โรคแอนแทรคโนสพบเกิดกับหอมและกระเทียม โรคนี้ไม่เกิดประจำ อาจจะมีการระบาดนาน ๆ ครั้ง เมื่อระบาดหนักกับหอมชาวบ้านเรียกโรคหอมเลื้อย ลักษณะอาการของโรคนี้ ให้สังเกตดูแผลที่เกิดขึ้น แผลจะมีขนาดใหญ่ลุกลามไปตามความยาวของใบ อาจจะเกิดบริเวณโคนใบที่ติดกับลำต้น หรือเกิดส่วนใดส่วนหนึ่งของใบแผลเป็นสีน้ำตาลอ่อน บริเวณแผลจะมีราออกสีชมพูอมส้ม และมีโครงสร้างสีดำเป็นจุดปรากฎเรียงเป็นวงซ้อนกันบริเวณแผล แผลเก่าอาจจะแห้งฉีกขาด ใบพืชจะไม่ตั้งตรงจะเอนล้ม ทำให้ดูเหมือนเลื้อย โรคนี้เกิดจากเชื้อราในสกุลคอลเลทโททริคั่ม (Colletotrichum sp.)
เชื้อราไตรโคเดอร์มาคือเชื้อราที่สามารถนำมาใช้ในการควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี เชื้อราไตรโคเดอร์มาสายพันธุ์หนึ่ง T. harzianum ได้รับการพิสูจน์แล้วว่ามีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคแอนแทรกโนส ซึ่งเป็นโรคเชื้อราที่ส่งผลต่อหัวหอม แบรนด์ Trichorex ซึ่งผลิตโดย BioSafe Systems_ LLC เป็นสูตรของ T. harzianum ที่สามารถใช้เป็นสารควบคุมทางชีวภาพสำหรับโรคแอนแทรคโนสในหัวหอม ผลิตภัณฑ์นี้สามารถช่วยลดปริมาณสารฆ่าเชื้อราที่จำเป็นในการควบคุมโรค และยังอาจปรับปรุงการเจริญเติบโตและผลผลิตของหัวหอม
ไตรโคเร็กซ์ : เชื้อไตรโคเดอร์มา
ช่วยป้องกันและยับยั้งโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา เช่นใบเหลือง รากเน่า
โคนเน่า ไฟท้อปเธอร่าในทุเรียนโรคแคงเกอร์ในส้ม - มะนาว
โรคทลายปาล์มเน่าโรคแอนแทรกโนสใน มะละกอ แตงโม แตงกวาโรคใบจุด ใบแห้ง
โรคกาบใบเน่า โรคกาบใบแห้งโรคไหม้ในข้าว โรคกุ้งแห้งในพริก
โรคผลเน่า
ใช้อย่างไร
1. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นบริเวณกิ่ง ก้าน ใบ หรือราดบริเวณโคนต้น
2. ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อปุ๋ยอินทรีย์ 20 กก.ในการปลูกหรือรองก้นหลุมก่อนปลูก
ไม่ควรผสมใช้ร่วมกับเชื้อบิวเวอร์เรียและเมธาไรเซียม ควรฉีดสลับกันทุก 7-10 วัน
ผลิตภัณฑ์ของเราดีกว่าอย่างไร
1.มีห้องปฏิบัติการเพาะเชื้อจุลินทรีย์
- คัดสายพันธุ์เฉพาะ ผ่านการทดสอบ/วิจัย
- สายพันธุ์เชื้อผ่านการตรวจจาก วว.และ สวทช
2.เชื้อจุลินทรีย์เลี้ยงในอุณหภูมิที่เหมาะสม
- มีตู้บ่มเชื้อควบคุมอุณหภูมิ
- ได้เชื้อจุลินทรีย์สมบูรณ์ แข็งแรง
3.มีห้องสำหรับการเพาะเลี้ยงจุลินทรีย์
- เพื่อลดการปนเปื้อนระหว่างการเพาะเชื้อ
- ควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น แสง
4.ควบคุมคุณภาพเชื้อจุลินทรีย์ตลอดการผลิต
ป้องกันกำจัดโรคพืช
-โรคใบเหลือง ใบเหี่ยว
-โรคใบจุด ราน้ำค้าง
-โรคราแป้ง
-โรคราสีชมพู กาบใบแห้ง
-โรคผลเน่า ในพริกทุเรียน
-โรคใบไหม้
-โรคเหี่ยวเขียว เหี่ยวเหลือง
-โรครากเน่าโคนเน่า
-โรคเมล็ดเน่า
กลไกการป้องกันโรคพืช
1.เจริญเติบโต แข่งขัน แย่งอาหาร น้ำ และที่อยู่กับเชื้อราสาเหตุโรคพืช
จึงทำให้เชื้อโรคลดปริมาณ ลงอย่างรวดเร็ว
2.การสร้างสารปฏิชีวนะ มาทำลายผนังเซลล์เชื้อราโรคพืช
ทำให้เส้นใยเชื้อราโรคพืชเกิดการไหม้ และตาย
3.เป็นปรสิต สร้างเส้นใยพันรัดน้ำเลี้ยงจากเชื้อโรคพืช
ทำให้เส้นใยสลายลดการขยาย เผ่าพันธุ์ลง
สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า
http://ไปที่..link..