[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3562 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 2 รายการ

โรคใบไหม้ในมันฝรั่ง มันฝรั่งใบไหม้ ป้องกันและกำจัดได้อย่างไร
โรคใบไหม้ในมันฝรั่ง มันฝรั่งใบไหม้ ป้องกันและกำจัดได้อย่างไร
ระวังโรคใบไหม้ในมันฝรั่ง

สภาพอากาศเย็นและมีฝนตกบางพื้นที่ระยะนี้ กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกมันฝรั่งเฝ้าระวังโรคใบไหม้ สามารถพบได้ในระยะการเจริญเติบโตทางลำต้น มักพบแสดงอาการของโรคที่ใบล่างก่อน โดยอาการเริ่มแรกด้านบนใบเป็นจุดฉ่ำน้ำสีเขียวเข้มคล้ายถูกน้ำร้อนลวก ต่อมาแผลจะขยายใหญ่ ตรงกลางแผลแห้งเป็นสีน้ำตาล ขอบแผลฉ่ำน้ำสีดำ เมื่อพลิกดูด้านใต้ใบในบริเวณตรงกันจะพบละอองน้ำเล็กสีขาวใสติดอยู่บริเวณขอบแผล และแผลจะขยายลุกลามออกไปจนทำให้ใบไหม้แห้งเป็นสีน้ำตาลในที่สุด

กรณีสภาพแวดล้อมเหมาะสม คือ อากาศเย็นและมีความชื้นสูง หรือในสภาพที่มีหมอกลงจัด โรคใบไหม้จะลุกลามอย่างรวดเร็วไปยังต้นอื่นๆ ทำให้มองเห็นใบไหม้แห้งกระจายเป็นหย่อมในแปลง ส่วนลำต้นและกิ่งก้านที่พบอาการของโรค แผลจะมีสีน้ำตาลหรือสีดำ ถ้าอาการรุนแรง จะทำให้ลำต้นหรือกิ่งก้านหักพับและแห้งตายอย่างรวดเร็ว หากโรคใบไหม้เข้าทำลายที่หัว จะทำให้หัวเน่า

เกษตรกรควรหมั่นตรวจและกำจัดวัชพืชในแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ ถ้าพบต้นที่แสดงอาการของโรคให้ถอนแล้วนำไปเผาทำลายนอกแปลงปลูก หากพบโรคเริ่มระบาด

ให้เกษตรกรพ่นด้วยสารอินทรีย์ป้องกันกำจัดโรคพืช ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร สามารถผสม FK-1 สำหรับฟื้นฟูส่งเสริมการเจริญเติบโต ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน

ฉีดพ่นทุก 5-7 วัน และคอยสังเกตุว่าโรคหยุดการลุกลามหรือไม่ หลีกเลี่ยงการพ่นสารชนิดใดชนิดหนึ่งต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน และควรใช้สลับชนิด เพื่อป้องกันการดื้อยาของเชื้อราสาเหตุโรค

สำหรับในแปลงที่พบการระบาดของโรค หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว ให้เกษตรกรเก็บซากพืชที่ตกค้างอยู่ในแปลงนำไปทำลายนอกแปลงปลูก และให้ใช้ส่วนขยายพันธุ์ที่ไม่มีร่องรอยการติดเชื้อ ส่วนเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการเกษตรเมื่อใช้ในแปลงที่มีการระบาดแล้ว ให้นำเครื่องมือมาทำความสะอาดด้วยการล้างและผึ่งแดดให้แห้งก่อนนำกลับไปใช้ในแปลงทุกครั้ง จากนั้นให้ไถพรวนดินและตากดินไว้นาน 1-2 สัปดาห์ เพื่อจะช่วยลดปริมาณเชื้อโรคในดิน หลีกเลี่ยงการปลูกมันฝรั่งในพื้นที่ที่เคยมีการระบาดของโรคนี้มาก่อน และงดการให้น้ำในตอนเย็นและการให้น้ำที่มากเกินไป อีกทั้งควรปรับระยะปลูกไม่ให้แน่นเกินไป เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรค

Reference
Main content from: thethaipress.com/2020/27559/
อ่าน:3452
โรคมันสำปะหลัง: โรคแอนแทรคโนสมันสำปะหลัง มีสาเหตุจากเชื้อรา ป้องกันกำจัดได้ ด้วย ไอเอส
โรคมันสำปะหลัง: โรคแอนแทรคโนสมันสำปะหลัง มีสาเหตุจากเชื้อรา ป้องกันกำจัดได้ ด้วย ไอเอส
สาเหตุของ โรคแอนแทรคโนสมันสำปะหลัง
มีสาเหตุจากเชื้อรา สภาพที่มีความชื้นสูงติดต่อกันมากกว่า 2 สัปดาห์ ในพันธุ์ที่อ่อนแอ เช่นระยอง 72 ระยอง 11 ความเสียหาย 80 % ส่วนพันธุ์ที่ค่อนข้างทนทาน ยอดจะเหี่ยวแห้งตายลงมาทำให้เกิดมีการเจริญเติบโตของกิ่งหรือยอดใหม่ น้ำหนักผลผลิตจะลดลงหรือเก็บเกี่ยวล่าช้า ผลผลิตจะเสียหาย 30 – 40 %

ลักษณะอาการของ โรคแอนแทรคโนสมันสปะหลัง
ใบจะมีขอบใบไหม้สีน้ำตาลขยายตัวเข้าสู่..

อ่านต่อ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3452
กำจัดเชื้อรา กุยช่าย ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
กำจัดเชื้อรา กุยช่าย ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

โรคแอนแทรกโนส หรือโรคใบเน่า โรคนี้ทำความเสียหายกับพืชผักตระกูลหอมกระเทียมทุกชนิด อาการเริ่มแรกที่ใบกุยช่ายจะมีจุดขาวเล็กๆ ซึ่งต่อมาจะขยายใหญ่ขึ้นเป็นรูปรี ตามความยาวของใบเนื้อเยื่อยุบเป็นแอ่ง ต่ำกว่าร่ะดับผิวใบปกติเล็กน้อย บนแผลจะปรากฎเป็นหยดของเหลวสีส้มอมชมพู ซึ่งเมื่อแห้งแล้วจะเป็นก้อนแข็งหรือตุ่มสีดำเล็กๆ เรียงเป็นวงซ้อนกันหลายชั้น ตุ่มสีดำนี้มีสปอร์หรือหน่วยขยายพันธุ์ของเชื้อราจำนวนมากมาย สามารถแพร่ระบาดไปตามลม ฝน หรือน้ำที่รด จากต้นที่เป็นโรคไปยังต้นที่ไม่เป็นโรค ระยะที่ฝนตกชุกจะพบโรคระบาดรุนแรง ใบจะเน่าเสียหาย ทำให้ต้นเน่ายุบตายเป็นหย่อมๆ หรือตายหมดทั้งแปลง
โรคราสนิม
โรคนี้พบระบาดทำความเสียหายอย่างหนักในช่วงฤดูหนาว คือระหว่างเดือนธันวาคม จนถึงเดือนกุมภาพันธุ์ ช่วงเดือนอื่นๆ อาจพบว่ามีโรคราสนิมเกิดขึ้นเช่นเดียวกันแต่อาการไม่รุนแรงนัก
ลักษณะอาการบนใบของกุยช่ายจะพบเป็นจุดนูนมีผงสีเหลืองคล้ายสนิม บนจุดนูนนั้นจะมีหน่วยขยายพันธุ์ของเชื้อราติดอยู่ โดยทั่วไปจะพบสปอร์ของเชื้อราเป็นรูปกลมเซลล์เดียว มีหนามรอบๆ เรียกว่า ยูรีโดสปอร์ ซึ่งสามารถปลิวไปตามลมหรือแพร่กระจายโดยน้ำที่ใช้รด ทำให้โรคระบาดอย่างรวดเร็ว ในบางครั้งเป็นสภาพแวดล้อมเหมาะสม เช่นอากาศเย็นจัด เชื้อราจะสร้างสปอร์เป็นรูปร่าง ๒ เซลล์ ซึ่งเรียกว่า แทลลิโอสปอร์ ซึ่งสามารถอยู่ข้ามฤดูในเศษซากพืชที่ทับถมอยู่ในดินแล้วเข้าทำลายในปีต่อไป แปลงกุยช่ายที่เป็นโรคราสนิมจะทรุดโทรมมาก ผลผลิตเสียหาย ถ้าไม่ได้รับรักษาอย่างถูกต้อง จะตายในที่สุด

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย 'การควบคุมประจุไฟฟ้า' สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี
การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี
การควบคุมศัตรูพืช โดยชีววิธี เป็นกรรมวิธีที่นำสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติมาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยนำเอาแมลงและสัตว์อื่น ๆ ที่มีอยู่แล้วในธรรมชาติ ได้แก่ ตัวห้ำ ตัวเบียน และเชื้อโรค มาช่วยกำจัดแมลงศัตรูพืช วิธีการนี้เป็นวิธีการดั้งเดิมซึ่งมนุษย์มีแนวความคิดที่จะใช้สิ่งที่มีประโยชน์ในธรรมชาติมาช่วยปราบแมลงศัตรูพืช เป็นการลดการใช้ยาฆ่าแมลงซึ่งเป็นอันตรายทั้งต่อมนุษย์ สัตว์ และ..
อ่านต่อ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3452
ขั้นตอน และเคล็ดลับ “SME” นำสินค้าขายใน ห้างสรรพสินค้า
ขั้นตอน และเคล็ดลับ “SME” นำสินค้าขายใน ห้างสรรพสินค้า
ปัจจุบันประเทศไทยมี ผู้ประกอบการ SME ที่อยู่ในระบบกว่า 3 ล้านราย แต่ในความจริงแล้วยังมี SME อีกมากที่ไม่ได้อยู่ในระบบ จึงประมาณการว่าโดยรวมแล้ว ประเทศไทยมีผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมไม่ต่ำกว่า 9 ล้านราย!

แน่นอนว่าผู้ประกอบการ SME ทุกคนที่พัฒนาสินค้าออกมาแล้ว อยากมี “ช่องทางการจำหน่าย” ที่แข็งแกร่ง เชื่อว่าหนึ่งในช่องทางที่ SME อยากนำพาสินค้าของตัวเองเข้าไปขายคือ ช่องทางของ Modern Trade รายใหญ่ เพราะเชนค้าปลีกเหล่านี้ มีทั้งสาขาครอบคลุมทั่วประเทศ

การนำสินค้าเข้าไปวางจำหน่าย มีหลักเกณฑ์ และขั้นตอนที่พิจารณาคัดเลือก
5 วิธีการ และขั้นตอนนำสินค้าเข้าไปจำหน่ายในห้างสรรพสินค้า

1. ศึกษากลุ่มสินค้า

– อาหารสด และอาหารพร้อมรับประทาน
เนื้อสัตว์ อาหารทะเลสด และแปรรูป ผักสด ผลไม้สด และแปรรูป
อาหารพร้อมปรุง อาหารสำเร็จรูป ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากนม ไส้กรอก
เบเกอรี่ โดนัท คุกกี้ เค้ก

– อาหารแห้ง
ข้าวสาร น้ำมัน น้ำปลา ซอสปรุงอาหาร แป้ง เส้น

– เครื่องดื่ม
น้ำผลไม้ นม ชา กาแฟ เครื่องดื่มสมุนไพร

– ขนมขบเคี้ยว
ขนมอบกรอบ ลูกอม มันฝรั่ง ปลาเส้น ผลไม้อบแห้ง

– สุขภาพ/ความงาม
สินค้าดูแลหน้า เส้นผม ผิวพรรณ สุขภาพช่องปาก ยา และสินค้าทำความสะอาดร่างกาย

– ผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด
ผงซักฟอก น้ำยาล้างจาน น้ำยาทำความสะอาดพื้น

– สินค้าใช้ในบ้าน
เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เช่น แอร์ หม้อหุงข้าว เครื่องใช้ในบ้าน เครื่องนอน สินค้าตกแต่งบ้าน และปรับปรุงบ้าน
เครื่องใช้ในครัวเรือน หม้อ กระทะ จานชาม ช้อนส้อม
สินค้าใช้ทำความสะอาด และอุปกรณ์ทำความสะอาด

– เครื่องแต่งกาย
เครื่องแต่งกายสุภาพบุรุษ สุภาพสตรี เด็ก และแฟชั่น

2. สินค้าต้องผ่านมาตรฐาน GMP / HACCP
ผู้ประกอบการที่จะนำเสนอสินค้าให้ห้างสรรพสินค้าพิจารณา โดยเบื้องต้นสินค้านั้นต้องมีมาตรฐาน GMP / HACCP ซึ่งเป็นมาตรฐานการผลิต ทั้งด้านความสะอาด ปลอดภัย และถูกต้องตามกฎหมายในด้านจริยธรรม และการจ้างแรงงานที่ถูกต้องตามกฎหมาย

3. เข้าสู่ขั้นตอนการพิจารณา
โดยจะมีฝ่ายจัดซื้อ (Buyer) แต่ละแผนกสินค้าของห้างพิจารณาผลิตภัณฑ์ของผู้ประกอบการ มีกระบวนการพิจารณาอยู่ที่ 30 วัน

โดยทางห้าง และผู้ประกอบการธุรกิจ SME จะมีการพูดคุยร่วมกัน เช่น เงื่อนไขต่างๆ กำลังการผลิต ต้นทุนสินค้า สิ่งที่ผู้ประกอบการต้องพัฒนา หรือปรับปรุงสินค้าเพิ่มเติม เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานของห้างสรรพสินค้า

หากสินค้าผ่านการคัดเลือก ห้างสรรพสินค้า และผู้ประกอบการ SME สามารถตกลงกันในเงื่อนไขต่างๆ ได้แล้ว ก็พร้อมให้สินค้านั้นเข้ามาวางสินค้านั้น เข้ามาวางจำหน่ายในสาขาต่างๆ

4. สินค้าที่วางขาย ต้องตอบโจทย์ความคุ้มค่าคุ้มราคา และสร้างผลกำไรให้กับห้าง– ผู้ประกอบการ
เนื่องจากเชื่อในการเติบโตอย่างยั่งยืน ดังนั้นอีกหนึ่งหลักเกณฑ์สำคัญของการพิจารณาสินค้าที่นำมาวางขายคือ ต้องสร้าง Win-Win ให้กับทั้ง 3 ฝ่าย

– ลูกค้า ซื้อสินค้าคุณภาพดี มีมาตรฐาน และความปลอดภัย ราคาเข้าถึงได้
– ผู้ประกอบการ ต้องทำแล้ว มีกำไร
– ห้างสพพสิรค้า ต้องมีกำไรเช่นกัน

ดังนั้น ปัญหาอย่างหนึ่งของ SME คือ ต้นทุนการผลิตสินค้า สูงกว่าราคาขายในร้านค้าปลีก หากเป็นเช่นนี้จะส่งผลให้ SME มีผลกำไรน้อย ไปจนถึงไม่มีกำไร และขาดทุน!

ด้วยเหตุนี้เอง ห้างสรรพสินค้า จึงมีทีมงานพัฒนาธุรกิจ และทีมพัฒนาคุณภาพสินค้า ให้คำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการในด้านการลดต้นทุน เพราะถ้าผู้ประกอบการรายนั้นๆ ยังผลิตในต้นทุนที่สูงกว่าราคาขาย ย่อมไม่เกิดการค้าที่ Win-Win ได้ทุกฝ่าย

5. เมื่อสินค้าวางจำหน่ายแล้ว ต้องพัฒนามาตรฐานต่อเนื่อง – ทบทวนยอดขาย – ไม่หยุดนำเสนอนวัตกรรมใหม่
สินค้าที่ผ่านการคัดเลือก และได้วางจำหน่ายในห้างแล้ว ทั้งผู้ประกอบการ SME และห้างสรรพสินค้า จะทำงานร่วมกันแบบ “คู่ค้าพันธมิตร” (Business Partner) เพื่อสร้างการเติบโตด้วยกัน ประกอบด้วย

– ผู้ประกอบการตต้องทบทวนยอดขายกับทีมจัดซื้อเป็นประจำ
– มีการส่งเสริมการขายต่อเนื่อง
– มีการพัฒนามาตรฐานต่อเนื่อง ทั้งตรวจสอบคุณภาพ และรักษาคุณภาพอย่างสม่ำเสมอ
– มีการนำเสนอสินค้าใหม่ หรือสินค้านวัตกรรมใหม่

ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..

ผู้ประกอบการ SMEs OTOP วิสาหกิจชุมชน ท่านใดกำลังมองหาแล็บทดสอบผลิตภัณฑ์ด้าย เกษตร อาหาร และสิ่งแวดล้อม
-เพื่อขอขึ้นทะเบียน อย.
-เพื่อจำหน่ายในห้างสรรพสินค้า
-ส่งออกไปต่างประเทศ
-งานวิจัย
-เพื่อทราบผล

ให้เซ็นทรัลเเล็บไทยหนึ่งในผู้นำแล็บทดสอบผลิตภัณฑ์อันดับต้นๆของ ASEN และได้รับการยอมรับทั่วโลก ด้วยห้องปฏิบัติการมาตรฐานระดับสากล เป็นผู้ช่ายในการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ของท่าน ผ่านวิธีการทดสอบที่ถูกต้องแม่นยำและน่าเชื่อถือ

สามารถส่งตัวอย่างเข้าตรวจวิเคราะห์กับ บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด หรือ CENTRAL LAB THAI ได้ที่ลิงค์ นี้ http://ไปที่..link..

สำหรับผู้ผลิตสินค้าที่ที่ต้องการตรวจฉลากโภชนาการ สามารถส่งตัวอย่างเข้าตรวจวิเคราะห์กับ บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด หรือ CENTRAL LAB THAI ได้ที่ลิงค์ นี้ http://ไปที่..link..


ปุ๋ยเม็ดสกัดเพอร์เฟค ซี (ตรานกอินทรีคู่) สูตรสีแดง และปุ๋ยเม็ดสกัดวันเดอร์ สูตรสีเขียว
ปุ๋ยเม็ดสกัดเพอร์เฟค ซี (ตรานกอินทรีคู่) สูตรสีแดง และปุ๋ยเม็ดสกัดวันเดอร์ สูตรสีเขียว
ปุ๋ยเม็ดสกัดเพอร์เฟค ซี (ตรานกอินทรีคู่) สูตรสีแดง

เร่งโต แตกกอ
อาหารพืชครบถ้วน เพิ่มปริมาณ และคุณภาพผลผลิต เพิ่มความต้านทานโรคและแมลง

ไนโตรเจนสูง (N): ช่วยสร้างอาหาร ส่งเสริมการเจริญเติบโต เพิ่มความเขียว ระบบรากทำงานเต็มที่

กรดอะมีโน: สร้างฮอร์โมน ทำให้พืชสมบูรณ์ทุกระยะ

จุลินทรีย์: เพิ่มการย่อยสลาย ช่วยปลดปล่อยธาตุอาหาร และปรับปรุงโครงสร้างดิน

ใช้สำหรับ
- เร่งโตแตกกอในนาข้าว ทำให้ข้าวแตกกอใหญ่ ใบตั้งตรง ต้านทานโรค
- ใส่มันมันปะหลังอายุ 1 เดือน - สองเดือน เพื่อเร่งให้แตกตอ และใบเขียวสมบูรณ์
- พืชผักกินใบ เช่นกับกาด ผักบุ้ง และผักอื่นๆ

ปุ๋ยเม็ดสกัดวันเดอร์ (ตรานกอินทรีคู่) สูตรสีเขียว

เตรียมดิน บำรุงต้น ส่งเสริมการเจริญเติบโต
เขียวนาน ใบตั้งตรง ต้นแข็งแรง ผลผลิตดี

3T เทคโนโลยี เม็ดปุ๋ย 3 ชั้น

T1: เคลือบชั้นนอกสุด ด้วยจุลินทรีย์ประสิทธิภาพสูง 3 กลุ่ม ในการย้อยแป้ง โปรตีน และเส้นใย

T2: ชั้นที่สองเป็นธาตุอาหารสกัดปลดปล่อยเร็ว ที่พืชสามารถดูดซึมไปใช้ได้อย่างรวดเร็ว และนำไปใช้ได้ทันที

T3: ธาตุอาหารปลดปล่อยช้า คุณภาพสูง กรดอะมิโน และอินทรีย์วัตถุ

ใช้สำหรับ
ยางพารา ก่อนเปิดกรีด, นาข้าวช่วงไถกลบและช่วงตั้งท้อง, ปาล์มน้ำมัน, มันสัมปะหลัง, พืชผัก ผลไม้ต่างๆ

ทำความเข้าใจกับ การปลดปล่อยธาตุอาหาร ของปุ๋ยสามชนิด


จากกราฟ แสดงให้เห็น (รูปภาพที่แนบมาด้านล่าง)
เส้นสีแดง เป็นประสิทธิภาพการปล่อยธาตุอาหารของปุ๋ยเคมี
เส้นสีเขียว เป็นประสิทธิภาพการปล่อยธาตุอาหารของปุ๋ยเม็ดสกัดวันเดอร์
เส้นสีน้ำเงิน เป็นประสิทธิภาพการปล่อยธาตุอาหารของปุ๋ยอินทรีย์ทั่วไป
ให้เราลองพิจารณากราฟเส้นสีแดง ของปุ๋ยเคมี จะเห็นได้ว่าเมื่อท่านได้ทำการใส่ปุ๋ยเคมีลงในพืช จะเห็นผลได้ชัดเจน ภายในช่วง 3-11 วัน จากนั้น พืชผักที่ได้รับปุ๋ยเคมี ก็จะได้รับธาตุอาหารน้อยลงไป ตามกราฟ ความเขียวจะลดลง หรือกลับสู่สภาพเดิม หลังจากสองสัปดาห์และต่อๆไป และสังเกตุได้ว่า ปีต่อๆไป ท่านต้องใส่ปุ๋ยเคมี ในปริมาณมากขึ้น เพื่อให้ได้ผลผลิตใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา

มาดูในส่วนของกราฟเส้นสีเขียว ของปุ๋ยเม็ดสกัดวันเด้อร์ จาก กราฟ แสดงให้เราเห็นว่า หลังจากใส่ปุ๋ย จะเห็นผลช้ากว่าปุ๋ยเคมี คือเริ่มเห็นผลชัดเจนเต็มที่ประมาณ 7 วันหลังจากใส่ แต่ช่วงที่ต้นไม้ ได้รับธาตุอาหารจะนานกว่า ไปจนถึงประมาณ สามถึงสี่สัปดาห์ ธาตุอาหารจึงค่อยลดลงไป แต่ลดลงไปไม่มากเท่าปุ๋ยเคมี เนืองจาก ปุ๋ยเม็ดสกัดวันเด้อร์ มีเทคโนโลยี 3T ที่นอกจากให้ธาตุอาหารแล้ว ยังมีการปรับปรุงจุลินทรีย์ และบำรุงดินด้วย

และสุดท้ายกราฟเส้นสีน้ำเงิน ของปุ๋ยอินทรีย์ เป็นที่แน่นอน และทราบกันอยู่ทั่วไปว่า ปุ๋ยอินทรีย์จะเห็นผลได้ช้า หลังจากใส่แต่จะทำให้ดินดีขึ้นตลอด และในปีถัดไป ดินก็จะมีธาตุอาหารเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ อย่างช้าๆ เหมาะกับการทำเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน



สนใจผลิตภัณฑ์ หรือสนใจเป็นตัวแทนจำหน่าย

ติดต่อ ฟาร์มเกษตร
คุณ ปิยะมาศ

โทร: 0894599003
6.00 น. - 21.00 น.

แฟกซ์: 045-511273
e-mail: [email protected]
[email protected]
อ่าน:3452
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราดำ ใน ลิ้นจี่ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราดำ ใน ลิ้นจี่ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราดำ ใน ลิ้นจี่ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
เชื้อราไตรโคเดอร์มาคือเชื้อราชนิดหนึ่งที่ทราบกันดีว่ามีความสามารถในการปกป้องพืชจากเชื้อโรคต่างๆ รวมถึงราดำ เชื้อรา Trichoderma harzianum สายพันธุ์หนึ่งพบว่ามีประสิทธิภาพในการป้องกันและควบคุมโรคราดำในลิ้นจี่โดยเฉพาะ

แบรนด์ Trichorex เป็นผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ที่มีเชื้อรา Trichoderma harzianum และใช้เป็นยาฆ่าเชื้อราชีวภาพสำหรับป้องกันและควบคุมโรคราดำในลิ้นจี่ Trichorex ทำงานโดยตั้งรกรากในระบบรากของต้นลิ้นจี่และสร้างเกราะป้องกันการเจริญเติบโตและการแพร่กระจายของราดำ

Trichorex สามารถใช้เป็นดินรดหรือฉีดพ่นทางใบ และปลอดภัยสำหรับใช้กับต้นลิ้นจี่ทุกอายุ นอกจากนี้ยังเข้ากันได้กับสารฆ่าเชื้อราและสารกำจัดศัตรูพืชอื่น ๆ ทำให้เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสำหรับการจัดการศัตรูพืชแบบบูรณาการ

ข้อดีประการหนึ่งของการใช้ Trichorex คือเป็นทางเลือกที่เป็นธรรมชาติและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมแทนสารเคมีฆ่าเชื้อรา Trichoderma harzianum เป็นเชื้อราพื้นเมืองที่พบในสวนลิ้นจี่และไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่เป้าหมาย นอกจากนี้ Trichorex ยังไม่เป็นพิษต่อมนุษย์และสัตว์ ทำให้ปลอดภัยในการใช้ในพื้นที่ที่ปลูกอาหาร

ประโยชน์อีกประการของการใช้ Trichorex คือสามารถปรับปรุงสุขภาพโดยรวมของต้นลิ้นจี่ เป็นที่ทราบกันดีว่าเชื้อรา Trichoderma harzianum ช่วยปรับปรุงการดูดซึมธาตุอาหารของต้นไม้และการกักเก็บน้ำ ซึ่งสามารถนำไปสู่การเจริญเติบโตและการผลิตผลที่ดีขึ้น

สรุปได้ว่า Trichorex เป็นสารกำจัดเชื้อราชีวภาพที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัยซึ่งสามารถป้องกันและควบคุมโรคราดำในลิ้นจี่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ธรรมชาติที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและความสามารถในการปรับปรุงสุขภาพของต้นไม้โดยรวมทำให้เป็นเครื่องมือที่มีค่าสำหรับผู้ปลูกลิ้นจี่ เป็นทางเลือกแทนสารเคมีกำจัดเชื้อราและเป็นวิธีธรรมชาติในการปกป้องสวนผลไม้

ไตรโคเร็กซ์ : เชื้อไตรโคเดอร์มา

ช่วยป้องกันและยับยั้งโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่นใบเหลือง รากเน่า
โคนเน่า ไฟท้อปเธอร่าในทุเรียนโรคแคงเกอร์ในส้ม - มะนาว
โรคทลายปาล์มเน่าโรคแอนแทรกโนสใน มะละกอ แตงโม แตงกวาโรคใบจุด ใบแห้ง
โรคกาบใบเน่า โรคกาบใบแห้งโรคไหม้ในข้าว โรคกุ้งแห้งในพริก
โรคผลเน่า

ใช้อย่างไร

1. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นบริเวณกิ่ง ก้าน ใบ หรือราดบริเวณโคนต้น

2. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อปุ๋ยอินทรีย์ 20 กก.ในการปลูกหรือรองก้นหลุมก่อนปลูก

ไม่ควรผสมใช้ร่วมกับเชื้อบิวเวอร์เรียและเมธาไรเซียม ควรฉีดสลับกันทุก 7-10 วัน

ผลิตภัณฑ์ของเราดีกว่าอย่างไร
1.มีห้องปฏิบัติการเพาะเชื้อจุลินทรีย์
- คัดสายพันธุ์เฉพาะ ผ่านการทดสอบ/วิจัย
- สายพันธุ์เชื้อผ่านการตรวจจาก วว.และ สวทช
2.เชื้อจุลินทรีย์เลี้ยงในอุณหภูมิที่เหมาะสม
- มีตู้บ่มเชื้อควบคุมอุณหภูมิ
- ได้เชื้อจุลินทรีย์สมบูรณ์ แข็งแรง
3.มีห้องสำหรับการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์
- เพื่อลดการปนเปื้อนระหว่างการเพาะเชื้อ
- ควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น แสง
4.ควบคุมคุณภาพเชื้อจุลินทรีย์ตลอดการผลิต

ป้องกันกำจัดโรคพืช
-โรคใบเหลือง ใบเหี่ยว
-โรคใบจุด ราน้ำค้าง
-โรคราแป้ง
-โรคราสีชมพู กาบใบแห้ง
-โรคผลเน่า ในพริกทุเรียน
-โรคใบไหม้
-โรคเหี่ยวเขียว เหี่ยวเหลือง
-โรครากเน่าโคนเน่า
-โรคเมล็ดเน่า

กลไกการป้องกันโรคพืช
1.เจริญเติบโต แข่งขัน แย่งอาหาร น้ำ และที่อยู่กับเชื้อราสาเหตุโรคพืช
จึงทำให้เชื้อโรคลดปริมาณ ลงอย่างรวดเร็ว
2.การสร้างสารปฏิชีวนะ มาทำลายผนังเซลล์เชื้อราโรคพืช
ทำให้เส้นใยเชื้อราโรคพืชเกิดการไหม้ และตาย
3.เป็นปรสิต สร้างเส้นใยพันรัดน้ำเลี้ยงจากเชื้อโรคพืช
ทำให้เส้นใยสลายลดการขยาย เผ่าพันธุ์ลง


สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link..
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบจุดตากบ ในพริก ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบจุดตากบ ในพริก ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบจุดตากบ ในพริก ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Trichorex เป็นแบรนด์ของเชื้อรา Trichoderma ซึ่งเป็นเชื้อราชนิดหนึ่งที่นิยมใช้ในการป้องกันและกำจัดโรคใบจุดในพริก

โรคใบจุดเกิดจากเชื้อราหลายชนิด ได้แก่ Alternaria_ Cercospora และ Colletotrichum เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในต้นพริก และอาจทำให้ใบ ลำต้น และผลเสียหายได้อย่างมาก โรคนี้มีลักษณะเป็นจุดด่างดำเล็ก ๆ บนใบซึ่งสามารถขยายใหญ่ขึ้นและแพร่กระจายไปตามกาลเวลา

เชื้อราไตรโคเดอร์มานั้นเป็นศัตรูธรรมชาติของเชื้อราเหล่านี้และสามารถป้องกันและควบคุมโรคใบจุดในพริกได้อย่างมีประสิทธิภาพ เชื้อราผลิตสารต้านจุลชีพหลายชนิดที่ยับยั้งการเจริญเติบโตและการสืบพันธุ์ของเชื้อราชนิดอื่น นอกจากนี้ยังกระตุ้นกลไกการป้องกันของพืช ช่วยให้พืชสามารถต่อสู้กับโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

Trichorex เป็นเชื้อราไตรโคเดอร์มายี่ห้อหนึ่งที่ผลิตขึ้นเพื่อใช้กับต้นพริกโดยเฉพาะ มาในรูปแบบผงที่สะดวก ซึ่งสามารถนำไปใช้กับดินรอบๆ โคนต้นไม้ได้อย่างง่ายดาย จากนั้นเชื้อราจะเกาะรากของพริก ทำให้สามารถป้องกันโรคใบจุดได้อย่างต่อเนื่อง

หากต้องการใช้ Trichorex เพียงโรยผงรอบๆ โคนต้นไม้ ต้องแน่ใจว่าได้คลุมรากและดินอย่างสมบูรณ์ รดน้ำต้นไม้ตามปกติ เชื้อราไตรโคเดอร์มาก็จะเริ่มออกฤทธิ์ สิ่งสำคัญคือต้องใช้ Trichorex ที่สัญญาณแรกของโรคใบจุด เนื่องจากการแทรกแซงในระยะแรกสามารถช่วยป้องกันไม่ให้โรคแพร่กระจายและก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมาก

โดยสรุป Trichorex เป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสูงในการป้องกันและกำจัดโรคใบจุดในพริก เป็นวิธีแก้ปัญหาที่เป็นธรรมชาติ ปลอดภัย และใช้งานง่าย ซึ่งสามารถช่วยให้ต้นพริกของคุณแข็งแรงและให้ผลผลิตได้

ไตรโคเร็กซ์ : เชื้อไตรโคเดอร์มา

ช่วยป้องกันและยับยั้งโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่นใบเหลือง รากเน่า
โคนเน่า ไฟท้อปเธอร่าในทุเรียนโรคแคงเกอร์ในส้ม - มะนาว
โรคทลายปาล์มเน่าโรคแอนแทรกโนสใน มะละกอ แตงโม แตงกวาโรคใบจุด ใบแห้ง
โรคกาบใบเน่า โรคกาบใบแห้งโรคไหม้ในข้าว โรคกุ้งแห้งในพริก
โรคผลเน่า

ใช้อย่างไร

1. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นบริเวณกิ่ง ก้าน ใบ หรือราดบริเวณโคนต้น

2. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อปุ๋ยอินทรีย์ 20 กก.ในการปลูกหรือรองก้นหลุมก่อนปลูก

* ไม่ควรผสมใช้ร่วมกับเชื้อบิวเวอร์เรียและเมธาไรเซียม ควรฉีดสลับกันทุก 7-10 วัน *

ผลิตภัณฑ์ของเราดีกว่าอย่างไร
1.มีห้องปฏิบัติการเพาะเชื้อจุลินทรีย์
- คัดสายพันธุ์เฉพาะ ผ่านการทดสอบ/วิจัย
- สายพันธุ์เชื้อผ่านการตรวจจาก วว.และ สวทช
2.เชื้อจุลินทรีย์เลี้ยงในอุณหภูมิที่เหมาะสม
- มีตู้บ่มเชื้อควบคุมอุณหภูมิ
- ได้เชื้อจุลินทรีย์สมบูรณ์ แข็งแรง
3.มีห้องสำหรับการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์
- เพื่อลดการปนเปื้อนระหว่างการเพาะเชื้อ
- ควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น แสง
4.ควบคุมคุณภาพเชื้อจุลินทรีย์ตลอดการผลิต

ป้องกันกำจัดโรคพืช
-โรคใบเหลือง ใบเหี่ยว
-โรคใบจุด ราน้ำค้าง
-โรคราแป้ง
-โรคราสีชมพู กาบใบแห้ง
-โรคผลเน่า ในพริกทุเรียน
-โรคใบไหม้
-โรคเหี่ยวเขียว เหี่ยวเหลือง
-โรครากเน่าโคนเน่า
-โรคเมล็ดเน่า

กลไกการป้องกันโรคพืช
1.เจริญเติบโต แข่งขัน แย่งอาหาร น้ำ และที่อยู่กับเชื้อราสาเหตุโรคพืช
จึงทำให้เชื้อโรคลดปริมาณ ลงอย่างรวดเร็ว
2.การสร้างสารปฏิชีวนะ มาทำลายผนังเซลล์เชื้อราโรคพืช
ทำให้เส้นใยเชื้อราโรคพืชเกิดการไหม้ และตาย 
3.เป็นปรสิต สร้างเส้นใยพันรัดน้ำเลี้ยงจากเชื้อโรคพืช
ทำให้เส้นใยสลายลดการขยาย เผ่าพันธุ์ลง

สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนม้วนใบ หนอนกอข้าว หนอนกระทู้กล้า ในต้นข้าว และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนม้วนใบ หนอนกอข้าว หนอนกระทู้กล้า ในต้นข้าว และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
หนอนกระทู้กล้า (Rice Seedling armyworm)

การทำลาย หนอนชนิดนี้เข้าทำลายกัดกินกล้าข้าวทำให้เกิดความเสียหาย
ในระยะแรกจะกัดกินผิวใบ
เมื่อโตขึ้นจึงเริ่มกัดกินใบข้าวทั้งใบเหลือไว้แต่ก้านใบ
และจะกัดกินลำต้นกล้าระดับพื้นดิน
โดยความเสียหายทั้งหมดนี้มักเกิดขึ้นในเวลารวดเร็วภายใน 1-2 วันเท่านั้น

การระบาด ประมาณเดือนพฤษภาคมถึงเดือนกันยายน
และปกติหนอนจะกัดกินข้าวในเวลากลางคืน

หนอนกอข้าว (Rice stem borers)

การทำลาย หลังหนอนฟักจากไข่จะเจาะเข้าทำลายกาบใบก่อน
ทำให้กาบใบมีสีเหลืองหรือน้ำตาล ซึ่งจะเห็นเป็นอาการช้ำ ๆ
เมื่อฉีกกาบใบดูจะพบตัวหนอน เมื่อหนอนโตขึ้นจะเข้ากัดกินส่วนของลำต้น
ทำให้เกิดอาการใบเหี่ยวในระยะแรก ใบและยอดที่ถูกทำลายจะเหลืองในระยะต่อมา
ซึ่งการทำลายในระยะข้าวแตกกอนี้ทำให้เกิดอาการ “ยอดเหี่ยว” (deadheart)
ถ้าหนอนเข้าทำลายในระยะข้าวตั้งท้องหรือหลังจากข้าวออกรวงจะทำให้เมล็ดข้าวลีบทั้งรวง
รวงข้าวมีสีขาวเรียกอาการนี้ว่า “ข้าวหัวหงอก” (whitehead)

การระบาด พบระบาดที่แปลงข้าวที่มีการใส่ปุ๋ยอัตราสูง
หรือที่มีดินอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะใต้ร่มเงาต้นไม้รอบแปลงนา

หนอนห่อใบข้าว (Rice leaffolder)

การทำลาย ตัวหนอนจะแทะผิวใบข้าวส่วนที่เป็นสีเขียว
ทำให้เห็นเป็นแถบยาวสีขาว มีผลให้การสังเคราะห์แสงลดลง
หนอนจะใช้ใยเหนียวที่สกัดจากปาก
ดึงขอบใบข้าวทั้งสองด้านเข้าหากันเพื่อห่อหุ้มตัวหนอนไว้หนอนจะทำลายใบข้าว
ทุกระยะการเจริญเติบโตของข้าวถ้าหนอนมีปริมาณมากจะใช้ใบข้าวหลาย ๆ
ใบมาห่อหุ้มและกัดกินอยู่ภายใน
โดยสังเกตใบข้าวห่อหุ้มตัวหนอนมีลักษณะคล้ายหลอด
ซึ่งปกติจะพบตัวหนอนเพียงตัวเดียวในใบห่อนั้น
ในระยะข้าวออกรวงหนอนจะทำลายใบธงซึ่งมีผลต่อผลผลิตเพราะทำให้ข้าวมีเมล็ดลีบ
น้ำหนักลดลง

การระบาด ระบาดมากช่วงฤดูฝน ในขณะที่ข้าวเข้าสู่ระยะแตกกอ

บาซีเร็กซ์ : เชื้อบาซิลลิซ

ช่วยป้องกันและกำจัดแมลงในระยะ หนอน ในสวนไร่และแปลงผัก เช่น

หนอนใยผัก หนอนคืบกะหล่ำ หนอนกระทู้ผัก หนอนกระทู้หอม
หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนร่าน หนอนแปะใบส้ม หนอนไหมป่า
หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด หนอนแก้วส้ม หนอนกินสนสามใบ
หนอนหัวดำมะพร้าว หนอนผีเสื้อ หนอนกินใบผัก หนอนบุ้ง หนอนคืบละหุ่ง

วิธีการใช้งาน

- ผสมน้ำ 75 กรัมหรือ 6 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 20 ลิตร

- ฉีดพ่น ใบ กิ่ง ก้าน และ ลำต้น

- ฉีดพ่นเฉพาะในช่วงเย็นตอนที่มีแดดร่ม ลมสงบ

- ฉีดทุก 3-5 วัน

- สามารถใช้รวมกับเชื้อเมธาไรเซียม และ บิวเวอร์เรีย

- ไม่ควรใช้ร่วมกับยาเคมี

ปลอดภัยต่อพืช สัตว์ และมนุษย์ จึงปลอดภัยต่อผู้บริโภค และผู้ใช้

ไม่มีพิษตกค้างเมื่อพ่น สามารถนำพืชมาบริโภคได้ทันที
มีประสิทธิภาพสูงเมื่อเทียบกับจุลินทรีย์ชนิดอื่นๆ
จึงสามารถใช้แทนสารเคมีกำจัดแมลง ศัตรูพืชได้

❌ไม่ควรผสมเชื้อ บี ที กับสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืช
โดยเฉพาะสารที่ออกฤทธิ์ทำลายเชื้อแบคทีเรีย เช่น
สารปฏิชีวนะและสารประกอบทองแดง คอปเปอร์ คลอไรด์ เป็นต้น❌
ควรฉีดพ่นช่วงเช้าหรือเย็นที่มีแสงแดดอ่อน 06.00-09.00 น. หรือ 16.00-18.00 น.

สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
กำจัดโรคทุเรียนที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา FK-1 เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ในต้นทุเรียน
กำจัดโรคทุเรียนที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา FK-1 เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ในต้นทุเรียน
โรคเชื้อราเป็นภัยคุกคามที่สำคัญต่อการปลูกทุเรียน ซึ่งเป็นผลไม้เมืองร้อนที่มีราคาสูง เพื่อต่อสู้กับโรคเหล่านี้ มีการใช้วิธีการป้องกันและกำจัดหลายวิธี บทความนี้ศึกษาประสิทธิภาพของสารอินทรีย์ 2 ชนิด คือ IS และ FK-1 ในการป้องกันและกำจัดโรคพืชจากเชื้อราในต้นทุเรียน IS เมื่อผสมในอัตรา 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ได้รับการพิสูจน์แล้วว่าสามารถต่อสู้กับเชื้อราได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในทำนองเดียวกัน FK-1 ซึ่งเป็นสูตรบำรุงพืชพร้อมใช้ซึ่งประกอบด้วยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม สังกะสี และสารลดแรงตึงผิว ได้แสดงผลลัพธ์ที่ดีในการป้องกันโรค อัตราส่วนผสมที่แนะนำของ FK-1 คือการใช้ถุงแรกและถุงที่สองอย่างละ 50 กรัม ผสมกับน้ำ 20 ลิตร บทความนี้ประเมินผลกระทบของ IS และ FK-1 ต่อความต้านทานต่อโรคราของต้นทุเรียนผ่านชุดการทดลองและการทดลองภาคสนาม การค้นพบนี้ให้ข้อมูลเชิงลึกที่มีคุณค่าเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้สารประกอบอินทรีย์เหล่านี้เพื่อการเพาะปลูกทุเรียนอย่างยั่งยืนและการจัดการโรค

สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
3562 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 2 รายการ
|-Page 137 of 357-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ไม้ด่าง พันธุ์ไม้ด่าง ใบไหม้ ใบจุด ราสนิม โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/09/13 23:05:05 - Views: 3439
กำจัดเพลี้ย เพลี้ยจักจั่น แมลงศัตรูพืช เชื้อบิวเวอร์เรีย ผสม เชื้อเมธาไรเซียม บิวทาเร็กซ์ ปลอดภัยเพาะเชื้อจาก Lab 100%
Update: 2566/07/22 15:04:28 - Views: 3454
โรคเชื้อราในต้นแคคตัส: วิธีป้องกันและการรักษา
Update: 2566/11/20 09:00:46 - Views: 3409
ข้าวโพด ใบไหม้ ใบจุด ราสนิม กำจัดโรคข้าวโพด จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/20 10:18:27 - Views: 3427
โรคมันสำปะหลังใบไหม้ และโรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู บำรุง สร้างภูมิคุ้มกันโรค 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
Update: 2564/07/09 10:46:51 - Views: 3456
โรคองุ่นเน่าดำ (Black rot) โรคองุ่น
Update: 2564/05/01 12:50:15 - Views: 3448
ฉีดพ่น INVET ป้องกัน กำจัดเพลี้ยแป้ง ศัตรูพืชสำหรับต้นสับปะรด และฟื้นฟูจากการทำลายของเพลี้ย ด้วยปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5
Update: 2567/02/23 10:40:25 - Views: 3430
อะโวคาโด้ ผลใหญ่ ผลดก ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์ 0-0-60 โพแทสเซี่ยม สูตรเร่งผล เพิ่มผลผลิต ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก และคุณภาพ
Update: 2567/04/29 10:32:42 - Views: 3458
มะละกอผลเน่า มะละกอใบไหม้ ราขาวมะละกอ ราดำมะละกอ ควบคุม ป้องกันกำจัด ก่อนโรคจะสร้างความเสียหาย
Update: 2566/11/04 19:44:55 - Views: 9568
โรคมะพร้าวยอดเน่า ใบแห้ง ใช้ ไอเอส และ FK-1
Update: 2566/02/28 13:56:41 - Views: 3531
หนอนเมล่อน แคนตาลูป หนอนชอนใบ หนอนต่างๆใน แคนตาลูป ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
Update: 2564/09/23 21:06:07 - Views: 3521
สตาร์เฟอร์ 3 สูตร: คู่มือการใส่ปุ๋ยสำหรับส้มในแต่ละช่วงอายุ
Update: 2567/02/13 09:03:44 - Views: 3531
โรคราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ เกิดได้กับหลายพืช เร่งควบคุม ป้องกัน กำจัด ลดความเสียหายต่อพืช
Update: 2566/11/04 09:41:04 - Views: 8817
ลิ้นจี่ โตไว ใบเขียว ผลใหญ่ แข็งแรง ผลผลิตดี อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/06 15:15:44 - Views: 3383
การป้องกันและกำจัด โรคราน้ำค้างข้าวโพด ข้าวโพดใบลาย โรคข้าวโพด
Update: 2566/03/08 08:42:52 - Views: 3444
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าด้วงงวงมะพร้าว ในสวนปาล์ม และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/27 10:28:47 - Views: 3506
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 สูตรลับผลใหญ่ ผลดก เพิ่มน้ำหนัก สร้างคุณภาพให้สตรอเบอร์รี่ของคุณ
Update: 2567/03/09 13:50:44 - Views: 3424
โรคใบติดใบไหม้ในต้นทุเรียน ใช้ ไอเอส ยับยั้งโรค และ FK-1 ฟื้นฟูบำรุง
Update: 2565/12/06 06:25:00 - Views: 3440
ป้องกัน กำจัด เพลี้ยอ่อนข้าวโพด เพลี้ยต่างๆ และ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ใช้ได้กับพืชทุกชนิด (1ลิตร ผสมน้ำได้ 400ลิตร)
Update: 2564/08/14 03:08:43 - Views: 3402
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าแมลงหวี่ขาว ในมะเขือ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/02 10:45:09 - Views: 3446
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022