[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3518 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 8 รายการ

 
ศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง แมลงช้างปีกใส
ศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง แมลงช้างปีกใส
ชื่อทั่วไป : แมลงช้างปีกใส (Green lacewing)

วงศ์ (Family) : Chrysopidae

อันดับ (Order) : Neuroptera

เป็นแมลงห้ำที่มีบทบาทในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยตัวอ่อนของแมลงช้างปีกใส เป็นตัวห้ำที่กินศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่นเพลี้ยอ่อย เพลี้ยแป้ง ตัวอ่อนเพลี้ยหอย เพลี้ยไฟ เพลี้ยไก่แจ้ส้ม ไรแดง ไร 2 จุด และตัวอ่อนแมลงหวี่ขาว เป็นต้นทำให้แมลงช้างปีกใสเป็น เป็นตัวห้ำสำคัญที่ช่วยควบคุมแมลงศัตรูพืชในแปลงเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจในประเทศ

ตัวเต็มวัยเพศเมีย หลังจากผสมพันธุ์ 2-3 วัน ก็จะเริ่มวางไข่เป็นฟองเดี่ยวๆ ระยะไข่ใช้เวลา 3-4 วัน ระยะตัวอ่อนมี 3 วัย ตัวอ่อนวัยที่ 1_ 2 และ 3 ใช้เวลา 4-5 วัน 3-4 วัน และ 3-5 วัน ตามลําดับ รวมระยะตัวอ่อน 11-13 วัน ระยะดักแด้ 9-11 วัน ตัวเต็มวัยเพศผู้มีอายุ 14-30 วัน สําหรับเพศ เมียมีอายุ 19-58 วัน เพศเมีย 1 ตัว สามารถวางไข่ได้ 180-345 ฟอง

วงจรชีวิตของแมลงช้างปีกใส

รูปร่างลักษณะ

ไข่ มีลักษณะเป็นทรงยาวรี ขนาดเล็ก ความยาวเฉลี่ย 0.98 มิลลิเมตร ความกว้างเฉลี่ย 0.24 มิลลิเมตร เป็นฟองเดี่ยวๆ อยู่บนก้านสีขาวใส วางเป็นระเบียบเป็นแถวรอบใบพืช ไข่วางใหม่ๆ มีสีเขียวอ่อน เมื่อใกล้ฟักจะเปลี่ยนเป็นสีเทาดํา เมื่อฟักแล้วจะเป็นสีขาว มีอายุประมาณ 3-4 วัน

ตัวอ่อน มีลักษณะลําตัวกลมแบน เห็นชัดเจนในระยะที่ 3 โดยรอบลําตัวมีปุ่มขน ปากมีกรามโค้งยาวยื่นไปด้านหน้าคล้ายเคียว ใช้ดูดกินเหยื่อ เมื่อฟักเป็นตัวอ่อนวัยที่ 1 จะเป็นตัวห้ำทันที มีการลอกคราบเปลี่ยนวัย ตัวอ่อนทั้งหมด 3 วัย

ตัวอ่อนวัยที่ 1 เมื่อฟักออกจากไข่ใหม่ๆ มีสีน้ำตาลอ่อน ลําตัวเรียวเล็ก ว่องไว จะไต่ลงมาทางก้านชูไข่ ความยาวลําตัวเฉลี่ย 1.56 มิลลิเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ย 0.48 มิลลิเมตร

ตัวอ่อนวัยที่ 2 รอบลําตัวเริ่มมีซากของเพลี้ยแป้งเกาะ ความยาวลําตัวเฉลี่ย 3.25 มิลลิเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ย 2.32 มิลลิเมตร

ตัวอ่อนวัยที่ 3 ขนาดลําตัวโตอย่างรวดเร็วเห็นได้ชัดกว่าระยะอื่นๆ กินอาหารเก่ง รอบลําตัวมีผงแป้งเกาะ คล้ายเพลี้ยแป้งมาก ความยาวลําตัวเฉลี่ย 7.23 มิลลิเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ย 3.40 มิลลิเมตร

ดักแด้ มีรูปร่างกลม ตัวอ่อนวัย 3 จะขดตัวสร้างเส้นใยสีขาวปกคลุมลําตัว จะเข้าดักแด้ติดกับใบพืช ความกว้างของดักแด้โดยเฉลี่ย 3.02 มิลลิเมตร ความยาวโดยเฉลี่ย 4.67 มิลลิเมตร

ตัวเต็มวัย มีปีก 2 คู่ เป็นปีกแบบบางอ่อน (membrane) เนื้อปีกใส มีเส้นปีกจํานวนมาก ลําตัวสีเขียวอ่อน เพศผู้ มีสีลําตัวจางกว่าเล็กน้อย และตัวเล็กกว่าเพศเมีย ความกว้างลําตัวเพศเมีย เฉลี่ย 2.25 มิลลิเมตร ความยาวลําตัว โดยเฉลี่ย 10.53 มิลลิเมตร ความกว้างลําตัวเพศผู้เฉลี่ย 1.55 มิลลิเมตร ความยาวลําตัวโดยเฉลี่ย 10.01 มิลลิเมตร ตัวเต็มวัยมีกลิ่นเฉพาะตัวค่อนข้างแรง

ที่มา http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3392
การเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง
นอกเหนือจากการปรับปรุงบำรุงดินร่วมกับการอนุรักษ์ดิน และการใช้พันธุ์มันสำปะหลังพันธุ์ดีแล้ว การจัดการดูแลดี โดยเริ่มตั้งแต่ ฤดูการปลูกที่เหมาะสม การเตรียมดินดี การเตรียมท่อนพันธุ์ปลูก ระยะปลูกที่เหมาะสมตลอดจนการใช้ปุ๋ยเคมีในอัตราที่เหมาะสม การกำจัดวัชพืชถือเป็นปัจจัยที่ทำให้ผลผลิตสูงขึ้น โดยเฉพาะการเอาใจใส่ในการเตรียมท่อนพันธุ์จะมีผลทำให้ความอร่อยของมันสำปะหลังสูงขึ้น โดยเฉพาะการเอาใจใส่ในการเตรียมท่อนพันธุ์จะมีผลทำให้อัตราความอยู่รอดของมันสำปะหลังสูงขึ้น

การคัดเลือกท่อนพันธุ์สมบูรณ์

1. ต้องใช้ท่อนพันธุ์ที่มีอายุ 8-14 เดือน โดยสังเกตจากสีของลำต้นที่จะเปลี่ยนแปลง เป็นสีเข้มเมื่อมีอายุ มากขึ้น และไม่มีโรคแมลงติดมา

2. ต้องเก็บรักษาต้นพันธุ์ให้ดี หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว ควรรีบนำต้นพันธุ์ไปปลูกทันที หากจำเป็นต้องเก็บรักษาต้นพันธุ์ไว้ทำพันธุ์ต่อไป สามารถทำได้โดยตั้งกองพันธุ์ไว้กลางแจ้งในแนวตั้ง ให้ส่วนของโคนสัมผัสผิวดิน หรือใช้ดินกลบโคนและกองไม่ให้ใหญ่เกินไป เพื่อให้อากาศถ่ายเท ซึ่งวิธีการดังกล่างจะสามารถเก็บรักษาต้นพันธุ์ได้ 15-30 วัน หรือนานถึง 2 เดือน แต่ถ้าเก็บรักษาไว้นานต้นจะแห้งจากส่วนปลายลงมา และตาจะแตกทำให้ได้จำนวนท่อนพันธุ์ที่สมบูรณ์น้อยลง

3. ต้องใช้ส่วนกลางของลำต้น ควรเป็นส่วนกลางของลำต้นที่ไม่อ่อนหรือแก่จนเกินไป

4. ต้องตัดท่อนที่มีความยาวเหมาะสม ในช่วงต้นฤดูฝน ควรใช้ท่อนพันธุ์ขนาด 20 เซนติเมตร และช่วงปลายฝน ควรใช้ท่อนพันธุ์ขนาด 25-30 เซนติเมตร (ควรมีตาอย่างน้อย 5-7 ตา) ส่วนการสับท่อนพันธุ์ ควรสับให้เฉียงเล็กน้อย และหลีกเลี่ยงให้ตาบนท่อนพันธุ์ช้ำ หรือถูกกระทบกระเทือน

5. วิธีการปลูกที่เหมาะสม

ควรปลูกแบบปักตรงหรือเอียงเล็กน้อย เป็นวิธีให้ผลผลิตสูงความลึกในการปักท่อนพันธุ์ลงในดินประมาณ 8-10 เซนติเมตร แต่ไม่ควรปักลึกมากและควรมีการตรวจสอบความงอกหลังปลูกเพื่อให้ซ่อมได้ทันเวลา

ที่มา http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3405
ปลูกมันสำปะหลังอย่างไร ให้ได้ผลผลิตสูง
ปลูกมันสำปะหลังอย่างไร ให้ได้ผลผลิตสูง
การปลูกมันสำปะหลังให้ได้ผลผลิตสูงนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย ดังนั้นวันนี้จะแนะนำให้ทุกคนได้รู้จักกับ คุณอนันต์ บุญสมปอง บ้านเลขที่ 64/4 หมู่ 2 ต.จอระเข้เผือก อ.ด่านมะขามเตี้ย จ.กาญจนบุรี อดีตรองผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน ปัจจุบันได้ผันมาเป็นเกษตรกรเต็มตัว ซึ่งสามารถผลิตมันสำปะหลังสดได้ 2_000 ตันต่อปี บนพื้นที่กว่า 700 ไร่ รายได้เฉลี่ยปีละ 3_400_000 บาทต่อปี เรามาดูเทคนิคการเพาะปลูกมันสำปะหลังของเกษตรกรท่านนี้กันว่าปลูกอย่างไรให้ได้ผลผลิตสูง

ปฏิทินการเพาะปลูกมันสำปะหลัง

โดย7 วันก่อนเริ่มทำการเตรียมดิน คุณอนันต์ จะทำการโรยขี้วัวผสมขี้ไก่ที่ผ่านการตากแดดแล้วลงแปลงเพาะปลูก ทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้นแทนการใส่ปุ๋ยรองพื้นก่อนการปลูก หลังจากนั้นจึงเริ่มทำการเพาะปลูกและดูแลรักษามันสำปะหลังตามปฏิทินการเพาะปลูก โดยขั้นตอนการดูแลรักษามันสำปะหลังของคุณอนันต์นั้น จะพิเศษกว่าเกษตรกรท่านอื่น คือ การให้อาหารเสริมทางใบ เพื่อป้องกันการระบาดของเพลี้ยแป้งและเพลี้ยไฟ นอกจากนั้นยังช่วยสร้างแป้งให้กับมันสำปะหลังได้โดยตรง ซึ่งจะทำการฉีดพ่นในช่วงเวลาเช้าประมาณ 10 โมง หรือหลัง 5โมงเย็น เนื่องจากเป็นช่วงที่ปากใบพืชเปิดเต็มที่ทำให้พืชสามารถใช้ประโยชน์จากอาหารเสริมได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเมื่ออายุมันสำปะหลังครบ 18 เดือน จะทำการเก็บเกี่ยวทันที เนื่องจากมันสำปะหลังมีการสะสมแป้งเต็มที่ และมีน้ำหนักสูงสุด ทำให้ได้ราคาขายที่สูง

แต่ถ้าหากมันสำปะหลังที่มีอายุเกิน 10 เดือนขึ้นไปได้รับผลกระทบจากภัยแล้งต้องทำการเก็บเกี่ยวทันทีอีกหนึ่งเคล็ดลับที่สำคัญของคุณอนันต์ คือการปลูกมันสำปะหลังต่อทันที เพื่อป้องกันมันสำปะหลังกระทบแล้ง และลดการเกิดวัชพืชในแปลง ถือว่าเป็นอีกหนึ่งวิธีที่สามารถช่วยลดต้นทุนในการผลิตได้อีกด้วย โดยการปลูกวิธีนี้ไม่ต้องทำการพักแปลง แต่ก่อนการปลูกต้องใส่ปุ๋ยรองพื้น เพื่อเพิ่มธาตุอาหารในดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ และที่ขาดไม่ได้สำหรับการดูแลรักษามันสำปะหลังฉบับคุณอนันต์ นั้นก็คือการให้อาหารเสริมทางใบ

เทคนิคพิเศษสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง

1. พื้นที่ที่ทำการปลูกมันสำปะหลังมาแล้วอย่างน้อย 2 ปี จะต้องทำการเปลี่ยนพืชปลูกเป็นอ้อยหรือพืชบำรุงดิน เพื่อป้องกันการระบาดของโรคและแมลง และยังเป็นการเพิ่มปุ๋ยในดินได้อีกด้วย

2. วิธีการคัดเลือกท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง คือ ปราศจากโรค _ปราศจากแมลง _อายุ 12 เดือนขึ้นไป และไม่มีบาดแผลที่บริเวณท่อนพันธุ์

จากบทความจะเห็นได้ว่า ถ้าหากเกษตรกรใส่ใจรายละเอียดตั้งแต่ขั้นตอนการเตรียมดิน การปลูก การดูแลรักษา การเก็บเกี่ยว และการจัดการหลังการก็บเกี่ยว สามารถเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุน และเพิ่มกำไร ให้กับเกษตรกรได้อย่างมาก

ที่มา http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3385
การขยายพันธุ์มันสำปะหลัง แบบเร่งรัด ได้ต้นพันธุ์เพิ่มและปลอดโรคใบด่าง
การขยายพันธุ์มันสำปะหลัง แบบเร่งรัด ได้ต้นพันธุ์เพิ่มและปลอดโรคใบด่าง
ประเทศไทยพบโรคใบด่างมันสําปะหลังครั้งแรกในปี พ.ศ. 2561 โดยมีพื้นที่ระบาดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลเสียหายอย่างมากต่อเกษตรกรและอุตสาหกรรมมันสําปะหลังของประเทศ เนื่องจากโรคใบด่างมันสําปะหลังส่งผลให้ผลผลิตมันสําปะหลังลดลง 20 - 80 เปอร์เซ็นต์


โดยการควบคุมโรคใบด่างมันสําปะหลังสามารถทําได้ ดังนี้

1) กําจัดแมลงหวีขาวยาสูบซึ่งเป็นพาหะนําโรค

2) เมื่อพบต้นที่เป็นโรคต้องทําลายทิ้งทันที

3) ไม่ปลูกโดยใช้ท่อนพันธุ์จากต้นที่เป็นโรค

ดังนั้นในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคเกษตรกรจึงจําเป็นต้องทําลายต้นที่เป็นโรคและเร่งหาต้นพันธุ์ที่ปลอดโรคมาปลูกทดแทน ส่งผลให้ต้นพันธุ์ที่ปลอดโรคไม่เพียงพอต่อความต้องการ การเลือกใช้ท่อนพันธุ์ที่สะอาดปลอดโรค จึงเป็นวิธีการควบคุมโรคใบด่างมันสําปะหลังที่กรมส่งเสริมการเกษตรสนับสนุนและส่งเสริม โดยเฉพาะการให้เกษตรกรขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด เพื่อให้มีท่อนพันธุ์ปลอดโรคที่เพียงพอและลดความเสียหายดังกล่าว

การขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X20

หมายถึง การขยายพันธุ์มันสําปะหลังที่ได้ต้นพันธุ์เพิ่มขึ้น 20 เท่า เป็นวิธีการที่สามารถทําได้ง่าย โดยในระยะเวลา 1 เดือน จะได้ต้นพันธุ์มันสําปะหลังถึง 20 ต้น ซึ่งมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นจากวิธีขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเดิมซึ่งมันสําปะหลัง 1 ลํา จะขยายพันธุ์ได้เพียง 4 - 5 ต้นเท่านั้น

วิธีการขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X20 มีขั้นตอน ดังนี้

1. เลือกใช้ต้นพันธุ์จากแหล่งที่เชื่อถือได้หรือได้รับการรับรองพันธุ์เป็นท่อนพันธุ์มันสําปะหลังสะอาด

2. ใช้เลื่อยหรือมีดคมตัดให้เป็นท่อนยาวท่อนละ 6-8 เซนติเมตร (โดยให้มีตาประมาณ 2 - 3 ตา)

3. นําสารเคมีป้องกันกําจัดแมลง ไทอะมีโทรแซม 4 กรัม ที่ละลายในน้ำสะอาด 20 ลิตร เติมสารป้องกัน เชื้อราแมนโคเซบ 60 กรัม และเติมฮอร์โมนเร่งราก (B1) 40 มิลลิลิตร แล้วนําท่อนพันธุ์ที่เตรียมไว้ลงไปแช่อย่างน้อย 10 นาที

4. จากนั้นนําวางบนตะกร้า ผึ่งลมให้แห้งก่อนนําไปปักชํา

5. นําท่อนพันธุ์ลงปักชําในถุงหรือถาดหลุม ลึก 1 ใน 3 ของท่อนพันธุ์ ให้ตา 1 ตาอยู่ใต้ดินและ 1 ตาอยู่ เหนือดิน โดยวัสดุในการปักชําประกอบด้วย ขี้เถ้าแกลบ ทรายหยาบ ปุ๋ยอินทรีย์ ผสมกันในอัตราส่วน 10: 2: 1 นําใส่ถุงดํา ขนาด 3 x 7 นิ้ว หรือใส่ถาดหลุมขนาด 50 หลุม (ถาดหลุมมีข้อดี คือ ใช้ได้หลายครั้ง ขนย้ายสะดวก)

6. นําถุงหรือถาดที่ปักชําแล้วไปวางในโรงเรือนที่คลุมด้วยตาข่าย เพื่อป้องกันแมลงและรดน้ำทุกวัน วันละ 1 ครั้ง

7. ท่อนพันธุ์จะเริ่มแตกตาและออกรากภายใน 1 สัปดาห์ เมื่อครบ 3 สัปดาห์ จะมีรากที่สมบูรณ์เพียงพอที่จะปลูก ให้นําถุงหรือถาดเพาะชําออกวางกลางแดดให้ต้นปรับสภาพอีก 7 วัน ก่อนนําปลูกในแปลงปลูกต่อไป

8. เมื่อปลูกแล้วควรให้น้ำทันที ปลูกในฤดูฝนให้น้ำทุกวัน อย่างน้อย 1 สัปดาห์ และหากปลูกในพื้นที่ไม่มีฝน ให้น้ำทุกวัน อย่างน้อย 1 เดือน

การขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X80

คือการนํายอดที่แตกใหม่จากลําต้นที่ได้จากวิธีการขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X20 มาขยายพันธุ์ ซึ่งวิธีการนี้จะเพิ่มปริมาณต้นพันธุ์จากการขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X20 ได้ถึง 4 เท่า (อย่างน้อย 80 เท่าจากต้นพันธุ์เริ่มต้น)

วิธีการขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X80 มีขั้นตอน ดังนี้

1. เลือกท่อนพันธุ์จากการขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X20 ความยาวท่อน 6 - 8 เซนติเมตร ในการผลิตต้นแม่พันธุ์

2. นําท่อนพันธุ์ที่เตรียมไว้ปลูกลงในกระถาง หลังจากท่อนพันธุ์แตกยอดที่อายุ 30 - 45 วัน ให้ตัดยอด โดยมีความยาวยอดประมาณ 10 เซนติเมตร จะได้ยอดอย่างน้อย 1 ยอดต่อท่อนพันธุ์ โดยเก็บท่อนพันธุ์เดิมไว้ในกระถางดูแลตามปกติ

3. นําต้นแม่พันธุ์ที่ได้จากการตัดยอดลงไปปักชำ ในวัสดุปักชําแล้วไปวางในโรงเรือนที่คลุมด้วยตาข่าย เพื่อป้องกันแมลง

4. รดน้ำทุกวัน วันละ 1 ครั้ง โดยรากจะเริ่มออกภายใน 2 สัปดาห์ และพร้อมพัฒนาเป็นต้นกล้าใหม่เมื่อครบ 4 สัปดาห์ จากนั้นนําถาดเพาะชําออกวางกลางแดดเพื่อปรับสภาพอีก 7 วัน ก่อนนําไปปลูกในแปลงปลูก

5. เมื่อปลูกแล้วควรให้น้ำทันที ปลูกในฤดูฝนให้น้ำทุกวัน อย่างน้อย 1 สัปดาห์ และหากปลูกในพื้นที่ไม่มีฝนให้น้ำทุกวัน อย่างน้อย 1 เดือน

6. ท่อนพันธุ์ที่ผ่านการตัดยอดในขั้นตอนที่ 2 จะเจริญเติบโตได้ยอดใหม่ ให้ดําเนินการตามขั้นตอนที่ 3 - 5 ซ้ำอีกครั้ง จนกระทั่งท่อนพันธุ์หมดอายุการใช้งาน (ไม่แตกยอดใหม่)

หมายเหตุ : โรงเรือนเพาะชําที่ดีควรปรับความชื้นในอากาศ ให้อยู่ที่ 60 - 70 เปอร์เซ็นต์ และควบคุมอุณหภูมิภายในโรงเรือนให้อยู่ที่ 30 - 35 องศาเซลเซียส เพื่อให้ท่อนพันธุ์ที่ปักชํามีอัตราการงอกเกิน 90 เปอร์เซ็นต์

หากเกษตรกรหันมาขยายพันธุ์มันสําปะหลังแบบเร่งรัด X20 และ X80 ซึ่งเป็นวิธีการที่สามารถทําได้ง่าย และมีประสิทธิภาพ นอกจากจะได้ท่อนพันธุ์ปลอดโรคที่เพียงพอแล้วยังปลอดจากโรคใบด่างมันสําปะหลังอีกด้วย

ที่มา http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3414
การจัดการเพลี้ยแป้ง และเพลี้ยหอย ในไม้ผล โดยวิธีผสมผสาน
การจัดการเพลี้ยแป้ง และเพลี้ยหอย ในไม้ผล โดยวิธีผสมผสาน
อ่าน:3470
สาระน่ารู้เกี่ยวกับค่า REI
สาระน่ารู้เกี่ยวกับค่า REI
อ่าน:3372
การยืดอายุการวางจำหน่ายผลลำไยหลังการเก็บเกี่ยว
การยืดอายุการวางจำหน่ายผลลำไยหลังการเก็บเกี่ยว
อ่าน:3376
พันธุ์มันสำปะหลังทนทานโรคใบด่าง
พันธุ์มันสำปะหลังทนทานโรคใบด่าง
อ่าน:3434
การใช้ปูนเพื่อปรับปรุงดิน
การใช้ปูนเพื่อปรับปรุงดิน
อ่าน:3366
โรคไหม้ข้าว
โรคไหม้ข้าว
อ่าน:3379
3518 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 351 หน้า, หน้าที่ 352 มี 8 รายการ
|-Page 249 of 352-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
กระท้อน ใบจุด กำจัดโรคกระท้อน จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวย ปุ๋ย ศัตรูพืช
Update: 2565/11/10 10:33:03 - Views: 3424
โรคกุหลาบ โรคใบจุด ราแป้ง ราสนิม โรคหนามดำ โรคตากบ โรคกุหลาบจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส
Update: 2564/12/18 23:12:53 - Views: 3598
กำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช ในไม้ดอกไม้ประดับ ด้วย มาคา สารอินทรีย์
Update: 2564/06/07 10:54:35 - Views: 3524
โรคราแป้ง กำจัดโรค ในทุเรียน โรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อราสกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติ
Update: 2566/05/22 11:30:06 - Views: 3396
ยาฆ่าเพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด ใน กระเจี๊ยบเขียว เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/03/16 10:49:37 - Views: 3383
ต้นกำเนิดปุ๋ย
Update: 2567/01/02 05:29:22 - Views: 3411
โรคทานตะวัน และแมลงศัตรูทานตะวัน
Update: 2564/05/10 11:34:26 - Views: 3486
ที่สุดของ ปุ๋ยเร่งผล เพิ่มขนาด-น้ำหนัก สำหรับพืชออกผลทุกชนิด โพแทสเซียม มากถึง 40% ผลโต น้ำหนักดี โปรดอ่านวิธีใช้
Update: 2565/02/11 19:04:57 - Views: 3378
ควบคุมวัชพืชในสวนทับทิมด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG): วิธีการและประสิทธิภาพที่สูง
Update: 2567/01/25 14:33:43 - Views: 3421
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยไฟ แมลงศัตรู ผักสลัด ผักไฮโดรโปนิกส์ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/09 10:52:21 - Views: 3440
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนเจาะขั้วผลเงาะ ใน เงาะ และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/14 15:36:37 - Views: 3428
ยากำจัดโรคแอนแทรคโนส ใน มะเขือเปราะ โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/12 11:44:46 - Views: 3410
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าแมลงหวี่ขาว ในดอกลีลาวดี และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/03 10:37:51 - Views: 3426
กำจัดหนอน ลีลาวดี หนอนเจาะลำต้นลีลาวดี ป้องกันกำจัดด้วย ไอกี้ บำรุง ฟื้นตัวด้วย FK-T
Update: 2565/07/23 08:19:23 - Views: 3422
กำจัดเพลี้ย เพลี้ยไก่แจ้ แมลงศัตรูพืช เชื้อบิวเวอร์เรีย ผสม เชื้อเมธาไรเซียม บิวทาเร็กซ์ ปลอดภัยเพาะเชื้อจาก Lab 100%
Update: 2566/07/22 11:14:36 - Views: 3405
แก้เพลี้ยมะละกอ เพลี้ยไฟ ไรแดง เพลี้ยอ่อน ใช้มาคา โรครามะละกอ ราแป้ง ใบด่าง ใบจุด แอนแทรคโนส ใช้ ไอเอส
Update: 2563/02/17 11:20:22 - Views: 3499
โรคกล้วยไม้ โรคแอนแทรคโนสกล้วยไม้ กล้วยไม้ใบไหม้ กล้วยไม้เป็นเชื้อรา
Update: 2564/02/24 11:04:37 - Views: 3425
ปุ๋ย เอฟเค 1 ไอเอส มาคา ไอกี้-บีที อาการใบเหลืองในทุเรียน และพืชอื่นๆ
Update: 2567/06/27 08:54:32 - Views: 228
ระวัง !! โรคราสนิม ในต้นถั่วลิสง สร้างเสียหายได้มาก ป้องกันได้อย่างไร?
Update: 2566/10/31 14:24:49 - Views: 3428
หนอนขี้เหล็ก บุกโรงเรียน กลับกลายเป็นผีเสื้อโบยบิน ที่สวยงาม
Update: 2564/08/14 22:17:13 - Views: 3449
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022