[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - ข้าว
631 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 63 หน้า, หน้าที่ 64 มี 1 รายการ

โรคใบไหม้แผลเล็ก ในข้าวโพด ข้าวโพดใบไหม้ เกิดจากเชื้อรา Bipolaris maydis (Nisik.) Shoemaker. การป้องกันกำจัด
โรคใบไหม้แผลเล็ก ในข้าวโพด ข้าวโพดใบไหม้ เกิดจากเชื้อรา Bipolaris maydis (Nisik.) Shoemaker. การป้องกันกำจัด
โรคใบไหม้แผลเล็ก ในข้าวโพด ข้าวโพดใบไหม้ เกิดจากเชื้อรา Bipolaris maydis (Nisik.) Shoemaker. การป้องกันกำจัด
โรคข้าวโพดใบไหม้แผลเล็ก (Southern Corn Maydis Leaf Blight)
การระบาดของโรคนี้ในประเทศไทยมีเสมอทุกปีและระบาดเพิ่มมากขึ้นในหลายพื้นที่จนถึงปัจจุบัน โดยมีความรุนแรงกับข้าวโพดสายพันธุ์แท้ (Inbred line) บางสายพันธุ์ ข้าวโพดหวานข้าวโพดเทียน ข้าวโพดข้าวเหนียว เป็นต้น

ลักษณะอาการ โรคใบไหม้แผลเล็กในข้าวโพด
ระยะแรกจะเกิดจุดเล็ก ๆ สีเขียวอ่อนฉ่ำน้ำ ต่อมาจุดจะขยายออกตามความยาวของใบ โดยจำกัดด้านกว้างของแผลขนานไปตามเส้นใบตรงกลาง แผลจะมีสีเทา ขอบแผลมีสีเทาน้ำตาล ขนาดของแผลไม่แน่นอน แผลที่ขยายใหญ่เต็มที่มีขนาดกว้าง 6-12 มิลลิเมตร และยาว 6-27 มิลลิเมตร ในกรณีที่ใบข้าวโพดเป็นโรครุนแรง แผลจะ..

http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3163
ปลูกมันสำปะหลังก็กระจายความเสี่ยงได้
ปลูกมันสำปะหลังก็กระจายความเสี่ยงได้
คนที่ปลูกมันสำปะหลังอยู่ หลายคนคงเคยเจอคำถามว่า ปลูกทำไมในเมื่อขาดทุน ทำไมไม่หันไปปลูกพืชอย่างอื่นที่ได้เงิน เป็นคำถามเดียวกับคนทำนา ที่รู้ว่าข้าวขายไม่ได้ราคาและขายแต่ข้าวเปลือก คำตอบก็คงเป็นเพราะ ก็มันเป็นอาชีพที่บรรพบุรุษพาทำ และมีผืนดืนทั้งไว้ให้ลูกหลานได้ทำการเกษตร และเหนือจากนั้นคือ..

อ่านต่อ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3004
ข้าวใบไหม้ ข้าวเน่าคอรวง พบได้ทั้งใน นาปรัง และนาปี มีสาเหตุจากเชื้อรา รักษาด้วย ไอเอส บำรุงด้วย FK-1
ข้าวใบไหม้ ข้าวเน่าคอรวง พบได้ทั้งใน นาปรัง และนาปี มีสาเหตุจากเชื้อรา รักษาด้วย ไอเอส บำรุงด้วย FK-1
โรคไหม้ข้าว (Rice Blast Disease)
“ข้าวใบไหม้“_ “ใบจุดข้าว“_ “ข้าวใบจุดสีน้ำตาล” พบมาก ในนาน้ำฝน ข้าวพันธุ์พื้นเมืองไวต่อช่วงแสง พบส่วนใหญ่ใน ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และ ภาคใต้

สาเหตุของ โรคไหม้ข้าว คือเชื้อรา Pyricularia grisea Sacc..

อ่านต่อ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3049
ขั้นตอนการปลูกข้าวโพดหวาน วิธีปลูกข้าวโพด การให้น้ำข้าวโพดหวาน
ขั้นตอนการปลูกข้าวโพดหวาน วิธีปลูกข้าวโพด การให้น้ำข้าวโพดหวาน
ขั้นตอนการปลูกข้าวโพดหวาน วิธีปลูกข้าวโพด การให้น้ำข้าวโพดหวาน
วิธีการปลูกและการให้น้ำข้าวโพดหวาน

แม้ว่าการปลูกข้าวโพดหวานสามารถทำได้ตลอดปีถ้ามีแหล่งน้ำเพียงพอ อย่างไรก็ตามผลผลิตและคุณภาพข้าวโพดหวานอาจจะแตกต่างไปตามฤดูกาล นอกจากนี้พันธุ์บางพันธุ์อาจตอบสนองต่อฤดูปลูกแตกต่างกัน โดยทั่วไปในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ์ จะให้ผลผลิตต่ำกว่าในช่วงอื่น ๆ เนื่องจากอากาศเย็น ขณะที่การปลูกในเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม จะได้ผลผลิตดีกว่าช่วงอื่น ๆ ไม่มีโรคราน้ำค้างระบาดและปัญหาวัชพืชซึ่งจะน้อยกว่าการปลูกในช่วงเดือนกรกฎาคมถึงสิงหาคม เพราะผลผลิตบางส่วนอาจเสียหายได้เนื่องจากช่วงดังกล่าวฝนตกชุก อาจทำให้เกิดน้ำท่วมหรือน้ำขังในแปลงปลูกได้ง่าย โดยเฉพาะในแปลงที่มีระบบการระบายน้ำไม่ดี
การเตรียมดิน

ในการปลูกข้าวโพดหวานควรมีการเตรียมดินอย่างดี เพื่อช่วยกำจัดวัชพืชย่อยเศษซากพืชและคลุกเคล้าอินทรียวัตถุ อีกทั้งยังเป็นการทำลายโรคและแมลงบางชนิดที่เป็นศัตรูข้าวโพด โดยทั่วไปการเตรียมดินควรปฏิบัติ ดังนี้

1. ไถด้วยผาลสาม 1 ครั้ง ลึก 20-30 เซนติเมตร และตากดิน 7-10 วัน แล้วพรวนด้วยผาลเจ็ด 1 ครั้ง แล้วคราดเก็บเศษซาก ราก เหง้า หัว ไหล ของวัชพืชออกจากแปลงให้หมด

2. เก็บตัวอย่างดินเพื่อวิเคราะห์ ถ้าพบว่าดินมีความเป็นกรดต่ำกว่า 5.5 ให้หว่านปูนขาว อัตรา 100-200 กิโลกรัมต่อไร่แล้วพรวนกลบ จากนั้นปล่อยทิ้งไว้ประมาณ 14 วัน ก่อนปลูกข้าวโพดหวาน

3. ถ้าดินมีอินทรียวัตถุต่ำกว่า 1.5 ให้ใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกที่ย่อยสลายดีแล้ว อัตรา 500-1_000 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วพรวนดินกลบ

วิธีการปลูก

เมล็ดพันธุ์ที่นำมาปลูกควรมีความงอกสูงกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ หยอด 1 เมล็ดต่อหลุม โดยใช้เมล็ดพันธุ์ประมาณ 1.0-1.2 กิโลกรัมต่อไร่ แต่ถ้าเมล็ดพันธุ์มีความงอกต่ำกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ ควรหยอดเมล็ด 1-2 เมล็ดต่อหลุม และหยอดลึกประมาณ 3-5 เซนติเมตร ซึ่งใช้เมล็ดพันธุ์ประมาณ 1.5-2.0 กิโลกรัมต่อไร่ เนื่องจากพันธุ์ข้าวโพดหวานที่มีอยู่ในปัจจุบันยังไม่ต้านทานต่อโรคราน้ำค้าง ดังนั้นก่อนปลูกทุกครั้งต้องคลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารเมตาแลกซิล อัตรา 7 กรัมต่อเมล็ด 1 กิโลกรัม เพื่อป้องกันโรคราน้ำค้าง สำหรับอัตราปลูกที่เหมาะสมของข้าวโพดหวานเพื่ออุตสาหกรรมการแปรรูปควรอยู่ในช่วง 8_500-11_00 ต้นต่อไร่ ซึ่งการจัดระยะปลูกสามารถทำได้โดย

1. ใช้ระยะระหว่างแถว 75 เซนติเมตร และระยะระหว่างต้น 20-25 เซนติเมตร เมื่อข้าวโพดมีอายุประมาณ 10-14 วัน ถอนแยกให้เหลือ 1 ต้นต่อหลุม จะได้จำนวนต้นประมาณ 8_533-10_667 ต้นต่อไร่

2. ใช้ระยะระหว่างแถวและระยะระหว่างต้นเท่ากัน คือ ประมาณ 40 เซนติเมตร เมื่อข้าวโพดมีอายุประมาณ 10-14 วัน ถอนแยกให้เหลือ 1 ต้นต่อหลุม จะได้จำนวนต้นประมาณ 10_000 ต้นต่อไร่

การให้น้ำ

การขาดน้ำทุกระยะการเจริญเติบโตจะมีผลให้ผลผลิตและคุณภาพของข้าวโพดลดลง ก่อนการปลูกเกษตรกรต้องมีการวางแผนวิธีการให้น้ำที่เหมาะสมกับสภาพแปลงปลูก โดยทั่วไปการให้น้ำมีหลักปฏิบัติ ดังนี้

1. ให้น้ำทันทีหลังปลูกและหลังการใส่ปุ๋ยทุกครั้ง หลังจากนั้นให้น้ำทุก 7-12 วัน ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ วิธีการให้น้ำที่เกษตรกรปฏิบัติมีอยู่ 2 แบบ คือ ให้น้ำตามร่องคูและให้น้ำแบบพ่นฝอย (Sprinkler) ซึ่งการให้น้ำแบบพ่นฝอยควรให้น้ำแต่ละครั้งประมาณ 35-40 มิลลิลิตร ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิอากาศและชนิดของดิน เช่น ถ้าดินที่ใช้ปลูกเป็นดินทรายหรือดินร่วน ควรให้น้ำถี่กว่าดินเหนียวหรือดินร่วนเหนียว เพราะดินดังกล่าวมีความสามารถในการเก็บความชื้นไว้ นอกจากนี้ในช่วงการเจริญเติบโต หากสภาพอากาศมีอุณหภูมิสูงหรือมีลมแรงก็ควรมีการให้น้ำถี่ขึ้น

2. หากพบว่าใบข้าวโพดหวานเหี่ยวหรือม้วนในช่วงเช้าหรือเย็น แสดงว่าขาดน้ำต้องรีบให้น้ำทันที

3. หลังการให้น้ำต้องระวังไม่ให้น้ำท่วมขังในแปลงนานเกิน 24 ชั่วโมง เพราะข้าวโพดหวานจะชะงักการเจริญเติบโต ผลผลิตลดลงหรืออาจตายได้

4. อย่าให้ข้าวโพดขาดน้ำในช่วงการเจริญเติบโต โดยเฉพาะในช่วงผสมเกสรและติดเมล็ด เพราะจะทำให้ผลผลิตและคุณภาพผลผลิตลดลงอย่างมาก ถึงแม้การขาดน้ำจะเป็นช่วงสั้น ๆ และไม่รุนแรง

5. หยุดให้น้ำก่อนเก็บเกี่ยวข้าวโพดหวานประมาณ 2-3 วัน

แหล่งข้อมูลอ้างอิง kubotasolutions.com/ knowledge/corn/detail/313
อ่าน:3614
แก้โรคใบไหม้ รักษาโรคใบไหม้ด้วยยาอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีทางใบ (ปุ๋ยเคมี ไม่ได้อันตรายเหมือนยาเคมี)
แก้โรคใบไหม้ รักษาโรคใบไหม้ด้วยยาอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีทางใบ (ปุ๋ยเคมี ไม่ได้อันตรายเหมือนยาเคมี)
แก้โรคใบไหม้ รักษาโรคใบไหม้ด้วยยาอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีทางใบ (ปุ๋ยเคมี ไม่ได้อันตรายเหมือนยาเคมี)
ในปัจจุบัน การรักษาอาหารโรคใบไหม้ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ในพืชใบเขียวต่างๆทุกชนิด ประสิทธิภาพของยาอินทรีย์ในปัจจุบันนั้น ไม่ได้ด้อยกว่ายาเคมีเลย และที่สำคัญ ยาอินทรีนั้นปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ไม่มีสารตกค้างที่เป็นอันตราย

โรคใบไหม้ เกิดได้กับพืชทั่วไป พืชใบเขียวทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็น ไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชสวน พืชไร่ ก็เกิดอาการโรคใบไหม้ ที่มีสาเหตุจากเชื้อราได้ในทุกๆพืช ไม่ว่าจะเป็นไม้ผลอย่าง ทุเรียน เงาะ ลำไย มังคุด พืชเศรษฐกิจอย่างเช่น ยางพารา ปาล์มน้ำมัน พืชไร่อย่างเช่น นาข้าว กาแฟ มันสำปะหลัง ข้าวโพด ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พืชผักสวนครัวต่างๆ เช่น พริก ก็เป็นได้ทั้งโรคกุ้งแห้ง แคงเกอร์ ใบไหม้ ใบเหี่ยว กะหล่ำ กวางตุ้ง พืชตระกูลแตงต่างๆ แตงกวา แตงโม แตงร้าน แตงไทย แคลตาลูป ฯลฯ อีกมากมายเลย ล้วนแล้วแต่มีปัญหาโรคใบไหม้ ได้ทั้งนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงอาการร้อน ชื้น อบอ้าว โรคใบไหม้ มีสาเหตุจากเชื้อรา ซึ่งเชื้อรานี้ สามารถแพร่กระจายไปตามลมที่พัดพา ไปติดในพื้นที่ต่างๆ จึงลุกลามได้อย่างรวดเร็ว

การป้องกัน รักษาโรคใบไหม้ ในพืชที่ปลูก
- หากเป็นการเริ่มปลูกรอบใหม่ การไถพลิกดินตากแดดสองสัปดาห์ ช่วยฆ่าเชื้อราในดินได้เป็นอย่างดี

- หากเป็นพืชที่มีสายพันธุ์หลากหลาย เช่น มันสำปะหลัง หรือยางพารา สามารถศึกษา เลือกใช้พันธุ์ที่ต้านทานต่อโรคได้สูง

- การเว้นระยะห่างของการปลูกพืชอย่างเพียงพอ ให้แดดส่องถึง อาการถ่ายเทได้ดี เป็นการทำให้สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม ต่อการเจริญเติบโตของเชื้อรา

- การให้น้ำในเวลาเช้าตรู่ เพื่อให้พืชมีเวลาแห้งระหว่างวัน

- เมื่อพบ โรคใบไหม้ ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อ ผสมกับ FK-1 ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด ทุก 3-5 วัน ในช่วงของการรักษา ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง และหากพื้นที่รอบข้าง หรือแปลงข้างเคียงยังมีการระบาด ควรฉีดพ่นป้องกันอย่างต่อเนื้อง ทุกๆ 7 หรือ 15 หรือ 30 วัน ตามความรุนแรงของการระบาด

สั่งซื้อสินค้าได้ที่ http://www.farmkaset..link..
ดูโบรชัวร์ ข้อมูลรายะเอียดสินค้า คลิกที่นี่
หรือโทรสั่งซื้อได้ที่ 090-592-8614
หรือไลน์ไอดี FarmKaset
หรือสั่งซื้อที่เพจ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..
หรือที่ ช็อปปี้ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:4600
คำนิยม - ขอบคุณ คุณอนิรุทธิ์ จากเพชรบูรณ์ ใช้ ไอเอส มาคา FK-1 แก้ปัญหาโรคใบไหม้ และเพลี้ยไฟในนาข้าว
คำนิยม - ขอบคุณ คุณอนิรุทธิ์ จากเพชรบูรณ์ ใช้ ไอเอส มาคา FK-1 แก้ปัญหาโรคใบไหม้ และเพลี้ยไฟในนาข้าว
คำนิยม - ขอบคุณ คุณอนิรุทธิ์ จากเพชรบูรณ์ ใช้ ไอเอส มาคา FK-1 แก้ปัญหาโรคใบไหม้ และเพลี้ยไฟในนาข้าว
ลูกค้าท่านนี้ อยู่ จ.เพชรบูรณ์ พบปัญหาโรค ไหม้ข้าว หรืออาการข้าวใบไหม้ และเพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดดในนาข้าว สั่งซื้อ ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคเชื้อรา เพื่อแก้ปัญหาโรคใบไหม้ พร้อมด้วย มาคา แก้ปัญหาเพลี้ยต่างๆ และ FK-1 เพื่อช่วยส่งเสริม ให้ข้าวฟื้นตัวจากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงได้เร็วยิ่งขึ้น ภาพด้านล่าง ทางลูกค้าได้เก็บภาพและส่งกลับมาให้ทางเพจของเรา ขอบคุณลูกค้าเป็นอย่างมากเลยนะคะ

สำหรับท่านที่สนใจสั่งซื้อได้ที่ http://www.farmkaset..link..
ไลน์ไอดี FarmKaset
โทร 090-592-8614
อ่าน:3005
จอมปลวกที่เห็นตามท้องไร่ท้องนา ใช้ฉีดย่อยสลายฟางข้าวได้ ยับยั้งโรคพืชได้อีกด้วย

จอมปลวกที่เห็นตามท้องไร่ท้องนาหรือตาม "โพน" บ้านเรา ไม่เคยรู้มาก่อนเลยว่า จะมีคุณอนันต์ขนาดนี้นะคะ

1. ใช้ฉีดเพื่อย่อยสลายฟางข้าวได้
2. สามารถย่อยสลายธาตุฟอสฟอรัสที่ตกค้างในดินได้ ทำให้พืชนำธาตุ P มาใช้ประโยชน์ได้
3. ช่วยยับยังโรคใบขาว และทำให้ข้าวแตกยอดใหม่ได้เร็ว ทำให้ข้าวฟื้นตัวได้เร็วจากการที่โดนเพลี้ยกระโดดเข้าทำลาย
4. ช่วยเร่งการเจริญเติบโตของรากพืชได้เป็นอย่างดี

สุดยอดใหมค่ะ ขอบคุณเจ้าของข้อมูลดีแบบนี้จริงๆค่ะ "ฟาร์มสุข สวนกระแส"

จากโพสของ https://www.facebook.com/primfarmkaset

อ่าน:3035
ฟาร์มเกษตร ให้ความรู้การเพิ่มผลผลิต ข้าว และมันสำปะหลังให้กับพี่น้องเกษตรกร
ฟาร์มเกษตร ให้ความรู้การเพิ่มผลผลิต ข้าว และมันสำปะหลังให้กับพี่น้องเกษตรกร
วันที่ 28 กพ 2552 ฟาร์มเกษตร ได้เดินทางไปให้ความรู้การเพิ่มผลผลิต ข้าว และมันสำปะหลังให้กับพี่น้องเกษตรกรอำเภอตระการพืชผล จังหวัดอุบลราชธานี ได้รับความสนใจจากพี่น้องเกษตรกรจำนวนมาก
อ่าน:2986
ปุ๋ยสำหรับข้าว ปุ๋ยเพิ่มผลผลิตข้าว ยาแก้โรคใบไหม้ เน่าคอรวง ยากำจัดเพลี้ยในนาข้าว
ปุ๋ยสำหรับข้าว ปุ๋ยเพิ่มผลผลิตข้าว ยาแก้โรคใบไหม้ เน่าคอรวง ยากำจัดเพลี้ยในนาข้าว
การให้ปุ๋ยข้าว เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดีนั้น ต้องให้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารเหมาะสม สอดคล้องกับช่วงอายุของการเจริญเติบโตของข้าว ยกตัวอย่างเช่น ในช่วงข้าวเริ่มงอก ไปจนก่อนตั้งท้อง เราควรให้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารที่เน้นไปทางส่งเสริมการเจริญเติบโต ส่งเสริมระบบราก เพื่อให้ดูดกินอาหารได้ดี และเพิ่มความเขียว เพื่อให้ต้นข้าวสังเคราะห์แสงได้ดี ทำให้ข้าวโตไวและแข็งแรง หากเราเน้นให้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารที่เร่งกระบวนการเพิ่มผลผลิตในช่วงนี้ จะสิ้นเปลือง เพราะต้นข้าวจะไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่

ในทางกลับกัน ในระยะข้าวตั้งท้อง ควรลดปริมาณการให้ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูง และเพิ่มโพแตสเซียมให้มากขึ้น เพื่อที่จะส่งเสริมกระบวนการลำเลียงสะสมแป้งและน้ำตาล เพื่อให้ข้าวออกรวงได้ยาว มีเมล็ดเต็ม มีน้ำหนัก ส่งผลให้ผลผลิตข้าวมีคุณภาพ และได้ผลผลิตในปริมาณที่สูงขึ้น

ฉีดพ่นด้วย FK-1 สำหรับข้าวหลังปลูก ไปจนถึงก่อนข้าวตั้งท้อง สามารถฉีดพ่นได้ต่อเนื่องทุกๆ 7-15 วัน เพื่อช่วยเร่งการเจริญเติบโต เร่งการแตกกอ เพิ่มความเขียวสมบูรณ์ แข็งแรงให้กับต้นข้าว

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

ข้าวเริ่มตั้งท้อง เปลียนมาฉีดพ่นด้วย FK-3R ซึ่งมีคุณสมบัติแตกต่างจาก FK-1 ตรงที่ FK-3R นั้น เน้นธาตุโพแตสเซียมสูง 40 เปอร์เซ็นต์ โพแตสเซียมนี้ จะส่งเสริมกระบวนการลำเลียง เคลื่อนย้ายแป้งและน้ำตาล มาสะสมเป็นเมล็ดข้าว ข้าวที่เราปลูกนั้นจะมีรวงยาว เมล็ดเต็ม ได้ผลผลิตดี มีน้ำหนัก อัตราการใช้ FK-3R นั้น เป็นเช่นเดียวกันกับ FK-1 สามารถฉีดพ่นได้ต่อเนื่องทุกๆ 7-15 วัน ตามความเหมาะสมของผู้ปลูก

ยายับยังโรคข้าวต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
โรคไหม้ โรคใบจุดสีน้ำตาล โรคใบขีดสีน้ำตาล โรคใบวงสีน้ำตาล โรคกาบใบแห้ง โรคกาบใบเน่า โรคเมล็ดด่าง โรคขอบใบแห้ง โรคใบแถบแดง โรคกล้าเน่า โรคลำต้นเน่า
ฉีดพ่นด้วย ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด

ยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูข้าว
เพลี้ยไฟข้าว เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยกระโดดหลังขาว เพลี้ยจักจั่นสีเขียว เพลี้ยจักจั่นปีกลายหยัก
ใช้ มาคา ยาอินทรีย์ สารอัลคาลอยด์ ป้องกัน กำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูข้าว ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด

ยากำจัดหนอนต่างๆ ในนาข้าว
หนอนกอข้าว หนอนแมลงวันเจาะยอดข้าว หนอนกระทู้กล้า หนอนห่อใบข้าว หนอนปลอกข้าว หนอนกระทู้คอรวง
ใช้ ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ ป้องกันกำจัดหนอน ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด
อ่าน:3089
เกษตรกร จังหวัดพิจิตร ปลูกอินทผลัม 7 ไร่ จากเดิมเคยทำนา ผ่านไปสองปีกว่า รายได้เกินล้าน ยอดสั่งจองล่วงหน้าต่อเนื่อง
เกษตรกร จังหวัดพิจิตร ปลูกอินทผลัม 7 ไร่ จากเดิมเคยทำนา ผ่านไปสองปีกว่า รายได้เกินล้าน ยอดสั่งจองล่วงหน้าต่อเนื่อง
เกษตรกร จังหวัดพิจิตร ปลูกอินทผลัม 7 ไร่ จากเดิมเคยทำนา ผ่านไปสองปีกว่า รายได้เกินล้าน ยอดสั่งจองล่วงหน้าต่อเนื่อง
เกษตรกร จ.พิจิตร ตัดสินใจเลิกทำนาใช้พื้นที่ 7 ไร่ ปลูกอินทผลัมใช้เวลา 2 ปีเศษ ปัจจุบันมีผู้สั่งจองขอซื้อผลผลิตจำนวนมาก คาดรายได้ไม่ต่ำกว่าหลักล้านบาท

ชาตรี อ๊อดหมี “ตั๊ก” อายุ 58 ปี ซึ่งทำแปลงปลูกอินทผลัม อยู่ที่หมู่ 9 ต.สากเหล็ก อ.สากเหล็ก จ.พิจิตร บนพื้นที่ 7 ไร่ ซึ่งเคยเป็นพื้นที่ทำนาปลูกข้าว จากนั้นปรับเปลี่ยนมาปลูกอินทผลัม ทั้งหมดประมาณ 230 ต้น ปลูกระยะ 6 X 6 เมตร เป็นอินทผลัมสายพันธุ์ “บาร์ฮี” หรือ “บัรฮี” เป็นพันธุ์ที่เหมาะสำหรับการทานผลสดโดยเฉพาะ มีแหล่งกำเนิดในประเทศอิรัก ปัจจุบันมีการปลูกกันแพร่หลายในหลายประเทศ กล่าวกันว่า พันธุ์บาร์ฮี เป็น "แอปเปิ้ลแห่งตะวันออกกลาง"

ชาตรี เล่าว่า ได้ไปดูงานนิทรรศการที่ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เชียงใหม่ เกิดความสนใจจึงได้ลงทุนซื้อต้นพันธุ์อินทผลัมเพาะเนื้อเยื่อมาจำนวน 118 ต้น ต้นละ 1_200 บาท อีก 112 ต้น เป็นพันธุ์ที่เพาะเมล็ด พันธุ์แม่โจ้ 36 ซึ่งเป็นสายพันธุ์ไทย ราคาต้นละ 250 บาท พร้อมทั้งลงทุนขุดสระน้ำเอาดินมาถมพื้นที่นา 7 ไร่ ให้เป็นแปลงปลูกอินทผลัม ลงทุนครั้งแรกประมาณ 3-4 แสนบาทเศษ บริหารจัดการใช้ระบบการให้น้ำแบบปล่อยน้ำด้วยระบบท่อใส่ต้นทุกต้น การให้ปุ๋ยพื้นที่ 7 ไร่ 2 ปี ที่ผ่านมาใช้ปุ๋ย 10 กว่ากระสอบเท่านั้น

นอกจากนี้ เฝ้าระวังเรื่องโรคแมลงและหนูนาที่ชอบมากัดกินผลผลิต วิธีป้องกันจะห่อช่อของอินทผลัมด้วยผ้ารี่หรือผ้าตาข่ายพลาสติกแล้วห่อด้านนอกซ้ำด้วยกระดาษฟอยด์ ซึ่งจะห่อในช่วงที่อินทผลัมเริ่มออกช่อและผสมเกสรประมาณเดือน ก.พ.ของทุกปี และต้องมีการตัดแต่งผลเพื่อให้ลูกโตได้ขนาดตามความต้องการ ขณะนี้ปลูกมาเป็นระยะเวลา 2 ปีเศษ ผลผลิตรุ่นแรกที่จะเก็บขายสร้างรายได้ คือราวกลางเดือน ก.ค. 2561

สำหรับเรื่องการตลาดขณะนี้มีผู้สนใจมาจับจองซื้อถึงหน้าสวน โดยจ่ายเงินล่วงหน้ามัดจำไว้แล้วก็มี ซึ่งก็เป็นพ่อค้าและแม่ค้าจาก จ.ปัตตานี นครนายก และ จ.สระบุรี สำหรับราคาซื้อขายเปิดราคาอยู่ที่กิโลกรัมละ 500 บาท พื้นที่ 7 ไร่ ใช้เวลา 2 ปี ปลูกอินทผลัม 230 ต้น ต้นหนึ่งได้ผลผลิตประมาณ 20 กิโลกรัม ดังนั้นจึงคาดว่าจะได้เงินจากการขายผลผลิตอินทผลัมในรุ่นแรกนี้ไม่น้อยกว่า 1 ล้านบาทเศษ ซึ่ง 1 ปี เก็บผลผลิตได้ 1 ครั้ง ดีกว่าการทำนาหลายเท่าตัว

กิตติชาติ ชาติยานนท์ เกษตรจังหวัดพิจิตร กล่าวว่า เกษตรกรรายนี้ถือได้ว่าเป็นผู้มีแนวคิดและใฝ่รู้ศึกษาในการปรับเปลี่ยนจากการปลูกข้าวหันมาปลูกอินทผลัม ซึ่งถือเป็นพืชเศรษฐกิจที่ชาวตะวันออกกลางหรือชาวมุสลิมนิยมบริโภค แต่ขอให้คำแนะนำกับเกษตรกรท่านอื่นๆ ที่สนใจหรือจะทำตามว่า ขอให้ศึกษาข้อมูลให้รอบด้าน ทั้งนี้เพื่อลดอัตราความเสี่ยง ซึ่งถ้าหากสนใจสำนักงานเกษตรจังหวัดพิจิตรก็พร้อมจะเป็นพี่เลี้ยงหรือที่ปรึกษาให้ในเรื่องการทำเกษตรที่ดีและเหมาะสม (GAP)

สำหรับข้อมูลที่ควรรู้เกี่ยวกับอินทผลัม ก็คืออินทผลัม เป็นผลไม้ที่ไม่มีคอเลสเตอรอลและไขมันต่ำ นอกจากนี้เป็นผลไม้ที่อุดมไปด้วยสารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย ได้แก่ วิตามิน A_ วิตามิน B1_ วิตามิน B2_ วิตามิน B6_ วิตามิน K_ แคลเซียม_ ซัลเฟอร์_ เหล็ก_ โพแทสเซียม_ ฟอสฟอรัส_ แมงกานิส_ แมกนีเซียม และน้ำมันโวลาไทล์ แถมยังอุดมไปด้วยไฟเบอร์ ซึ่งช่วยในการลดอาการท้องผูก

ข้อมูลจาก posttoday.com/economy/sme/563538
อ่าน:3015
631 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 63 หน้า, หน้าที่ 64 มี 1 รายการ
|-Page 60 of 64-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
การใช้ Metalaxyl ผสม Starfer Fertilizer 30-20-5 ฉีดพ่นป้องกันและกำจัดโรคในต้นดาวเรือง
Update: 2567/03/01 14:30:01 - Views: 122
หนอนชอนใบส้ม หนอนเจาะผลส้ม หนอนผีเสื้อ หนอนต่างๆในพืชตระกูลส้ม ป้องกันดีที่สุด พบระบาดให้เร่งกำจัด
Update: 2566/11/06 08:56:06 - Views: 8954
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน แตงกวา เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/25 15:01:54 - Views: 3114
ปุ๋ยบอนไซ รักษาโรคบอนไซ ใบเหลือง ใบจุด ใบไหม้ ขาดธาตุ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม #ปุ๋ยบอนไซ #บอนไซใบแห้ง
Update: 2564/11/04 08:01:29 - Views: 2995
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคแอนแทรคโนส ใน แคนตาลูป ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/14 12:58:32 - Views: 3006
คู่มือการดูแลรักษา ป้องกันกำจัดโรคราต่างๆในต้นกาแฟ ราสนิม ราใบจุด ใบไหม้ ฯลฯ
Update: 2566/04/29 14:41:38 - Views: 17084
คำนิยม ขอบคุณลูกค้าท่านนี้ ทำสวนทุเรียน สั่งซื้อ FK-1 ฉีดพ่นทุเรียนต่อเนื่อง
Update: 2564/02/20 00:24:13 - Views: 3063
ฟาร์มิค ฮิวมิค แอซิด สารปรับปรุงดิน ฟื้นระบบราก ปลดปล่อยธาตุอาหาร ช่วยให้อินทผาลัมโตไว ผลผลิตสูง
Update: 2567/02/13 09:45:54 - Views: 142
การป้องกันและกำจัดโรคราสีชมพูในยางพารา
Update: 2566/03/04 10:18:41 - Views: 3045
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มันสำปะหลังใบไหม้ (Cassava Bacterial Blight : CBB)
Update: 2564/08/09 06:40:25 - Views: 3503
ผลกระทบต่อสุขภาพ จากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
Update: 2564/08/12 22:06:31 - Views: 3763
ยากำจัดโรคผลเน่า ใน ลองกอง โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/06 10:52:12 - Views: 7433
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO: เคล็ดลับสำหรับการเร่งการออกดอกและเร่งรากของต้นพริก
Update: 2567/02/12 14:05:19 - Views: 134
โรคข้าวโพด โรคราน้ำค้าง หรือโรคใบลาย (Corn Downy Mildew)
Update: 2564/02/09 22:35:16 - Views: 3140
ผักบุ้ง ใบจุด ราสนิมขาว ราน้ำค้าง รากเน่า โรคราต่างๆ ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วย ปุ๋ย FK-T
Update: 2567/03/28 11:40:59 - Views: 96
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในต้นโกโก้อย่างได้ผล
Update: 2566/05/11 10:16:22 - Views: 3346
หนอนทานตะวัน หนอนเจาะดอกทานตะวัน หนอนต่างๆ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
Update: 2564/09/21 23:16:10 - Views: 3039
ดาวเรืองใบไหม้ ใบแห้ง ดาวเรืองลำต้นเน่า มีสาเหตุจากโรคเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส
Update: 2564/08/10 12:04:23 - Views: 3892
ผักกาดขาว รากเน่า!! ใบไหม้ ใบจุด ใบเหลือง ราน้ำค้าง ราเม็ด โรคราต่างๆ ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วยปุ๋ย FK-T
Update: 2567/03/21 11:14:20 - Views: 91
มะระขี้นก
Update: 2564/08/09 22:31:17 - Views: 3413
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022