[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | All contents
3569 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 9 รายการ

 
โรคปาล์ม : โรคที่เกิดกับปาล์มประดับ และปาล์มน้ำมั้น รวมถึงปาล์มสายพันธุ์ต่างๆ
โรคปาล์ม : โรคที่เกิดกับปาล์มประดับ และปาล์มน้ำมั้น รวมถึงปาล์มสายพันธุ์ต่างๆ
โรคใบไหม้ ปาล์มใบไหม้
โรคปาล์ม_ โรคใบใหม่_ โรคปาล์มน้ำมันลักษณะอาการ: โรคใบใหม้

โรคใบไหม้ (Curvularia Seeding Blight) เป็นโรคสำคัญ พบมากในช่วงระยะต้นกล้าปาล์ม และพบในระยะที่ลงแปลงปลูกในช่วง 1 ปีแรก

อาการของโรค มักพบอาการบนใบอ่อน..

อ่านต่อ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3455
เพลี้ยไฟมะม่วงกับวิธีกำจัดและป้องกัน
เพลี้ยไฟมะม่วงกับวิธีกำจัดและป้องกัน
มะม่วงดอกร่วง มะม่วงไม่ติดผล มะม่วงปลายใบไหม้
ส่วนการเข้าทำลายในระยะติดดอก จะทำให้ช่อดอกหงิกงอ ดอกร่วงไม่ติดผล หรือทำให้ติดผลน้อย การเข้าทำลายบนยอดอ่อน จะทำให้ใบที่แตกใหม่แคระแกร็น..
อ่านต่อ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3508
การป้องกันและกำจัด เพลี้ยไฟ (rice thrips)
การป้องกันและกำจัด เพลี้ยไฟ (rice thrips)
ลักษณะการทำลายและ การระบาดของเพลี้ยไฟ
เพลี้ยไฟปกติจะระบาดหนักในช่วงอากาศร้อนชื้นหรือช่วงปลายฤดูฝนและต้นฤดูฝน เป็นหลัก วงจรชีวิตตั้งแต่ไข่ถึงตัวเต็มวัยประมาณ 20-30 วัน ระยะไข่ถึงตัวอ่อนประมาณ 3-5 วัน ก็เป็นตัวอ่อน ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยสามารถดูดกินน้้าเลี้ยงจากส่วนอ่อนของพืชได้โดยวิธีเขี่ยและดูด (การเขี่ยท้าให้ผลเป็นแผล) ตัวเต็มวัยเพศเมีย 1 ตัว สามารถวางไข่ได้ 100-500 ฟอง ตัวเมียสามารถวางไข่ได้ทั้งได้รับการผสมพันธุ์จากตัวผู้ และสามารถวางไขได้

อ่านต่อ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3421
โรคหม่อนกินผล โรคหม่อนไหม และการป้องกันกำจัด
โรคหม่อนกินผล โรคหม่อนไหม และการป้องกันกำจัด
โรคที่เข้าทำลายต้นหม่อนส่วนใหญ่เป็นพวก เชื้อรา แบคทีเรีย ไวรัส ฯลฯ ซึ่งโรคที่กล่าวมาแล้วมีเชื้อราเป็นสาเหตุให้เกิดโรคมากที่สุด แต่ เนื่องจากหม่อนเป็นพืชยืนต้น ลักษณะ อาการบางโรคไม่ปรากฏอยู่อย่างชัดเจน แต่โรคอาจสะสมจนกระทั่งแสดงอาการอย่างร้ายแรงทำให้ต้นหม่อนตายได้ โรคจะทำอันตรายหม่อนมากน้อยขึ้นอยู่กันสภาพแวดล้อม และการจัดการตั้งแต่การปลูก ดูแลรักษา เก็บเกี่ยว ฯลฯ การจะลดความเสียหายจากโรคจึงจำเป็นต้องทำให้สภาพแวดล้อมเหมาะสม โรคหม่อนที่สำคัญมีดังนี้

อ่านที่ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3404
โรคราแป้งทุเรียน (Powdery Mildew) ป้องกัน กำจัดราแป้งทุเรียน ด้วย ไอเอส
โรคราแป้งทุเรียน (Powdery Mildew) ป้องกัน กำจัดราแป้งทุเรียน ด้วย ไอเอส
สาเหตุของ โรคราแป้งทุเรียน

โรคราแป้งที่เกิดกับทุเรียนนั้น มีสาเหตุมาจาก เชื้อราออยเดียม (Oidium sp.)

ลักษณะอาการของ โรคราแป้งทุเรียน

พบกลุ่มของเชื้อราสีขาวมีลักษณะคล้ายฝุ่นแป้งปกคลุมผิวเปลือกทุเรียน เชื้อสามารถเข้าทำลายผลทุเรียนได้ตั้งแต่เริ่มติดผลอ่อนจนกระทั่งผลแก่จำหน่ายได้ ซึ่งการเข้าทำลายของเชื้อในระยะติดผลใหม่ๆก็อาจจะทำให้ผลอ่อนนั้นร่วงหล่นได้ หรือถ้าเป็นกับผลที่กำลังเจริญเติบโตก็จะทำให้สีผิวของทุเรียนผิดปกติไม่เป็นที่ต้องการของตลาดและผู้บริโภค นอกจากนี้ยังทำให้ราคาผลผลิตตกต่ำลงการแพร่ระบาด เชื้อราแพร่ระบาดทางลมในระยะที่อากาศเย็นและแห้งแล้ง

การป้องกันกำจัด โรคราแป้งทุเรียน

ในแหล่งปลูกที่สภาพแวดล้อมเอื้ออำนวยต่อการระบาดของโรค เกษตรกรควรตรวจตราผลทุเรียนในแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ
ฉีดพ่นสารอินทรีย์ ไอเอส สำหรับป้องกันกำจัด โรคราแป้ง ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ให้ทั่วบริเวณ ระดับป้องกัน เดือนละครั้ง ระดับการรักษา ทุก 3-7 วัน
บำรุงต้นทุเรียน ให้เติบโต สมบูรณ์แข็งแรงอยู่เสมอ ด้วยการฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ครบถ้วนตามที่ต้นทุเรียนต้องการ

อ่านที่ http://www.farmkaset..link..
โรคใบจุดสนิม (Agal Spot) ที่เกิดกับทุเรียน
โรคใบจุดสนิม (Agal Spot) ที่เกิดกับทุเรียน
ลักษณะอาการของโรคใบจุดสนิม

พบจุดฟูสีเขียวแกมเหลือง ขอบของจุดเหล่านี้จะไม่เรียบ และมีลักษณะเป็นแฉก ๆ เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสม จุดจะขยายใหญ่ และเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแกมส้มหรือสีสนิม ที่พบไม่มีผลกระทบที่รุนแรงต่อการเจริญของทุเรียน นอกจากจะบดบังเนื้อที่ใบที่ใช้ในการสังเคราะห์แสงให้น้อยลง

การแพร่ระบาดของ โรคใบจุดสนิม ทุเรียน

ระบาดมากในแปลงทุเรียนที่มีทรงพุ่มแน่นทึบ และสภาพความชื้นสูง

การป้องกันกำจัด โรคทุเรียนใบจุดสนิม

ตัดแต่งกิ่งทุเรียนให้เหมาะสม
ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
ฉีดพ่นด้วย FK-1 ปุ๋ยธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม เพื่อบำรุงให้ฟื้นตัวเร็ว และเจริญเติบโตไว ให้ผลผลิตดี

อ่านที่ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3565
มะพร้าวยอดเน่า โรคใบจุดมะพร้าว และการป้องกันกำจัด
มะพร้าวยอดเน่า โรคใบจุดมะพร้าว และการป้องกันกำจัด
โรค มะพร้าวยอดเน่า (Heart leaf rot)

เกิดจากเชื้อรา Pythium sp. และมักเกิดกับมะพร้าวพันธุ์ที่นำเข้าจากต่างประเทศ เช่น พันธุ์มลายูสีเหลืองต้นเตี้ย โรคนี้มกพบบ่อยในระยะต้นกล้า ในสภาพที่มีฝนตกชุก และอากาศมีความชื้นสูง
ลักษณะอาการ

ระยะแรกจะพบแผลเน่าสีดำบริเวณตรงโคนยอด จากนั้นจะขยายลุกลามต่อไปจนทำให้ใบย่อยทั้งใบแห้งเป็นสีน้ำตาล สามารถดึงหลุดออกได้ง่าย ต้นกล้าจะเหี่ยวเฉาและแห้งตายไปในที่สุด หากเกิดกับมะพร้าวใหญ่ อาจมีทางใหม่เกิดขึ้นแต่ใบจะผิดปกติ ก้านทางจะสั้น มีใบย่อยเล็กๆ เกิดเฉพาะบริเวณปลายก้านทาง
การป้องกันกำจัด

ในการย้ายต้นกล้าอย่าพยายามให้หน่อช้ำ เพราะโรคอาจจะเข้าทำลายได้ง่าย หากพบอาการของโรคในระยะแรกให้ตัดส่วนที่เป็นโรคออก แล้วฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน และยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ทุก 7 ถึง 15 วัน ต้นกล้าหรือส่วนที่โรคทำลายให้เผาทำลายให้หมดเพื่อป้องกันการทำลายต่อไป

โรคใบจุดมะพร้าว (Helminthosporium leaf rot)

เกิดจากเชื้อรา Helminthosporium sp. โรคนี้จะทำความเสียหายให้แก่มะพร้าวในระยะต้นกล้ามากและลุกลามอย่างรวดเร็ว
ลักษณะอาการ

เริ่มแรกจะเกิดจุดแผลสีเหลืองอ่อน ขนาดหัวเข็มหมุด ต่อมาจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง มีวงสีเหลืองล้อมรอบแผลจะขยายใหญ่ออก มีลักษณะค่อนข้างกลม กลางแผลจะมีจุดสีน้ำตาลแดง ขอบแผลสีน้ำตาลเข้ม ในที่สุดจะขยายรวมกันทำให้ใบแห้ง ต้นมะพร้าวชงักการเจริญเติบโตและตายในที่สุด
การป้องกันกำจัด

ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา ทุก 7-15 วัน
นอกจากนี้ยังมีโรคอื่นๆ เช่น โรคตาเน่า(Bud rot) โรคโคนผุ (Stem bleeding) โรคใบจุดสีเทา (Grey leaf spot) โรคก้านทางแตก (Frond Break) โรครากเน่า (Root rot) เป็นต้น โรคดังกล่าวนี้แม้ว่าจะพบในแหล่งปลูกมะพร้าวมากแต่ก็ไม่พบทำความเสียหายให้แก่มะพร้าวมากนัก

อ่านที่ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3843
โรคใบติดหรือใบไหม้ในทุเรียน มีสาเหตุจาก เชื้อราไรซอกโทเนีย (Rhizoctonia sp.) รักษาได้ด้วย ไอเอส
โรคใบติดหรือใบไหม้ในทุเรียน มีสาเหตุจาก เชื้อราไรซอกโทเนีย (Rhizoctonia sp.) รักษาได้ด้วย ไอเอส
สาเหตุ ของโรคใบติด หรือโรคใบไหม้ ในทุเรียน นั้นเกิดจาก เชื้อราไรซอกโทเนีย (Rhizoctonia sp.)

ลักษณะอาการของโรคใบติดทุเรียน

พบแผลคล้ายน้ำร้อนลวกบนใบ บริเวณกลางใบหรือขอบใบ ต่อมาแผลขยายตัวลุกลามและ
เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ขนาดและรูปร่างแผลไม่แน่นอนเชื้อราจะแพร่ไปยังใบอื่นที่ติดกันโดยการสร้างเส้นใยของเชื้อรายึดใบให้ติดกัน ทำให้เกิดอาการใบแห้งเป็นหย่อม ๆ และใบจะค่อย ๆ ร่วงหล่นลงยังโคนต้นเหลือแต่กิ่ง ซึ่งต่อมาจะค่อย ๆ แห้ง ทำให้ต้นทุเรียนเสียรูปทรง และมีการเจริญเติบโตที่ไม่สมบูรณ์

การแพร่ระบาดของโรคใบติดทุเรียน

เชื้อราสามารถพักตัวอยู่ในดินได้เป็นเวลานาน โดยอาศัยเศษซากพืช และแพร่ระบาดเข้าทำลายพืชระยะใบอ่อน โดยเฉพาะในช่วงในตกชุก

การป้องกันกำจัดโรคใบติดทุเรียน

1. ตัดแต่งกิ่งทุเรียนให้เหมาะสม โดยให้มีความชื้นในปริมาณที่ต้นทุเรียนเจริญเติบโตได้ดี และมีความชื้นในทรงพุ่มไม่เหมาะต่อการเข้าทำลายของเชื้อโรค

2. ในช่วงทุเรียนแตกใบอ่อนควรหมั่นสำรวจอาการของโรค หากพบโรคควรตัดกิ่งที่เป็นโรคออก นำไปเผานอกแปลงปลูก และพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

3. เก็บและรวบรวมเศษใบเป็นโรคที่ร่วงหล่นอยู่บริเวณโคนต้น แล้วนำไปเผาทำลายเพื่อลดปริมาณ เชื้อโรคในแปลงปลูกให้น้อยลง

4. ในแปลงปลูกที่ความชื้นสูง และมีการระบาดของโรคเป็นประจำ ควรใส่ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนต่ำ เพื่อลดความอุดมสมบูรณ์ของการแตกใบ

อ่านต่อที่ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3770
ป้องกัน รักษา ทุเรียนยอดแห้ง ทุเรียนก้านธูป โรคยอดไม้กวาดทุเรียน
ป้องกัน รักษา ทุเรียนยอดแห้ง ทุเรียนก้านธูป โรคยอดไม้กวาดทุเรียน
อาการ ต้นทุเรียนแคระ ใบบิดม้วน หลุดร่วง ทุเรียนยอดแห้ง โรคทุเรียนก้านธูป ทุเรียนยอดไม้กวาด อาจเกิดได้จากหลายสาเหตุดังนี้

ระบบรากฝอยทุเรียน ทำงานไม่เต็มที่

อาจมีสาเหตุจากความแห้งแล้ง อากาศร้อน หรือสภาพภูมิอากาศไม่เหมาะสม ดินเสื่อม หรือสภาพดินไม่ดี มีความเป็นกรด หรือด่าง ในค่า pH ที่ไม่เหมาะสม อาการนี้ แก้ไขโดยให้ปุ๋ยทางใบ ที่มีธาตุอาหารครบถ้วน เช่น ปุ๋ย FK-1

เกิดจากโรคทุเรียน หรือเชื้อราต่างๆ เข้าทำลายทุเรียน

โรครากเน่า โคนเน่า กิ่งเน่า โรคใบไหม้ โรคไฟทอปธอร่า โรคแอนแทรคโนส โรคใบติด โรคราสีชมพู โรคราแป้ง โรคราดำ เป็นต้น สามารถป้องกัน กำจัดโรคทุเรียนต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อราได้ ด้วย

อ่านที่ http://www.farmkaset..link..
โรคใบไหม้ มันสำปะหลังใบไหม้
โรคใบไหม้ มันสำปะหลังใบไหม้
รคใบไหม้ ในมันสำปะหลัง
(Cassava Bacterial Blight : CBB)

เกิดจากเชื้อ Xanthomonas campestris pv. manihotis มีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศบราซิลในปี 2455 หลังจากนั้นมีรายงานการแพร่ระบาดเกือบทุกประเทศที่มีการปลูกมันสำปะหลังทั้งทวีปเอเชีย และลาตินอเมริกา ในประเทศไทยพบครั้งแรกที่จังหวัดระยอง เมื่อปี 2518 และต่อมาพบทั่วทุกภาค ระดับความเสียหายเนื่องจากโรคนี้มีตั้งแต่ 30 เปอร์เซ็นต์ เมื่อใช้ท่อนพันธุ์จากต้นที่เป็นโรค ถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเกิดโรคและใช้ต้นพันธุ์ที่เป็นโรคติดต่อกัน 3 ถึง 4 ปี โดยไม่มีการป้องกันกำจัด อาจมีความเสียหายถึง 80 เปอร์เซ็นต์ ระดับความเสียหายจะขึ้นอยู่กับเปอร์เซ็นต์การใช้ท่อนพันธุ์ที่มีเชื้อปะปนมา (Contaminated cutting) ปลูกในแปลงและความเสียหายอาจรุนแรงถึง 90 เปอร์เซ็นต์ เมื่อมีเชื้อโรค เช่น เชื้อ Colletrotrichum spp. และ Choanephora cucurbitarum ร่วมเข้าทำลาย นอกจากจะทำความเสียหายกับผลผลิตโดยตรงแล้วยังทำให้..

อ่านที่ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3408
3569 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 356 หน้า, หน้าที่ 357 มี 9 รายการ
|-Page 324 of 357-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 | 214 | 215 | 216 | 217 | 218 | 219 | 220 | 221 | 222 | 223 | 224 | 225 | 226 | 227 | 228 | 229 | 230 | 231 | 232 | 233 | 234 | 235 | 236 | 237 | 238 | 239 | 240 | 241 | 242 | 243 | 244 | 245 | 246 | 247 | 248 | 249 | 250 | 251 | 252 | 253 | 254 | 255 | 256 | 257 | 258 | 259 | 260 | 261 | 262 | 263 | 264 | 265 | 266 | 267 | 268 | 269 | 270 | 271 | 272 | 273 | 274 | 275 | 276 | 277 | 278 | 279 | 280 | 281 | 282 | 283 | 284 | 285 | 286 | 287 | 288 | 289 | 290 | 291 | 292 | 293 | 294 | 295 | 296 | 297 | 298 | 299 | 300 | 301 | 302 | 303 | 304 | 305 | 306 | 307 | 308 | 309 | 310 | 311 | 312 | 313 | 314 | 315 | 316 | 317 | 318 | 319 | 320 | 321 | 322 | 323 | 324 | 325 | 326 | 327 | 328 | 329 | 330 | 331 | 332 | 333 | 334 | 335 | 336 | 337 | 338 | 339 | 340 | 341 | 342 | 343 | 344 | 345 | 346 | 347 | 348 | 349 | 350 | 351 | 352 | 353 | 354 | 355 | 356 | 357 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
กำจัดเชื้อรา ลองกอง ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/17 10:48:59 - Views: 3400
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าไรแดง ในมะเขือ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/02 12:21:01 - Views: 3539
การป้องกันและรักษาโรคเชื้อราในต้นพริก
Update: 2566/05/01 14:48:42 - Views: 3574
การปลูกดอกทานตะวัน ปลูกเป็นไร่ หรือปลูกรอบบ้าน
Update: 2565/11/08 12:22:06 - Views: 3637
เทคนิค การปลูกฟักทอง ง่าย ๆ ได้ผลผลิตดีงาม
Update: 2564/08/09 05:04:41 - Views: 3797
การจัดการดินและระบบการปลูกมันสำปะหลัง
Update: 2553/02/20 10:47:38 - Views: 3836
โรคข่าเหลือง โรคหัวเน่าในข่าเหลือง
Update: 2564/08/29 23:18:01 - Views: 3743
ยากำจัด เพลี้ย สำหรับ มะเขือเทศ เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ แมลงหวี่ขาว ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/09/19 23:12:20 - Views: 3468
วิธีปลูกทุเรียนอย่างละเอียด ตั้งแต่การคัดเลือกพันธุ์ ไปจนถึงการเก็บเกี่ยว
Update: 2564/05/31 08:12:06 - Views: 6127
มันสำปะหลังใบไหม้ โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มีอาการใบจุดเหลี่ยมฉ่ำน้ำ ใบไหม้ และใบเหี่ยว มียางไหล ยอดแห้ง ยอดเหี่ยว
Update: 2563/06/14 13:33:53 - Views: 3571
การป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ในขนุน และป้องกันขนุนผลเน่า ป้องกันขนุนผลไหม้
Update: 2566/01/31 09:49:09 - Views: 3588
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยแป้ง ในฝรั่ง และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/06 12:00:28 - Views: 3513
การควบคุมโรคพืช และแมลงศัตรูพืช ด้วยสารสกัดสมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพ
Update: 2564/08/13 11:44:44 - Views: 3628
การป้องกันและรักษาโรคเชื้อราในต้นหม่อน: แนวทางการดูแลและการใช้สารป้องกันกำจัดโรค
Update: 2566/11/21 09:16:00 - Views: 3499
ถั่วเหลือง โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ขยายขนาด ผลใหญ่ ผลดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/04/01 15:42:12 - Views: 3469
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น แตงกวา ผลใหญ่ ดกเต็มต้น น้ำหนักดี ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/02/28 14:15:13 - Views: 3503
โรคพืช จะรุนแรงขึ้น เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสมกับการระบาด และ พืชอ่อนแอ ดูแลพืชให้แข็งแรง ก็ต้านทานต่อโรคได้ เหมือนคนที่แข็งแรง
Update: 2564/08/19 22:28:57 - Views: 3415
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบจุดนูน ใน ยางพารา ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/17 12:39:52 - Views: 3466
การจัดการหนอนผีเสื้อศัตรูพืช: วิธีแก้ปัญหาและป้องกันความเสียหายในสวนและแปลงปลูก
Update: 2566/11/16 14:22:42 - Views: 3736
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราแป้ง ในกัญชา กัญชง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/21 09:48:20 - Views: 3543
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022