื่องที่ไม่ยุ่งยากเลยที่เกษตรกรจะนำไปใช้ประโยชน์ในนาข้าวของท่าน เพราะวิธีไม่ซับซ้อนครับมีขั้นตอนดังนี้ดังนี้

1. ให้เกษตรกรพักดินล่อให้ข้าววัชพืชงอกแล้วไถกลบ 1-2 ครั้ง

2. ใช้เป็ดไล่ทุ่งลงไปกินเมล็ดข้าววัชพืชที่อยู่ในนา

3. เกษตรกรต้องเลือกใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวที่ไม่มีข้าววัชพืชปะปน หรือซื้อเมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่เชื่อถือได้

4. ให้ทำความสะอาดรถไถนา เพราะอาจมีเมล็ดข้าวปนจากแปลงอื่นมากับรถเหล่านี้ได้

5. เปลี่ยนวิธีการปลูกข้าวเป็นการปักดำ ด้วยเครื่องแทนการหว่านเมล็ดข้าว

6. หากพบต้นข้าววัชพืชให้ถอนออกทันที หากต้นข้าววัชพืชสูงกว่าข้าวปลูก ลำต้นและใบมีสีอ่อนกว่าข้าวปลูกให้ถอนต้นทิ้งนอกแปลงทันทีเช่นกัน

7. กรณีข้าววัชพืชออกดอกก่อนข้าวปลูก ให้ชิดโคนต้นเพื่อป้องกันการแตกต้นใหม่ แล้วนำไปทิ้งนอกแปลง

8. กรณีข้าววัชพืชออกดอกก่อนข้าวปลูก และต้นสูงกว่าข้าวปลูก ให้ใช้ปุ๋ยยูเรีย พ่นยูเรีย อัตรา 3 กก. ต่อน้ำ 20 ลิตร โดยพ่นให้ละอองของสารสัมผัสรวงข้าววัชพืชให้มากที่สุด จะทำให้เมล็ดข้าววัชพืชลีบลงได้

9. ต้องทำความสะอาดรถเกี่ยวข้าวก่อนลงแปลงเพื่อป้องกันเมล็ดข้าววัชพืชที่อยู่ในตะแกรงของรถร่วงลงในนา

10. ทางที่ดีที่สุด ถือเป็นวิธีที่ได้ผลดีที่สุดคือ งดปลูกข้าว 1 ฤดูกาล เพื่อล่อให้เมล็ดข้าววัชพืชงอกแล้วไถทิ้งและปลูกพืชหมุนเวียน

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ชุดย่อยสลายฟางข้าว ชุดย่อยสลายตอฟาง ย่อยสลายใน 7วัน ไม่ต้องเผา

ลดข้าวดีดมากกว่า 70% รวดเร็วในการย่อยสลายตอซังฟางข้าว ภายใน 5-7 วัน โดยไม่ต้องเผา ปรับสภาพดินในนาข้าว สามารถไถพรวนได้ง่าย เพิ่มจุลธาตุอาหารให้แก่นาข้าวหลังการเก็บเกี่ยว สามารถลดปัญหาข้าวดีด และข้าววัชพืชอื่น ๆ ในนาข้าวได้

#ย่อยสลายฟางข้าว #ย่อยสลายตอฟาง #ย่อยสลายตอซัง

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อ ชุดย่อยสลายตอซังฟางข้าว กับ Lazada : http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อ ชุดย่อยสลายตอซังฟางข้าว กับ Shopee : http://www.farmkaset..link..
ถั่วเขียวระวัง หนอนแมลงวันเจาะลำต้นถั่ว หนอนกระทู้ผัก หนอนม้วนใบ
ถั่วเขียวระวัง หนอนแมลงวันเจาะลำต้นถั่ว หนอนกระทู้ผัก หนอนม้วนใบ
ถั่วเขียวระวัง หนอนแมลงวันเจาะลำต้นถั่ว หนอนกระทู้ผัก หนอนม้วนใบ
หนอนแมลงวันเจาะลำต้นถั่ว ตัวหนอนเมื่อฟักออกมาจากไข่ชอนไชตามเส้นใบไปที่ก้านใบ เพื่อเข้าไปกัดกินเนื้อเยื่อของลำต้นบริเวณไส้กลางลำต้น ส่งผลทำให้ผลผลิตถั่วเขียวลดลงมากกว่า 50%

หนอนกระทู้ผัก หนอนที่ฟักออกมาจากไข่ใหม่ๆ อยู่รวมกันเป็นกลุ่มแทะผิวใบด้านล่าง กัดกินจากขอบใบเข้าไป ทำให้เหลือแต่ผิวใบด้านบนจนมองเห็นใบโปร่งใสคล้ายร่างแห เมื่อโตขึ้นจะแยกกลุ่มออกไปกัดกินใบทั่วทั้งแปลง ส่งผลทำให้ผลผลิตถั่วเขียวลดลง

ส่วน หนอนม้วนใบ หนอนที่ฟักออกจากไข่ใหม่ๆ อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม และชักใยบางคลุมตัวไว้แล้วกัดกินผิวใบ เมื่อโตขึ้นจะกระจายกันออกไปชักใยดึงเอาใบมาห่อรวมกัน อาศัยกัดกินอยู่ภายในใบที่ม้วนจนหมด จะเคลื่อนย้ายไปทำลายใบอื่นต่อไป

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
โรคเชื้อราในฟักทอง คู่มือป้องกันและกำจัดโรคฟักทอง
โรคเชื้อราในฟักทอง คู่มือป้องกันและกำจัดโรคฟักทอง
ฟักทองเป็นพืชยอดนิยมและมีคุณค่าทางโภชนาการที่อ่อนแอต่อโรคเชื้อราต่างๆ โรคเหล่านี้อาจทำให้ผลผลิตลดลงอย่างมาก ลดคุณภาพของผลไม้ และส่งผลต่อสุขภาพโดยรวมของพืช

โรคเชื้อราที่พบบ่อยในฟักทอง
โรคเชื้อราที่ส่งผลต่อฟักทองสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ โรคทางใบและผลเน่า โรคทางใบที่พบบ่อย ได้แก่ โรคราแป้ง โรคราน้ำค้าง และโรคแอนแทรคโนส โรคราแป้งปรากฏเป็นแป้งสีขาวหรือสีเทาเติบโตบนใบ ลำต้น และผลของต้นฟักทอง โรคราน้ำค้างทำให้ใบเหลืองและอาจทำให้ใบร่วงได้ โรคแอนแทรคโนสมีลักษณะเป็นแผลสีน้ำตาลชุ่มน้ำบนใบและผล ซึ่งสามารถเน่าและยุบได้ในที่สุด

ผลไม้เน่าเกิดจากเชื้อราที่ติดเชื้อในผลฟักทองโดยตรง เหล่านี้รวมถึงราสีเทา โรคเน่าดำ และเชื้อราไฟทอฟธอร่า ราสีเทาปรากฏบนผิวของผลไม้เป็นสีเทาจางๆ ในขณะที่ราสีดำทำให้เกิดรอยโรคที่ยุบตัวกลายเป็นสีดำและแห้ง Phytophthora fruit rot ทำให้เกิดการเน่าเปื่อยแบบน้ำที่สามารถนำไปสู่การสลายตัวของผลไม้ได้

การป้องกันโรคเชื้อราในฟักทอง
วิธีป้องกันโรคเชื้อราในฟักทองที่ดีที่สุดคือการปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมที่ดี ซึ่งรวมถึงการปลูกพันธุ์ที่ต้านทานโรค ระยะห่างของต้นไม้อย่างเพียงพอเพื่อส่งเสริมการไหลเวียนของอากาศที่ดี และหลีกเลี่ยงการรดน้ำเหนือศีรษะ สิ่งสำคัญคือต้องกำจัดและทำลายเศษพืชที่ติดเชื้อทันที และทำให้สวนสะอาดและปราศจากวัชพืช

การรักษาโรคเชื้อราด้วย IS และ FK-1
IS เป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดเชื้อราสาเหตุโรคในพืช เมื่อผสมน้ำแล้ว (50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร) ฉีดพ่นทางใบได้โดยตรงเพื่อป้องกันและรักษาโรคเชื้อรา IS ไม่เป็นพิษ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และปลอดภัยสำหรับใช้กับพืชที่กินได้ เช่น ฟักทอง

FK-1 เป็นสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชที่มีสารอาหารที่จำเป็น เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม และสังกะสี สารอาหารเหล่านี้ช่วยให้พืชเติบโตแข็งแรงและแข็งแรง ซึ่งทำให้ต้านทานโรคเชื้อราได้ดีขึ้น เมื่อผสมกับน้ำ (50 กรัมของถุงแรกและ 50 กรัมของถุงที่สองในน้ำ 20 ลิตร) สามารถใช้เป็นสเปรย์ทางใบเพื่อบำรุงและปกป้องต้นฟักทองได้

บทสรุป
โรคเชื้อราเป็นภัยคุกคามที่สำคัญต่อต้นฟักทอง แต่สามารถป้องกันและรักษาได้ด้วยการใช้ IS และ FK-1 ด้วยการปฏิบัติตามแนวทางปฏิบัติทางวัฒนธรรมที่ดีและใช้สารอินทรีย์เหล่านี้ ผู้ปลูกฟักทองสามารถปกป้องพืชผลของตนและเพลิดเพลินกับการเก็บเกี่ยวฟักทองที่ดีต่อสุขภาพและอร่อยมากมาย
อ่าน:3641
มันสำปะหลังผลผลิตต่ำ! เพราะขาดธาตุ สังกะสี เพราะเกี่ยวข้องกับการสร้าง คลอโรฟิลล์ สังเคราะห์โปรตีน ส่งเสริมการใช้ฟอสฟอรัส และไนโตรเจน ฯลฯ
มันสำปะหลังผลผลิตต่ำ! เพราะขาดธาตุ สังกะสี เพราะเกี่ยวข้องกับการสร้าง คลอโรฟิลล์ สังเคราะห์โปรตีน ส่งเสริมการใช้ฟอสฟอรัส และไนโตรเจน ฯลฯ
มันสำปะหลังผลผลิตต่ำ! เพราะขาดธาตุ สังกะสี เพราะเกี่ยวข้องกับการสร้าง คลอโรฟิลล์ สังเคราะห์โปรตีน ส่งเสริมการใช้ฟอสฟอรัส และไนโตรเจน ฯลฯ
ปัญหาผลผลิตมันสำปะหลังต่ำ เนื่องจากขาดจุลธาตุสังกะสี

ธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช มีอยู่ 16 ธาตุ แต่มีเพียง 7 ธาตุ เท่านั้นที่พืชต้องการใช้ในปริมาณน้อยมาก และเราเรียกธาตุเหล่านี้ว่า จุลธาตุ (Micronutrient) ได้แก่ เหล็ก (Fe) แมงกานีส (Mn) สังกะสี (Zn) ทองแดง (Cu) โบรอน (B) โมลิดินัม (Mo) คลอรีน (Cl) แม้ว่าพืชต้องการธาตุเหล่านี้น้อย แต่ก็มีความจำเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขาดสังกะสีในมันสำปะหลัง ซึ่งในปัจจุบันเป็นปัญหาของเกษตรกรจำนวนมาก

ความสำคัญของธาตุสังกะสี

เป็นส่วนประกอบที่จำเป็นของเอนไซม์หลายชนิด รวมทั้งออกซิเจนและฮอร์โมนในพืช เกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างกรดอินโดลอะเซติก (LAA) เป็นธาตุที่จำเป็นต่อการสร้างคลอโรฟิลล์ และการสร้างเมล็ดพืช ตลอดจนมีบทบาทในการสังเคราะห์โปรตีน ช่วยส่งเสริมการใช้ประโยชน์ของธาตุฟอสฟอรัสและไนโตรเจนในพืช

ลักษณะอาการขาดธาตุสังกะสีในมันสำปะหลัง

พบเห็นโดยทั่วไปในดินด่าง จะมีลักษณะการยืดต้นช้า พบจุดหรือแถบสีขาว หรือเหลือง บนใบอ่อน ใบอาจย่นหรือเปลี่ยนรูปร่าง อาจพบจุดแผลเซลล์ตายในใบล่างและอาจรุนแรงทำให้ต้นตาย ส่งผลถึงความอยู่รอดและผลผลิตมันสำปะหลัง

สาเหตุ

- พื้นที่มีการชะล้างพังทลายของหน้าดิน ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ

- ปลูกมันสำปะหลังในที่เดิมเป็นเวลานาน ไม่มีการปลูกพืชหมุนเวียน

- ดินมีความเป็นด่างสูง (pH สูง) หรือดินที่มีแคลเซียม (Ca) สูง

- เกษตรกรใส่ปุ๋ยธาตุอาหารหลักอย่างเดียว


ข้อแนะนำ

1. ชุบท่อนพันธุ์ด้วยปุ๋ยสังกะสี (ซิงค์ ซัลเฟต) ละลายน้ำในอัตรา 0.4 กก. ต่อน้ำ 20 ลิตร เป็นเวลา 15 นาทีก่อนปลูก

2. ปุ๋ยสังกะสี (ซิงค์ ซัลเฟต) ละลายน้ำอัตรา 0.8 กก. ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบที่อายุ 1_2 และ 3 เดือนหลังปลูก หรือเมื่อต้นมันสำปะหลังแสดงอาการขาดธาตุสังกะสี

อ้างอิง
มูลนิธิสถาบัน พัฒนามันสำปะหลัง แห่งประเทศไทย
kubotasolutions.com/ knowledge/cassava/detail/348

สินค้าแนะนำจากฟาร์มเกษตร

กู๊ดโซค น้ำยาแช่ท่อนพันธุมันสำปะหลัง เร่งราก ป้องกันโรค สะสมอาหารไว้ในท่อนพันธุ์ เพื่อใช้ในระยะงอก อัตราส่วนการใช้ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ใช้ จุ่มท่อนพันธุ์มันสำปะหลังก่อนปลูก

FK-1 (มีธาตุ สังกะสีและอื่นๆ) ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
ยาฉีดแตงกวา สำหรับป้องกันและกำจัด โรคแตงกวา และแมลงศัตรูพืชแตงกวา
ยาฉีดแตงกวา สำหรับป้องกันและกำจัด โรคแตงกวา และแมลงศัตรูพืชแตงกวา
ยาฉีดแตงกวา สำหรับป้องกันและกำจัด โรคแตงกวา และแมลงศัตรูพืชแตงกวา
โรคของแตงกวา โรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ยกตัวอย่างเช่น แตงกวาใบด่าง แตงกวายางไหล ต้นแตก แตงกวาผลเน่า แตงกวาผลเหี่ยว ราแป้งในแตงกวา ราน้ำค้างแตงกวา อาการต่างๆเหล่านี้ ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา

ส่วนพวกแมลงศัตรูแตงกวา อย่าง เพลี้ยไฟในแตงกวา เพลี้ยอ่อน ใช้ มาคา สารอัลคาลอยด์ สกัดจากพืช กำจัดเพลี้ย

หากมีหนอนต่างๆ ใช้ ไอกี้ สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอน

หนอนมาใช้ ไอกี้_ เจ้าเพลี้ยตัวดีใช้ มาคา_ หากเจอโรคใบไหม้โรคเชื้อราใช้ ไอเอส_ ใจร้อนอยากให้พืชฟื้นตัวเร็วใช้ FK-1 เร่งฟื้นตัว เร่งเขียว เร่งโตนะคะ

ทั้งหมดนี้ ใช้ได้กับทุกพืชค่ะ

ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

ไอกี้ กำจัดหนอน 490 บาท บรรจุ 500กรัม_ ไอกี้ เป็นสารชีวินทรีย์ แบคทีเรียแกรมบวก ใช้กำจัดหนอนทุกชนิดโดยเฉพาะ

มาคา กำจัดเพลี้ย 470 บาท บรรจุ 1 ลิตร_ มาคา เป็นสารอินทรีย์สกัดจากพืช

ไอเอส กำจัดโรคใบไหม้ โรคเชื้อรา 450 บาท บรรจุ 1 ลิตร_ ไอเอส เป็นสารอินทรีย์ ทำงานแบบ อีออนคอนโทรลในการกำจัดโรคราต่างๆ

FK-1 ใช้เร่งฟื้นตัว เร่งโตแตกยอดแตกใบใหม่ ราคา 890 บาท บรรจุ 2 กิโลกรัม_ FK-1 เป็นธาตุหลัก N-P-K บวกธาตุรองธาตุเสริม สารจับใบ (ปุ๋ยเคมี ธาตุ N-P-K ไม่ได้อันตรายเหมือนสารเคมีหรือยาเคมี แต่ สำหรับคนที่กังวล ไม่ต้องซื้อตัวนี้ค่ะ ตัดออกไปเลย)

การสั่งซื้อ
ทักแชทได้เลยค่ะ..
หรือ ไลน์ไอดี PrimPB
หรือ โทร 090-592-8614
ผักบุ้งทะเล แก้แผลเรื้อรัง แก้พิษฝีบวม แก้งูสวัด ถอนพิษ จากแมลงกัดต่อย พิษสัตว์ทะเล แมงกระพรุน
ผักบุ้งทะเล แก้แผลเรื้อรัง แก้พิษฝีบวม แก้งูสวัด ถอนพิษ จากแมลงกัดต่อย พิษสัตว์ทะเล แมงกระพรุน
ผักบุ้งทะเล แก้แผลเรื้อรัง แก้พิษฝีบวม แก้งูสวัด ถอนพิษ จากแมลงกัดต่อย พิษสัตว์ทะเล แมงกระพรุน
ผักบุ้งทะเล ชื่อสามัญ Goat’s foot creeper_ Beach morning glory

ผักบุ้งทะเล ชื่อวิทยาศาสตร์ Ipomoea pes-caprae (L.) R. Br.(ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ Convolvulus pes-caprae L._ Ipomoea biloba Forssk.) จัดอยู่ในวงศ์ผักบุ้ง (CONVOLVULACEAE)

สมุนไพรผักบุ้งทะเล มีชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ว่า ผักบุ้งต้น ผักบุ้งขน (ไทย)_ ผักบุ้งเล (ภาคใต้)_ ละบูเลาห์ (มะลายู-นราธิวาส)_ หม่าอานเถิง (จีนกลาง) เป็นต้น

ลักษณะของผักบุ้งทะเล
ต้นผักบุ้งทะเล จัดเป็นพรรณไม้ล้มลุกมีอายุหลายปี มีลำต้นทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน สามารถเลื้อยไปได้ยาวมาก ประมาณ 5-30 เมตร ลักษณะของลำต้นหรือเถากลมเป็นสีเขียวปนแดงหรือเป็นสีแดงอมม่วง ผิวเกลี้ยงลื่น ตามข้อจะมีรากฝอย ภายในกลวง ทั้งต้นและใบมียางสีขาว ขยายพันธุ์โดยใช้เมล็ดและตัดลำต้นปักชำ เป็นพรรณไม้กลางแจ้ง ทนต่อความแห้งแล้งได้ดี มักขึ้นตามหาดทรายหรือริมทะเล
ใบผักบุ้งทะเล ใบเป็นใบเดี่ยวออกเรียงสลับ ลักษณะของใบเป็นรูปกลม รูปไข่ รูปไต หรือรูปเกือกม้า ปลายใบเว้าบุ๋มเข้าหากัน โคนใบสอบแคบเป็นรูปหัวใจ ส่วนขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 7-11 เซนติเมตรและยาวประมาณ 5-8 เซนติเมตร เส้นใบเป็นแบบขนนก เนื้อใบค่อนข้างหนา ผิวใบมันเป็นสีเขียว หลังใบและท้องใบเรียบ ก้านใบยาวมีสีแดง
ดอกผักบุ้งทะเล ออกดอกเป็นช่อแบบซี่ร่มตามง่ามใบ ในช่อดอกจะมีดอกประมาณ 2-6 ดอก และจะทยอยบานทีละดอก ลักษณะของดอกเป็นรูปปากแตร โคนกลีบดอกเชื่อมติดกัน ส่วนปลายดอกบานเป็นรูปปากแตร มี 5 กลีบ ลักษณะของกลีบดอกกลมรี แตกออกเป็นแฉก 5 แฉก มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 เซนติเมตร ดอกมีเกสรเพศผู้ 5 ก้าน ดอกเป็นสีม่วงอมชมพู สีม่วงอมแดง สีชมพู หรือเป็นสีม่วง ผิวเกลี้ยง ด้านในของดอกส่วนโคนจะมีสีเข้มกว่าด้านนอก ส่วนกลีบดอกเลี้ยงเป็นสีเขียว และดอกจะเหี่ยวง่าย
ต้นช่วยทำให้เจริญอาหาร (ต้น)
ทั้งต้นมีรสเผ็ด ขม เค็ม เป็นยาเย็นเล็กน้อย ออกฤทธิ์ต่อม้ามและตับ ใช้เป็นยาขับลม ขับน้ำชื้น (ทั้งต้น)
ช่วยแก้หวัดเย็น (ทั้งต้น)
ช่วยแก้อาการปวดฟัน (ราก)
ใช้แก้อาการจุกเสียด (ใบ)
เมล็ดมีรสขื่น ใช้เป็นยาแก้ปวดท้อง (เมล็ด)
รากใช้เป็นยาแก้โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (ราก)
เมล็ดใช้เป็นยาถ่าย ยาระบาย (เมล็ด)
รากเป็นยาขับปัสสาวะ ขับปัสสาวะในโรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบ (ราก)
ใบใช้เข้ากับสมุนไพรอื่น นำมาต้มเอาไอรมรักษาริดสีดวงทวาร (ใบ)ผลผักบุ้งทะเล ลักษณะของเป็นรูปมนรีหรือรูปไข่มีเหลี่ยมคล้ายแคปซูล ผิวผลเรียบ พอผลแห้งจะแตกออกได้ มีความยาวประมาณ 2 เซนติเมตร ภายในมีเมล็ดลักษณะกลม เป็นสีเหลือง มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6 มิลลิเมตร มีขนสีน้ำตาลปกคลุม

สรรพคุณของผักบุ้งทะเล

1. ใบใช้เป็นยาทาภายนอก แก้แผลเรื้อรัง หรือนำไปต้มกับน้ำใช้ล้างแผล (ใบ) น้ำคั้นจากใบนำมาต้มกับน้ำมะพร้าว ทำเป็นขี้ผึ้งทาแผลได้ชนิดรวมทั้งแผลเรื้อรัง (ใบ)

2. ทั้งต้นช่วยกระจายพิษ แก้พิษฝีบวม ฝีหนองบวมแดงอักเสบ แก้งูสวัด (ทั้งต้น)[4] ส่วนใบนำมาโขลก พอก ถอนพิษ แก้พิษต่าง ๆ เช่น พิษจากแมลงสัตว์กัดต่อย เช่น ปลา สัตว์ทะเลอื่น ๆ แมลง เป็นต้น (ใบ)

3. ต้นใช้เป็นยาถอนพิษลมเพลมพัดหรืออาการบวมที่เปลี่ยนไปตามอวัยวะทั่วไป (ต้น_ ทั้งต้น)

4. ใช้เป็นยาทาแก้อาการอักเสบ แก้พิษจากแมงกะพรุนไฟ ทำให้แผลหายเร็วและไม่เป็นแผลเป็น ตามตำรายาระบุให้ใช้ต้นสดนำมาตำให้พอแหลกผสมกับน้ำส้มสายชู นำมาใช้ทาบริเวณที่เป็น ส่วนตำรายาไทยระบุให้ใช้ใบสดประมาณ 10-15 ใบ นำมาตำให้ละเอียด คั้นเอาแต่น้ำทาแผลบริเวณที่ถูกแมงกะพรุน หรือจะตำกับเหล้าใช้เป็นยาพอกก็ได้ หรืออาจจะใช้รากสด 1 ราก นำมาฝนกับน้ำฝนให้ข้น ๆ ผสมกับเหล้าโรงหรือแอลกอฮอล์ แล้วใช้ทาบ่อย ๆ หรือจะใช้ทั้งต้นนำมาตำให้ละเอียด คั้นเอาแต่น้ำหรือนำมาตำผสมกับเหล้าใช้เป็นยาทาหรือพอกก็ได้เช่นกัน (ก่อนทายาให้ใช้ทรายขัดบริเวณที่โดนพิษแมงกะพรุนเพื่อเอาเมือกของแมงกะพรุนออกไปให้หมดก่อนและให้ทาวันละ 2-3 ครั้ง เช้า กลางวัน และเย็น จนกว่าจะหาย) (ต้น_ ราก_ ใบ_ ทั้งต้น)

5. ใบใช้เป็นยาพอกหรือต้มอาบรักษาโรคผิวหนัง (ใบ)

6. ต้นนำมาต้มกับน้ำอาบแก้อาการคันตามผิวหนัง (ต้น_ ทั้งต้น) ส่วนรากใช้เป็นยาแก้ผดผื่นคันมีน้ำเหลือง (ราก)

7. ใช้แก้ผดผื่นคันบริเวณหลังเนื่องจากการกดทับ ตามตำรายาระบุให้ใช้ใบสดนำมาตำให้แหลก คั้นเอาแต่น้ำ ใช้ทาบริเวณที่เป็น (ใบ)

8. ตำรายาแก้ฝีหนองภายนอกระบุให้ใช้ต้นสดนำมาตำให้พอแหลก ผสมกับน้ำตาลทรายแดงหรือน้ำผึ้ง แล้วนำมาพอกบริเวณที่เป็น (ต้น)

9. เมล็ดใช้เป็นยาแก้ตะคริว ป้องกันตะคริว (เมล็ด)

10. ใบมีรสขื่นเย็น ใช้ภายนอกเป็นยาทาแก้โรคไขข้ออักเสบ แก้ปวดไขข้ออักเสบมีหนอง (ใบ)

11. ช่วยแก้ลมชื้นปวดเมื่อยตามข้อ แก้เหน็บชา (ทั้งต้น)

12. ช่วยแก้โรคเท้าช้าง (ราก)



ขอบคุณข้อมูลจาก: https://medthai.com/
อ่าน:3640
โรคไวรัสมะละกอ
โรคไวรัสมะละกอ
โรคไวรัสมะละกอ ไม่มียารักษาโดยตรง ป้องกันได้โดยการกำจัดเพลี้ย ซึ่งเป็นแมลงพาหะ

การป้องกันโรคไวรัสมะละกอที่ดี เกษตรกรควรหมั่นตรวจแปลง ทำความสะอาด กำจัดวัชพืชในแปลงและบริเวณรอบๆแปลงปลูก

หากพบต้นมะละกอ ที่เป็นโรคไวรัสมะละกอ รีบขุดถอน และเผาทำลายนอกแปลงทันที และหมั่นทำความสะอาดอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้สัมผัสต้นมะละกอที่เป็นโรค ก่อนนำมาใช้อีกครั้งหนึ่ง

สำหรับพื้นที่ ที่มีการระบาดของโรคไวรัสมะละกอ หากเป็นไปได้ ให้หลีกเลี่ยงการปลูกพืชอาศัยของสาเหตุโรค เช่น พืชตระกูลแตง มะเขือเทศ ตำลึง และพืชตระกูลถั่วเป็นต้น ควรหาพืชอื่นๆมาปลูกหมุนเวียนแทน

เนื่องจากโรคไวรัสมะกอ ไม่มียารักษาโดยตรง เราป้องกันได้โดยการ ป้องกันกำจัดพาหะนำโรค อันได้แก่ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยอ่อนฝ้าย และเพลี้ยต่างๆ โดยการฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ป้องกันและกำจัด เพลี้ย แมลงศัตรูพืชจำพวกปากดูด ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุกๆ 3-7 วัน หมั่นสังเกตุ เมื่อเห็นว่าจำนวนเพลี้ยลดลงแล้ว เว้นระยะการฉีดพ่น เป็นระยะป้องกัน ทุก 15-30 วัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่า บริเวณแปลงรอบข้าง หรือในหมู่บ้านตำบล มีการระบาดของเพลี้ยหรือไม่

ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ มาคา เพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูของพืช จากโรคและแมลง ทำให้เจริญเติบโตดี และสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
อ่าน:3640
ระวังโรคไหม้และขอบใบแห้งของข้าว
ระวังโรคไหม้และขอบใบแห้งของข้าว
เนื่องจากเกษตรกรปลูกข้าวโดยใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ และใส่ปุ๋ยไนโตรเจนที่มากเกินไป ประกอบกับความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศสูงซึ่งสภาพดังกล่าวเหมาะกับการระบาดของโรคไหม้ข้าวที่เกิดจากเชื้อรา และโรคขอบใบแห้ง สร้างความเสียหายให้แก่ข้าว

นายชัด ขำเอี่ยม เกษตรอำเภอหันคา กล่าวว่า พื้นที่อำเภอหันคา มีพื้นที่ปลูกข้าวทั้งสิ้นจำนวน 198_130 ไร่ แต่พบกับปัญหาภัยแล้งส่งผลให้เกษตรกรทำนาล่าช้ากว่าเดิม ซึ่งขณะนี้ส่วนใหญ่ข้าวอยู่ระยะแตกกอ มีเพียงบางส่วนที่อยู่ในระยะตั้งท้องและออกรวง รวมพื้นที่ยืนต้น จำนวน 105_000 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 53 ของพื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมด จากการออกสำรวจพบว่า พื้นที่ปลูกข้าวบางส่วนของเกษตรที่ปลูกข้าวพันธุ์ กข41 ซึ่งเป็นพันธุ์ที่อ่อนแอต่อโรคขอบใบแห้ง หากเกษตรกรพบต้นข้าวได้รับเชื้อราเข้าทำลายจะแสดงอาการตามระยะการเจริญเติบโต ดังนี้

โรคไหม้ข้าว ซึ่งเกิดจากเชื้อรา พบที่ใบจะเป็นแผลจุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา สีเทาอยู่ตรงกลางแผลขนาดแตกต่างกันไป จุดแผลนี้สามารถขยายแผลลุกลามจนแผลติดกัน กระจายทั่วไปในกรณีที่โรครุนแรง กล้าข้าวจะแห้งและฟุบตายทั้งกอ อาการคล้ายถูกไฟไหม้ การป้องกันกำจัด โดยใช้พันธุ์ต้านทาน เช่น สุพรรณบุรี1 คลองหลวง1 ในส่วนของ โรคขอบใบแห้ง ซึ่งเกิดจากเชื้อ แบคทีเรีย โรคนี้เป็นได้ตั้งแต่ระยะกล้า แตกกอ จนถึง ออกรวง ต้นกล้าก่อนนำไปปักดำจะมีจุดเล็กๆ ลักษณะช้ำที่ขอบใบของใบล่าง ต่อมาประมาณ 7-10 วัน จุดช้ำนี้จะขยายกลายเป็นทางสีเหลืองยาวตามใบข้าว ใบที่เป็นโรคจะแห้งเร็ว และสีเขียวจะจางลงเป็นสีเทาๆ ที่แผลมีหยดน้ำสีครีมคล้ายยางสนกลม ๆ ขนาดเล็กเท่าหัวเข็มหมุด ต่อมาจะกลายเป็นสีน้ำตาลและหลุดไปตามน้ำหรือฝน ซึ่งจะทำให้โรคสามารถระบาดต่อไปได้ ขอบแผลมีลักษณะเป็นขอบลายหยัก แผลนี้เมื่อนานไปจะเปลี่ยนเป็นสีเทา ใบที่เป็นโรค ขอบใบจะแห้งและม้วนตามความยาว

การแพร่ระบาด เชื้อสาเหตุโรคสามารถแพร่ไปกับน้ำ ในสภาพแวดล้อมที่มีความชื้นสูง และสภาพที่มีฝนตก ลมพัดแรง จะช่วยให้โรคแพร่ระบาดอย่างกว้างขวางรวดเร็ว การป้องกันกำจัดใช้พันธุ์ข้าวที่ต้านทาน เช่น พันธุ์สุพรรณบุรี 60 สุพรรณบุรี 90 สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 2 กข7 และ กข23

ทั้งนี้ ขอให้เกษตรกร หมั่นตรวจสอบแปลงข้าวเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ ระยะนี้พบว่าหลายแปลงที่พบทั้ง 2 โรค เกษตรกรสามารถใช้สารเคมีที่มีองค์ประกอบสารเคมีที่สามารถกำจัดได้ทั้งเชื้อรา และแบคทีเรีย เช่น ไอโซโพรไทโอเลน(ฟูจิ-วัน) อีกทั้งควร ป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมผสาน คือ การใช้เมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพ อัตราที่เหมาะสม ประมาณ 15 กิโลกรัมต่อไร่ ใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน (ถูกสูตร ถูกอัตรา ถูกวิธี และถูกระยะเวลา) รวมทั้งใช้สารสมุนไพรและสารชีวภัณฑ์ เพื่อลดต้นทุนการผลิต ปรึกษาสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่สำนักงานเกษตรอำเภอ หรือสำนักงานเกษตรจังหวัดใกล้บ้านท่าน

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา รายละเอียดด่านล่างนะคะ
มะลิใบจุด โรคแอนแทรคโนสมะลิ มะลิใบแห้ง มะลิใบไหม้ มะลิใบเหลือง โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
มะลิใบจุด โรคแอนแทรคโนสมะลิ มะลิใบแห้ง มะลิใบไหม้ มะลิใบเหลือง โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
โรคแอนแทรคโนสมะลิ มีสาเหตุจากเชื้อรา อาการจะมีจุดสีน้ำตาลอ่อนบนใบ และลุกลามเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ขอบของแผลที่เป็นวง จะแห้ง กรอบ แผลจะขยายใหญ่ขึ้น จนทำให้ใบแห้ง

การระบาดของโรค เชื้อราจะปลิวไปกับลม และฝน การรักษา จึงต้องฉีดพ่นสารอินทรีย์สำหรับ ป้องกัน กำจัด ให้ครอบคลุมบริเวณ

โรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ยกตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น อาการ ใบไหม้ ใบจุด ใบขีดสีน้ำต้าง โรคใบติด ราสนิม ราน้ำค้าง โรคกุ้งแห้ง แอนแทรคโนส ไฟท็อปโธร่า เป็นต้น

ทั้งอาการใบไหม้ และใบเหลือง เกิดได้จากหลายสาเหตุ อาจเกิดได้จากโรค และการขาดธาตุอาหารพืชที่จำเป็น รวมถึงการให้น้ำ และการได้รับแสงแดด ซึ่งการพิจารณาสาเหตุนั้น ต้องสังเกตุอาการ และแก้ปัญหาทีละจุด

ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืชต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

FKธรรมชาตินิยม แก้ปัญหาโรคพืช ที่เกิดจากการขาดธาตุอาหารพืชต่างๆ และส่งเสริมการเจริญเติบโต ตลอดไปถึง การส่งเสริมผลผลิตพืช

ยกตัวอย่างเช่น

อาการใบไหม้ และอาการต่างๆ ที่เกิดจากโรคเชื้อรา
- โรคใบไหม้ โรคใบจุด และโรคใบขีดสีน้ำตาล จะต่างจากการขาดธาตุที่สังเกตุได้คือ โรคที่มีสาเหตุจากเชื้อรา จะลุกลามไปยังใบไหม้ และลุกลามขยายวงไปยังต้นข้างเคียง
- โรคราแป้ง ราสนิม ราน้ำค้าง มีการลุกลามติดต่อเช่นกัน

อาการใบไหม้ และอาการต่างๆ ที่เกิดจากการขาดธาตุ
- ขาด โพแทสเซียม ที่ใบแก่จะเหลืองซีด ขอบใบมีจุดสีน้ำตาลไหม้
- ขาด แมกนีเซียม ใบจะมีจุดเหลืองทั่วทั้งใบ ที่ปลายใบจะแห้ง
- ขาด สังกะสี ใบจะมีจุดเหลืองคล้ายราสนิม

อาการใบเหลือง ใบซีด ก็เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น
- ใบเหลือง จากการขาดธาตุ ไนโตรเจน
- ใบเหลือง เพราะได้รับแสงไม่เพียงพอ
- ใบเหลือง เพราะรดน้ำมาก หรือน้อยจนเกินไป
- ใบเหลือง เพราะค่า pH หรือความเป็นกรดด่างของดิน ไม่เหมาะสม
- ใบเหลือง เพราะขาดธาตุเหล็ก
- ใบเหลือง เพราะพืชลดจำนวนคลอโรฟิลล์ เพราะการขาดธาตุรอง หรือธาตุเสริมบางอย่าง

อาการใบไหม้และโรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ทุก 3-5 วัน

อาการของพืช ที่เกิดจากการขาดธาตุต่างๆ ฉีดพ่น FK ธรรมชาตินิยม

หมายเหตุ สามารถ ผสม ไอเอส และ FK ธรรมชาตินิยม ฉีดพ่นไปพร้อมกันในคราวเดียว

อัตราส่วนผสม
ไอเอส 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
FKธรรมชาตินิยม 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
สามารถผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
*สำหรับท่านที่พ่นด้วย ฟ็อกกี้ ขนาด 1-2ลิตร ใช้ฝา FKธรรมชาตินิยมตวงประมาณ 2ฝา


การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
โรคจุดสีน้ำตาลแก้วมังกร
โรคจุดสีน้ำตาลแก้วมังกร
โรคจุดสีน้ำตาลแก้วมังกร
แก้วมังกร จะพบโรคจุดสีน้้าตาลระบาด อาการเริ่มแรกที่กิ่งและผลเป็นจุดสีเหลือง จากนั้นจะพัฒนาเป็นตุ่มนูนเล็กๆ สีน้้าตาลคล้ายสีสนิมเหล็ก บางครั้งพบแผลสีเหลืองฉ่้าน้้า เมื่ออาการรุนแรงแผลจะเน่า โดยถ้าเป็นที่กิ่งจะท้าให้เนื้อเยื่อตรงแผลหลุดเห็นเป็นรูหรือเว้าแหว่ง ส้าหรับผลถ้าอาการรุนแรงจะท้าให้กลีบผลไหม้แห้งเป็นสีดำและผลเน่าในที่สุด

สาเหตุหลักเกิดจากดินแปลงที่ท้านามาก่อน หรือดินไม่ได้ยกร่อง หรือดินมีการระบายน้้าไม่ดี และเกษตรกรที่ชอบใช้ปุ๋ยยูเรียจ้านวนมาก หรือใส่แต่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ท้าให้เกิดโรคได้ง่าย เพราะแก้วมังกรเป็นพืชอวบน้้า

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา
ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรค ราสนิมแก้วมังกร โรคจุดสีน้ำตาลแก้วมังกร
3562 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 2 รายการ
|-Page 19 of 357-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ประสิทธิผลของการใช้สารอินทรีย์และปุ๋ย ในการควบคุมเพลี้ยอ่อน ในลองกอง
Update: 2565/12/22 08:20:40 - Views: 3446
ยากำจัดโรคแอนแทรคโนส ในดอกกล้วยไม้ โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/10 16:00:26 - Views: 3430
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราน้ำฝน ในลำไย ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/06 10:34:36 - Views: 3397
พริกไทย ใบไหม้ ใบจุด รากเน่า โคนเน่า กำจัดโรคพริกไทย จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/27 11:05:42 - Views: 3413
คำนิยม - ลูกค้า ไอกี้บีที กำจัดหนอนปลอดสารพิษ
Update: 2562/08/30 11:59:16 - Views: 3385
กะเพราใบไหม้ โรคใบจุดกะเพรา โรคกะเพรา โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู โตไว ผลผลิตดี
Update: 2564/10/10 00:02:08 - Views: 3558
โรคราสนิม โรคราน้ำค้าง โรคราดำ โรคใบไหม้ โรคใบติด โรคใบจุด ที่เกิดกับพืชต่างๆ ใช้สินค้าจาก FK
Update: 2565/06/16 19:58:45 - Views: 3398
โรคราแป้ง (Powdery mildew) โรคราแป้งในพริก ราแป้งมะเขือ
Update: 2564/08/09 22:28:26 - Views: 3779
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบจุดตากบ ในพริก ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/19 12:29:04 - Views: 3452
การจัดการกับปัญหาหนอนในต้นถั่วฝักยาว: วิธีป้องกันและดูแลเพื่อผลผลิตที่ดี
Update: 2566/11/11 09:55:38 - Views: 3462
ยารักษาโรคพืช กำจัดโรคใบจุด ใน มะเขือเทศ โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด(ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/05/31 10:48:14 - Views: 3426
ป้องกัน กำจัด หนอนปลอกข้าว (rice caseworm)
Update: 2564/08/09 22:41:37 - Views: 3495
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตรสำหรับมะเขือเทศ: เส้นทางสู่ผลผลิตที่สมบูรณ์และคุณภาพ
Update: 2567/02/13 08:52:15 - Views: 3439
การดูแลมะพร้าวให้โตไว สมบูรณ์ และมีผลผลิตดีด้วยฮิวมิคFK และปุ๋ยทางใบ FK-1
Update: 2567/11/11 09:54:59 - Views: 55
ชมพู่ ผลเน่า กำจัดโรคชมพู่ จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/07 09:53:12 - Views: 3509
เพิ่มผลผลิตนาข้าวให้สูงสุดด้วยปุ๋ย FK-1 และ FK-3R ข้าวแตกกอดี รวงยาว เมล็ดเต็ม ได้ผลผลิตสูง
Update: 2566/09/29 11:09:22 - Views: 3420
โรคเชื้อราในถั่วฝักยาว
Update: 2566/11/14 09:43:25 - Views: 3479
การป้องกันกำจัดโรคใบจุดในทุเรียน ด้วยสารอินทรีย์ เทคนิค ไอออนคอนโทรล
Update: 2566/01/06 12:34:23 - Views: 3495
วิธีการควบคุมและป้องกันเพลี้ยในต้นทุเรียน: การดูแลและให้ความสนใจเพื่อผลผลิตที่สมบูรณ์
Update: 2566/11/18 13:38:39 - Views: 3458
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคพืชที่เกิดในหน้าฝน ใบจุด ราสนิม ราน้ำค้าง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/07/12 11:24:00 - Views: 3413
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022