[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - ข้าว
631 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 63 หน้า, หน้าที่ 64 มี 1 รายการ

ข้าวขาดธาตุอาหาร สังเกตุได้อย่างไร : ดินขาดธาตุอะไร ส่งตรวจกับ iLab.work
ข้าวขาดธาตุอาหาร สังเกตุได้อย่างไร : ดินขาดธาตุอะไร ส่งตรวจกับ iLab.work
Dobermann and Fairhurst (2000) และกองปฐพีวิทยา (2543) ได้อธิบายสาเหตุและลักษณะอาการขาดธาตุอาหารต่างๆ ตลอดจนวิธีการป้องกันและแก้ไขไว้ดังนี้

1. การขาดไนโตรเจน (Nitrogen deficiency)

ในพืชทั่วไป ไนโตรเจน (N) เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของกรดอะมิโน (Amino acids) กรดนิวคลีอิก (Nucleic acids) นิวคลีโอไทล์ (Nucleotile) และคลอโรฟิลล์ ไนโตรเจนช่วยในการเจริญเติบโตของพืช เพิ่มขนาดใบ เพิ่มจำนวนเมล็ดต่อรวง เพิ่มจำนวนเมล็ดดีต่อรวง และเพิ่มปริมาณโปรตีนในเมล็ด

ไนโตรเจนเป็นธาตุอาหารที่พบว่าขาดในนาข้าวทั่วไป โดยเฉพาะในนาดินทรายที่มีระดับอินทรียวัตถุต่ำเช่นที่พบทั่วไปในภาคตะวันออก เฉียงเหนือ โดยข้าวที่ขาดไนโตรเจนจะมีใบแก่หรือบางครั้งใบทั้งหมดเป็นสีเขียวอ่อน ปลายใบเหลือง ถ้าขาดรุนแรงใบแก่จะตายเหลือเพียงใบอ่อน ใบแคบ สั้นและตั้งตรง มีสีเขียวปนเหลือง การขาดไนโตรเจนมักเกิดในระยะข้าวแตกกอและระยะกำเนิดช่อดอก ซึ่งเป็นระยะที่ข้าวมีความต้องการไนโตรเจนสูง การขาดไนโตรเจนส่งผลให้การแตกกอลดลง ต้นข้าวแคระแกรน แตกกอน้อย มีเมล็ดดีต่อรวงลดลงทำให้ผลผลิตข้าวลดลง อาการขาดไนโตรเจนจะคล้ายกับอาการขาดกำมะถัน แต่การขาดกำมะถันจะไม่พบบ่อยนักและมักแสดงอาการที่ใบอ่อนก่อนจะลามไปทั้งต้น การขาดไนโตรเจนเล็กน้อยยังคล้ายกับการขาดธาตุเหล็ก ต่างกันที่การขาดธาตุเหล็กจะเกิดกับใบอ่อนที่กำลังจะพ้นกาบใบออกมา

สาเหตุของการขาดไนโตรเจนในข้าวเกิดจากดินนามีระดับไนโตรเจนต่ำ การใส่ปุ๋ยไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช ดินขาดน้ำ การใส่ปุ๋ยด้วยวิธีการและเวลาที่ไม่เหมาะสม การสูญเสียไนโตรเจนไปกับผลผลิตที่เก็บเกี่ยว รวมทั้งการที่ดินมีการสูญเสียไนโตรเจนจากขบวนการต่างๆ (Volatilization_ Denitrification_ การถูกชะล้างสู่ดินชั้นล่าง) สูง

การจัดการเพื่อการป้องกันและแก้ไขการขาดไนโตรเจนในข้าวสามารถทำได้โดย

การใส่ปุ๋ยไนโตรเจนให้แก่ข้าว เป็นวิธีการที่รวดเร็วที่สุด โดยข้าวจะตอบสนองต่อปุ๋ยที่ใส่โดยมีใบเขียวขึ้น มีการเจริญเติบโตที่ดีขึ้นหลังจากใส่ปุ๋ย 2–3 วัน อย่างไรก็ตามการตอบสนองนี้จะขึ้นอยู่กับพันธุ์ข้าว ชนิดดิน สภาพภูมิอากาศ ชนิดปุ๋ยและปริมาณที่ใช้ รวมทั้งเวลาและวิธีการที่ใส่

การใช้วัสดุอินทรีย์ เช่นปุ๋ยพืชสด มูลสัตว์ ฟางข้าว เป็นต้น ในการเพิ่มระดับอินทรียวัตถุและความอุดมสมบูรณ์ของดินเพื่อเพิ่มปริมาณ ไนโตรเจนในดินในระยะยาว

ปรับปรุงดินเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนโดยใส่วัสดุที่มีความสามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวก (Cation Exchange Capapcity - CEC) สูง เช่น Zeolite (CEC 200-300 cmol/ดิน 1 กก.)_ Vermiculite (CEC 100-200 cmol/ดิน 1 กก.)

2. การขาดฟอสฟอรัส (Phosphorus deficiency)

ฟอสฟอรัส (P) เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของ Adenosine triphosphate (ATP) นิวคลีโอไทล์ (Nucleotile) กรดนิวคลีอิก (Nucleic acids) และฟอสโฟไลปิด (Phospholipid) ฟอสฟอรัสจะช่วยในการแตกกอ การพัฒนาของราก การออกดอกและการสุกแก่ของข้าว ปุ๋ยฟอสเฟตจะจำเป็นมากสำหรับข้าวที่ระบบรากยังไม่พัฒนาเต็มที่ เช่นหลังการปักดำใหม่ๆ ดังนั้นจึงควรใส่ปุ๋ยฟอสเฟตเป็นปุ๋ยรองพื้นก่อนการปักดำหรือในวันปักดำ

ข้าวที่ขาดฟอสฟอรัสจะแคระแกรน การแตกกอน้อย ใบแคบ สั้น ตั้งตรงและมีสีเขียวเข้ม ลำต้นผอมเรียว ข้าวจะชะงักการเจริญเติบโต จำนวนใบ จำนวนรวงและจำนวนเมล็ดต่อรวงลดลง ใบอ่อนสมบูรณ์ดีแต่ใบแก่จะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลและตายในที่สุด ถ้าพันธุ์ข้าวที่ปลูกสามารถผลิต Anthocyanin ได้ใบอาจเปลี่ยนเป็นสีแดงหรือสีม่วง ในดินที่เป็นกรดการขาดฟอสฟอรัสมักจะเกิดร่วมกับเหล็กเป็นพิษ

สาเหตุของการขาดฟอสฟอรัสเกิดจากการมีระดับ ฟอสฟอรัสในดินนาต่ำหรือถูกตรึงโดยดินจนพืชนำมาใช้ประโยชน์ไม่ได้ (จะเกิดในดินที่เป็นกรดจัด) การใส่ปุ๋ยไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช วิธีการปลูกแบบนาหว่านมีโอกาสทำให้ข้าวขาดฟอสฟอรัสมากกว่าปลูกแบบปักดำเพราะ ต้นข้าวจะหนาแน่นกว่าและมีรากตื้นกว่าข้าวที่ปลูกแบบปักดำ

การจัดการเพื่อการป้องกันและแก้ไขการขาดฟอสฟอรัสสามารถทำได้โดย

ควรไถกลบฟางข้าวลงในแปลง เพราะถึงแม้ว่าปริมาณฟอสฟอรัสในฟางข้าวจะมีน้อย แต่จะช่วยรักษาระดับฟอสฟอรัสในดินในระยะยาว

ใส่ปุ๋ยฟอสเฟต ปุ๋ยคอกและวัสดุอินทรีย์อื่นๆ ให้กับข้าวอย่างพอเพียง เพื่อชดเชยกับธาตุอาหารที่สูญเสียไปจากการเก็บเกี่ยวผลผลิต

3. การขาดโพแทสเซียม (Potassium deficiency)

โพแทสเซียม (K) มีส่วนสำคัญในการเคลื่อนย้ายสารอาหารหรือผลผลิตจากการสังเคราะห์แสง ในพืช โพแทสเซียมจะช่วยทำให้ผนังเซลล์แข็งแรง เพิ่มพื้นที่ใบและปริมาณคลอโรฟิลล์ ชะลอการร่วงของใบ ช่วยเพิ่มจำนวนเมล็ดและจำนวนเมล็ดดีต่อรวง เพิ่มน้ำหนักเมล็ด แต่ไม่ช่วยในการแตกกอ

ข้าวที่ขาดโพแทสเซียมต้นจะแคระแกรน การแตกกอลดลง ใบสั้น เหี่ยวแห้ง ใบโน้มลง (Droopy) และมีสีเขียวเข้ม ใบล่างจะมีปลายใบสีน้ำตาลเหลือง มีสีเหลืองระหว่างเส้นใบโดยเริ่มจากปลายใบและขอบใบแล้วค่อยๆ ลุกลามสู่โคนใบในที่สุด ต่อมาใบจะแห้งและกลายเป็นสีน้ำตาล ถ้าการขาดรุนแรงมากขึ้นบางครั้งจะมีจุดประสีน้ำตาลบนใบที่เป็นสีเขียวเข้ม โดยเริ่มที่ปลายใบก่อนจะขยายสู่ส่วนอื่นๆ ของใบ รวงข้าวจะผอมยาว อาจมีจุดด่าง ขนาดและน้ำหนักของเมล็ดลดลง การหักล้มสูง มักจะเกิดในระยะหลังของการเจริญเติบโต อาการขาดโพแทสเซียมนี้อาจสังเกตเห็นได้ยากในข้าวทั่วไป

สาเหตุของการขาดโพแทสเซียมเกิดจากการปลูกข้าวในดินทรายหรือดินที่มีปริมาณดินเหนียวต่ำ มีธาตุโพแทสเซียมในดินต่ำหรือไม่อยู่ในรูปที่เป็นประโยชน์ หรือดินที่มีการชะล้างสูง นอกจากนี้อาจพบอาการขาดโพแทสเซียมในดินอินทรีย์ เช่นดินพีท (Peat) ดินมัก (Muck)

การจัดการเพื่อการป้องกันและแก้ไขการขาดโพแทสเซียมสามารถทำได้โดย

ควรไถกลบฟางข้าวลงในแปลง เพราะถึงแม้ว่าปริมาณโพแทสเซียมในฟางข้าวจะมีน้อย แต่จะช่วยรักษาระดับโพแทสเซียมในดินในระยะยาว

ใส่ปุ๋ยโพแทซ ปุ๋ยคอกและวัสดุอินทรีย์อื่นๆ ให้กับข้าวอย่างพอเพียง เพื่อชดเชยกับธาตุอาหารที่สูญเสียไปจากการเก็บเกี่ยวผลผลิต

4. การขาดแมกนีเซียม (Magnesium deficiency)

แมกนีเซียม (Mg) ช่วยในการทำงานของเอนไซม์หลายชนิด เป็นองค์ประกอบหนึ่งของคลอโรฟิลล์จึงมีส่วนในการสังเคราะห์แสง และการสังเคราะห์โปรตีนด้วย แมกนีเซียมเป็นธาตุที่เคลื่อนย้ายได้ง่าย อาการขาดจึงมักเกิดกับใบแก่ก่อน ต้นข้าวที่ขาดแมกนีเซียมจะมีอาการคล้ายการขาดโพแทสเซียม คือจะมีสีซีด พื้นที่ระหว่างเส้นใบจะเป็นสีเขียวซีด โดยจะเกิดกับใบแก่ก่อนและเมื่อขาดมากขึ้นจะลามมาถึงใบอ่อน ในกรณีที่ขาดรุนแรงใบแก่ของข้าวจะกลายเป็นสีเหลือง ข้าวมีการแตกกอ จำนวนใบและขนาดใบปกติ แต่ใบจะบิดไปมาและโน้มลง (Droopy) ข้าวจะมีจำนวนและน้ำหนักเมล็ดลดลง คุณภาพเมล็ดไม่ดี การขาดแมกนีเซียมมักพบในดินที่เป็นกรดและมี CEC ต่ำ และดินทรายที่มีอัตราการซึมน้ำและการชะล้างสูง

สาเหตุของการขาดแมกนีเซียมเกิดจากดินมีปริมาณแมกนีเซียมที่เป็นประโยชน์ไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของข้าว การจัดการเพื่อการป้องกันและแก้ไขการขาดแมกนีเซียมสามารถทำได้โดยใส่ปุ๋ยแมกนีเซียม ปุ๋ยคอกและวัสดุอินทรีย์อื่นๆ ให้กับข้าวอย่างพอเพียง เพื่อชดเชยกับธาตุอาหารที่สูญเสียไปจากการเก็บเกี่ยวผลผลิต

5. การขาดกำมะถัน (Sulfur deficiency)

กำมะถัน (S) เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของกรดอะมิโนและโคเอนไซม์ ที่ช่วยในการสร้างคลอโรฟิลล์และสังเคราะห์โปรตีน กำมะถันไม่ค่อยเคลื่อนย้ายในพืชทำให้อาการขาดเกิดกับใบอ่อนก่อน

ต้นข้าวที่ขาดกำมะถันจะมีอาการคล้ายกับการขาดไนโตรเจน ต่างกันตรงที่การขาดไนโตรเจนจะเกิดที่ใบแก่ก่อน แต่การขาดกำมะถันจะเกิดที่ใบอ่อนก่อนแล้วตามด้วยใบแก่ โดยเริ่มแรกที่กาบใบจะมีสีเหลืองแล้วลุกลามสู่ใบ อาจพบต้นข้าวมีสีเหลืองทั้งต้นในระยะแตกกอ ความสูงและการแตกกอลดลง ต้นข้าวและใบข้าวเล็กลง นอกจากนี้การขาดกำมะถันยังทำให้การเจริญเติบโตและการพัฒนาของข้าวช้าลง รวงข้าวจะน้อยและสั้น จำนวนเมล็ดต่อรวงลดลง จำนวนท้องไข่ของเมล็ดเพิ่มขึ้น ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่าข้าวที่ขาดกำมะถันจะแสดงอาการใกล้เคียงกับการขาดไนโตรเจนมาก จนบางครั้งไม่สามารถบอกความแตกต่างได้ชัดเจน การวินิจฉัยที่แม่นยำอาจต้องใช้ผลจากการวิเคราะห์ตัวอย่างดินและพืช มาประกอบด้วย

การขาดกำมะถันมีสาเหตุมาจากหลายประการ ที่สำคัญคือดินมีปริมาณกำมะถันไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโต การใช้ปุ๋ยเคมีที่ไม่มีกำมะถันเป็นส่วนประกอบ เช่น ยูเรีย_ 0-46-0 เป็นต้น รวมทั้งการเผาฟางข้าวหลังเก็บเกี่ยว การขาดกำมะถันมักพบในดินที่มีการผุพังอยู่กับที่ (Weathering) สูง โดยแร่ที่อยู่ในรูปออกไซด์จะดูดยึดซัลเฟตไว้ หรือพบในดินที่มีอินทรียวัตถุต่ำ เนื้อดินเป็นทรายจัด หรือพื้นที่ที่มีการเผาฟางข้าวเป็นประจำ

การจัดการเพื่อการป้องกันและแก้ไขการขาดกำมะถันสามารถทำได้โดย

ในการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนหรือฟอสเฟต ควรเลือกใส่ชนิดที่มีกำมะถันเป็นส่วนประกอบ เช่นปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต (26% S)_ ซิงเกิลซูเปอร์ฟอสเฟต (12% S)_ โพแทสเซียมซัลเฟต (18% S) เป็นต้น

ควรไถกลบฟางหลังเก็บเกี่ยว ไม่ควรเผาเพราะการเผาทำให้กำมะถันในฟางข้าวสูญเสียถึงร้อยละ 40–60

ในกรณีที่พืชแสดงอาการขาดให้ใส่ปุ๋ยกำมะถัน เช่นยิปซัม (17% S) หรือ Elemental S (97% S) ในอัตราประมาณ 1.5 กก. S/ไร่

6. การขาดซิลิกอน (Silicon deficiency)

ซิลิกอน (Si) เป็นธาตุอาหารที่มีประโยชน์สำหรับข้าว แต่หน้าที่ของธาตุนี้ในพืชยังไม่ทราบแน่ชัด ซิลิกอนจำเป็นในการพัฒนาใบ รากและลำต้นที่แข็งแรง ซิลิกอนที่เป็นองค์ประกอบของผนังเซลล์ ช่วยให้พืชต้านทานโรค แมลงและปลวกดีขึ้น ข้าวที่ได้รับซิลิกอนพอเพียงจะมีใบและลำต้นตั้ง ทำให้การสังเคราะห์แสงดีขึ้น

ข้าวที่ขาดซิลิกอนจะมีใบไม่กระด้างและโน้มลง (Droopy) ทำให้ประสิทธิภาพในการสังเคราะห์แสงลดลง ข้าวจะอ่อนแอต่อการทำลายโรคและแมลง การขาดที่รุนแรงจะเกิดจุดสีน้ำตาลบนใบข้าว จำนวนรวงต่อตารางเมตรและจำนวนเมล็ดดีต่อรวงลดลง ข้าวจะหักล้มมาก การขาดซิลิกอนมีสาเหตุจากการที่ดินมีปริมาณซิลิกอนไม่เพียงพอต่อการเจริญ เติบโต วัตถุต้นกำเนิดดินมีปริมาณซิลิกอนต่ำ รวมทั้งการขนฟางออกจากแปลงนาเป็นระยะเวลาหลายปีติดต่อกันก็ทำให้ดินขาดซิลิ กอนได้เช่นกัน การขาดซิลิกอนมักพบในดินนาที่เสื่อมโทรม ดินพีทที่มีปริมาณซิลิกอนต่ำ และดินนาน้ำฝนที่มีการชะล้างสูง เช่นดินนาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

การจัดการเพื่อการป้องกันและแก้ไขการขาดซิลิกอนสามารถทำได้โดย

การไถกลบฟางลงในแปลงนาเป็นประจำ จะช่วยเพิ่มปริมาณซิลิกอนในดิน เพราะในฟางข้าวมีปริมาณซิลิกอนค่อนข้างสูงคือร้อยละ 5–6

หลีกเลี่ยงการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนในอัตราสูงเกินไป แม้ว่าการใส่ไนโตรเจนมากจะทำให้พืชดูดใช้ไนโตรเจนและซิลิกอนมากขึ้น แต่ความเข้มข้นของของซิลิกอนในพืชจะลดลง เนื่องจากพืชผลิตน้ำหนักแห้งมากกว่าเดิม

ในกรณีที่พืชแสดงอาการขาดซิลิกอน ให้ใส่ปุ๋ยที่มีซิลิกอนเป็นส่วนประกอบให้แก่ข้าว โดยใส่แคลเซียมซิลิเกตในอัตรา 20–30 กก./ไร่ หรือโพแทสเซียมซิลิเกตในอัตรา 6–10 กก./ไร่

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..
####

iLab.work ผู้ให้บริการ ตรวจวิเคราะห์ค่า ดิน น้ำ ปุ๋ย ในรูปแบบออนไลน์ ที่ใช้บริการง่ายที่สุด เพียงแค่นับ 1 2 3 ภายใต้มาตฐาน ISO/IEC 17025

1. เลือกชุดตรวจแนะนำ หรือเลือกเองตามต้องการที่ http://www.farmkaset..link.. ระบบจะคำนวณค่าใช้จ่าย ในการตรวจวิเคราะห์ให้ท่านทราบขณะเลือกทันที

2. ส่งตัวอย่าง ดิน น้ำ หรือ ปุ๋ย ที่ต้องการตรวจวิเคราะห์ไปที่ iLab [ห้องปฏิบัติการ อัยย์แลป (iLab) เลขที่ 94/1 ม.8 ต.ตระคร้ำเอน อ.ท่ามะกา จ.กาญจนบุรี 71120] ทาง ไปรษณีย์ หรือ เคอรี่ หรือ แฟรช ตามที่ลูกค้าสะดวก และ ชำระเงินค่าตรวจ

3. รออ่านผลตรวจวิเคราะห์ออนไลน์หน้าเว็บไซต์ (ผลตรวจออกใน 3-15 วัน)

สอบถามเพิ่มเติม

โทร 090 592 8614

ไลน์ไอดี @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
อ่าน:3427
เกษตรกร อาชีพที่อยู่คู่กับคนไทยมาช้านาน
เกษตรกร อาชีพที่อยู่คู่กับคนไทยมาช้านาน
ด้วยเมืองไทยเป็นพื้นที่ที่เหมาะสมกับการอยู่อาศัยร่วมกับธรรมชาติอย่างเกิดประโยชน์สูงสุด อาชีพเกษตรกรจึงถือเป็นรายได้หลักมาอย่างช้านาน แม้ในปัจจุบันคนรุ่นใหม่จำนวนมากจะเลือกเข้ามามองหางานทำในเมืองหลวงรวมถึงเลือกทำงานประเภทอื่น ๆ มากขึ้น แต่เกษตรกรก็ยังถือเป็นหัวใจสำคัญที่ช่วยสร้างผลผลิตให้กับคนไทยและอีกหลายล้านคนบนโลกมีอาหารดี ๆ ได้ทานเพื่อดำรงชีวิตอยู่ตลอด จึงอยากพาทุกคนไปทำความเข้าใจกับอาชีพนี้ให้มากขึ้นกว่าเดิม พร้อมทั้งมีเรื่องราวดี ๆ มาฝากกันด้วย

จำแนกประเภทเกษตรกร

จริง ๆ แล้วอาชีพเกษตรกรสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่มหลัก ๆ ซึ่งกระจายอยู่ทั่วประเทศไทย ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ โดยมีประเภทของเกษตรกรดังนี้

ด้านการปลูกพืชผล

เป็นกลุ่มอาชีพที่พบเจอได้มากสุดของเมืองไทย ทั้งนี้จะแยกย่อยออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ ความเหมาะสมของพื้นที่ในการปลูกพืชผลชนิดนั้น ๆ แม้นักวิชาการจะมีการแยกย่อยประเภทออกไปตามลักษณะการปลูก การดูแลรักษา การใช้ประโยชน์ แต่ขออธิบายประเภทขั้นต้นให้เห็นภาพกันง่ายกว่า

พืชนา

พูดง่าย ๆ ก็คือกลุ่มเกษตรกรที่ปลูกนาข้าวเป็นหลัก ทั้งนี้เมื่อหมดฤดูการเก็บเกี่ยวข้าวก็สามารถเปลี่ยนเป็นการเกษตรด้านอื่น ๆ ได้

พืชไร่

กลุ่มพืชที่ต้องอาศัยพื้นที่ในการปลูกเยอะ แต่พืชจะมีการเจริญเติบโตรวดเร็ว ขั้นตอนการดูแลรักษาไม่ยุ่งยาก พืชบางชนิดปลูกแค่ 2 เดือนก็สามารถเก็บเกี่ยวได้ทันที โดยพืชไร่นั้นถือเป็นอีกกลุ่มเกษตรที่สำคัญต่อทั้งการบริโภคของผู้คนในประเทศและการส่งออกสร้างรายได้ เช่น อ้อย_ ข้าวโพด_ มันสำปะหลัง_ ถั่วหลากชนิด_ ฝ้าย เป็นต้น

พืชสวน

กลุ่มพืชชนิดนี้ไม่จำเป็นต้องใช้พื้นที่เยอะเหมือนกับพืชไร่ แต่ต้องอาศัยการใส่ใจดูแลมากกว่า มีระยะเวลาในการให้ผลผลิตนานกว่า แต่มูลค่าก็สูงตามประเภทของสายพันธุ์นั้น ๆ ด้วยเหมือนกัน

ด้านปศุสัตว์

จริง ๆ เป็นกลุ่มการเกษตรที่อยู่คู่กับการปลูกพืชมายาวนาน เช่น ชาวบ้านที่ทำนาก็จะเลี้ยงวัว เลี้ยงควาย เพื่อใช้แรงงาน หรือสร้างผลผลิตรูปแบบอื่น ๆ ทว่าในปัจจุบันอาชีพเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์โดยตรงก็มีเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ไม่ใช่แค่เลี้ยงไว้ใช้ทำประโยชน์ในด้านแรงงานเพียงอย่างเดียว โดยแยกประเภทการทำเกษตรด้านปศุสัตว์ไว้ดังนี้

ด้านอาหาร

เป็นกลุ่มปศุสัตว์ที่เลี้ยงสัตว์ขึ้นมาเพื่อใช้ทำเป็นอาหารโดยตรง เช่น ฟาร์มหมู_ ฟาร์มวัว_ ฟาร์มไก่_ ฟาร์มปลา ฯลฯ ซึ่งสัตว์เหล่านี้เมื่อเจริญพันธุ์เหมาะสมกับการขายก็จะนำไปทำเป็นเนื้อสัตว์หรือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ต่อไป

ด้านความสวยงาม

การเลี้ยงสัตว์ชนิดนี้มักถูกเรียกว่า การเพาะพันธุ์ คือ พยายามเพาะพันธุ์สัตว์ที่มีความสวยงามให้ได้ราคามากยิ่งขึ้น เช่น บรรดานกชนิดต่าง ๆ_ สุนัข_ แมว ฯลฯ สามารถขายได้ราคาดี แม้ว่าจะมีขั้นตอนการดูแลยุ่งยาก และต้องมองหาตลาดให้ถูกต้องก็ตาม

ด้านการใช้งาน

ยังมีการทำปศุสัตว์อีกรูปแบบที่ถูกเลี้ยงเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในด้านแรงงานต่อไป เช่น ฟาร์มม้า_ ฟาร์มโคนม_ ฟาร์มช้าง เป็นต้น โดยสัตว์เหล่านี้จะไม่เน้นเรื่องการทำเป็นอาหารหรือเพาะพันธุ์ขาย แต่จะนำไปใช้ประโยชน์ด้านอื่นแทน เช่น น้ำนมจากโคนม เป็นต้น

ด้านการประมง

ด้วยพื้นที่ของประเทศไทยมีแหล่งน้ำให้เกษตรกรได้หารายได้เลี้ยงชีพกันมาโดยตลอด การทำประมงจึงกลายเป็นอีกอาชีพที่มีความสำคัญและได้รับความนิยมสูงมากในกลุ่มคนที่ใช้ชีวิตริมน้ำ ทั้งนี้ต้องแยกให้ออกว่าการทำประมงจะต่างกับการปศุสัตว์คือ ประมงจะเป็นการจับสัตว์น้ำที่มีตามแหล่งธรรมชาติหรือเน้นสัตว์น้ำเท่านั้น ขณะที่ปศุสัตว์จะเป็นการเลี้ยงดู ซึ่งสามารถแยกประเภทการประมงได้ดังนี้

ประมงน้ำจืด

เป็นอาชีพเกษตรกรที่ใช้การหาสัตว์น้ำในแหล่งน้ำจืด เช่น แม่น้ำ_ ลำคลอง_ บึง_ หรือการสร้างบ่อ โดยสัตว์น้ำในกลุ่มประมงน้ำจืดก็มีหลายชนิดโดยเฉพาะปลา เช่น ปลาช่อน_ ปลาดุก_ ปลาตะเพียน_ ปลานิล_ ปลาไน_ ปลาไหล_ ปลาสลิด รวมถึงกุ้งก้ามกรามก็จัดเป็นประมงน้ำจืดชนิดหนึ่งด้วยเช่นกัน

ประมงน้ำเค็ม

เป็นกลุ่มเกษตรกรที่ทำอาชีพในการจับสัตว์เค็ม หรือสัตว์น้ำในทะเล ทั้งนี้จะเป็นการออกไปจับนอกชายฝั่ง หรือการเลี้ยงสัตว์ทะเลบริเวณชายฝั่งก็ถูกจัดอยู่ในกลุ่มเดียวกัน โดยสัตว์ทะเลจะมีความหลากหลายมาก ๆ ไล่ตั้งแต่ กุ้ง_ หอย_ ปู_ ปลา ซึ่งถือเป็นอาหารจานโปรดของใครหลาย ๆ คนเมื่อผ่านขั้นตอนการทำเรียบร้อยแล้ว

ด้านเกษตรแบบผสมผสาน

จริง ๆ แล้วนี่เป็นแนวคิดใหม่ที่พึ่งเกิดขึ้นมาได้ไม่นานนัก หลัก ๆ คือ การรวมเอารูปแบบเกษตรต่าง ๆ มาผสมผสานเอาไว้ในพื้นที่เดียวกัน เช่น นอกจากปลูกข้าวแล้วยังมีการเลี้ยงปลาตามร่องคันนา เพื่อช่วยสร้างรายได้ให้กับตนเองมากกว่าเดิม_ การทำฟาร์มไก่โดยให้กรงตั้งอยู่บนบ่อปลาดุกเพื่อปลาจะได้กินเศษอาหารที่ไก่ทำร่วงเอาไว้ เป็นต้น

ความคุ้มค่าของเกษตรแบบผสมผสาน

ในปัจจุบันมีเกษตรกรจำนวนมากเลือกหันมาทำการเกษตรแบบผสมผสานมากยิ่งขึ้นกว่าเดิม นั่นเพราะลดความเสี่ยงต่อการขาดทุนหากเลือกทำเกษตรแบบใดแบบหนึ่งเพียงอย่างเดียว ซึ่งไม่จำเป็นต้องลงทุนอะไรมากนัก เพียงแค่นำพื้นที่ซึ่งเหลือจากการเกษตรหลักของตนเองมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

แม้ว่ายุคก่อนหน้าอาชีพเกษตรกรจะมีจำนวนลดลง แต่ปัจจุบันมักเริ่มเห็นคนรุ่นใหม่หันไปเลือกทำเกษตรกรกันมากขึ้นเรื่อย ๆ นั่นเพราะเมื่อได้อยู่กับธรรมชาติจริง ๆ แล้วสามารถสร้างความสุขในชีวิตมากกว่าการอยู่ในเมืองที่ต้องเจอกับความเครียดนานัปการก็ได้

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..
อ่าน:2995
กำจัด หนอนผีเสื้อ หนอนศัตรูพืชทุกชนิด ปลอดสารพิษ ไอกี้ และ FK-T (ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
กำจัด หนอนผีเสื้อ หนอนศัตรูพืชทุกชนิด ปลอดสารพิษ ไอกี้ และ FK-T (ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
ไอกี้ และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

ใช้ได้กับ หนอนศัตรูพืชหลายชนิด เช่น หนอนกระทู้ผัก หนอนกระทู้หอม หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนชอนใบ หนอนร่านกินใบปาล์ม
หนอนม้วนใบ หนอนชอนใบส้ม หนอนกออ้อยชนิดต่างๆ หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด หนอนกระทู้ข้าวโพด เป็นต้น

ไอกี้ เป็นสารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ปลอดภัย กำจัดหนอนต่างๆหลายชนิด
ขนาด 500 กรัม (แนะนำให้ใช้คู่กับ FK ธรรมชาตินิยม เพื่อเร่งฟื้นฟูบำรุง)
อัตราผสม 25 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอกี้ และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
ไอกี้ 25 กรัม และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ

สามารถเลือกซื้อกับ ลาซาด้า ช้อปี้ เจดี เซ็นทรัล ได้เช่นกัน

ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..

ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

เจดีเซ็นทรัล http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3038
กำจัด หนอนกระทู้ข้าวโพด หนอนศัตรูพืชทุกชนิด ปลอดสารพิษ ไอกี้ และ FK-T (ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
กำจัด หนอนกระทู้ข้าวโพด หนอนศัตรูพืชทุกชนิด ปลอดสารพิษ ไอกี้ และ FK-T (ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
ไอกี้ และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

ผีเสื้อหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด เริ่มวางไข่บนต้นข้าวโพด ตั้งแต่ข้าวโพดงอก อายุ 3-4 วัน โดยพบกลุ่มไข่ทั้งด้านบนใบ ใต้ใบ และที่ลำต้น หลังจากฟักจากไข่ หนอนขนาดเล็กจะรวมกลุ่มกัดกินผิวใบ เริ่มเห็นรอยทำลายสีขาวที่ผิวใบเมื่อข้าวโพดอายุ 6-7 วัน (10-11 วันหลังปลูก) ลักษณะเป็นจุดหรือเป็นแถบสีขาว หนอนตัวเล็กที่เพิ่งฟักสามารถกระจายไปยังต้นข้างเคียงโดยปลิวไปกับลม หนอนวัย 3-6 เป็นระยะที่ทำความเสียหายมาก กัดกินอยู่ในยอดข้าวโพด ทำให้ใบขาดเป็นรู เว้าแหว่ง ยอดกุด ระยะก่อนที่ดอกตัวผู้จะโผล่หนอนจะกัดกินเกสรตัวผู้ หลังจากใบยอดคลี่ทั้งหมด ดอกตัวผู้โผล่พ้นใบที่หุ้มอยู่ หนอนจะย้ายไปที่ฝัก กัดกินไหม และเจาะเปลือกหุ้มฝักเข้าไปกัดกินภายในฝัก

ไอกี้ เป็นสารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ปลอดภัย กำจัดหนอนต่างๆหลายชนิด
ขนาด 500 กรัม (แนะนำให้ใช้คู่กับ FK ธรรมชาตินิยม เพื่อเร่งฟื้นฟูบำรุง)
อัตราผสม 25 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอกี้ และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
ไอกี้ 25 กรัม และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ

สามารถเลือกซื้อกับ ลาซาด้า ช้อปี้ เจดี เซ็นทรัล ได้เช่นกัน

ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..
เจดีเซ็นทรัล http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3085
ปุ๋ยสำหรับนาข้าว ทดแทนปุ๋ยเม็ด คุณภาพสูง ยาฆ่าเพลี้ยอินทรีย์ ยาแก้รา แก้ข้าวใบไหม้ เลือกซื้อจาก ฟาร์มเกษตร สินค้าเกษตร คุณภาพสูง
ปุ๋ยสำหรับนาข้าว ทดแทนปุ๋ยเม็ด คุณภาพสูง ยาฆ่าเพลี้ยอินทรีย์ ยาแก้รา แก้ข้าวใบไหม้ เลือกซื้อจาก ฟาร์มเกษตร สินค้าเกษตร คุณภาพสูง
สินค้าสำหรับนาข้าว ครบทุกช่วงอายุ หมวดส่งเสริมการเจริญเติบโต หมวดป้องกันและกำจัด โรค และศัตรูพืช

แรกปลูก เร่งโต แตกกอ ข้าวโตไว ใบเขียว แข็งแรง ต้านทานต่อโรคและแมลง ลดต้นทด ทดแทนปุ๋ยเม็ด ใช้ FK-1

ปุ๋ยฉีดพ่น รับรวง ข้าวรวงยาว เมล็ดเต็ม ผลผลิตสูง ฉีดพ่นด้วย FK-3R

ย่อยสลายตอซัง ฟางข้าว ไม่ต้องเผา คืนไนโตเจนสู่ดิน ลดข้าวดีด ข้าวปน ข้าวนก ข้าวหาง ได้กว่า 70 เปอร์เซนต์ ใช้ ไอซีคิท

โรครา ข้าวใบไหม้ ใบจุด ใบขีดสีน้ำตาล ข้าวหักคอรวง ใช้ ไอเอส

เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยต่างๆ ใช้ มาคา

หนอนกอ หนอนศัตรูข้าว ใช้ ไอกี้

เลือกซื้อสินค้า แต่ละรายการได้ ตามช่องทางที่ลูกค้าสะดวก

โทรสอบถาม สั่งซื้อ ได้ที่ 090-592-8614

ไลน์แอด @FarmKaset

หรือเลือกซื้อกับ

เจดี เซ็นทรัล http://www.farmkaset..link..

ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..

ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

อ่าน:3068
ยาคุณภาพดี แก้ ข้าวใบไหม้ เน่าคอรวง แก้เพลี้ยกระโดด ย่อยตอฟาง ปุ๋ยชั้นเลิศ ทดแทนปุ๋ยเม็ด ในนาข้าว
ยาคุณภาพดี แก้ ข้าวใบไหม้ เน่าคอรวง แก้เพลี้ยกระโดด ย่อยตอฟาง ปุ๋ยชั้นเลิศ ทดแทนปุ๋ยเม็ด ในนาข้าว
เลือกซื้อ ผลิตภันฑ์จากฟาร์มเกษตร เลือกซื้อปุ๋ย ตามระยะการเจริญเติบโต เลือกซื้อยา ให้ตรงกับโรค หรือแมลงศัตรูที่กำลังเผชิญ อ่านรายละเอียดและเลือกซื้อได้ที่

ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..

หรือ

ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:2989
ย่อยสลายตอซัง ย่อยสลายฟางข้าว ย่อยสลายตอฟาง รวดเร็วใน 7-10 วัน ลดข้าวดีด คืนความสมบูรณ์ให้กับดิน ไอซีคิท
ย่อยสลายตอซัง ย่อยสลายฟางข้าว ย่อยสลายตอฟาง รวดเร็วใน 7-10 วัน ลดข้าวดีด คืนความสมบูรณ์ให้กับดิน ไอซีคิท
ลดข้าวดีดมากกว่า 70% รวดเร็วในการย่อยสลายตอซังฟางข้าว ภายใน 5-7 วัน โดยไม่ต้องเผา ปรับสภาพดินในนาข้าว สามารถไถพรวนได้ง่าย เพิ่มจุลธาตุอาหารให้แก่นาข้าวหลังการเก็บเกี่ยว สามารถลดปัญหาข้าวดีด และข้าววัชพืชอื่น ๆ ในนาข้าวได้

#ย่อยสลายฟางข้าว #ย่อยสลายตอฟาง #ย่อยสลายตอซัง

ข้าววัชพืช : ชุดย่อยสลายตอซังฟางข้าว

กำจัดข้าวดีด กำจัดข้าววัชพืช ข้าวปน ข้าวเด้ง

1 ชุด ใช้ได้ 3-5 ไร่ ในกรณีใช้ทันทีโดยไม่ต้องขยาย แล้วแต่ความหนาแน่นของตอฟางและปริมาณน้ำ [สามารถนำไปขยายและใช้ได้มากถึง 15 ไร่ ในกรณีที่ต้องการ]

ชุดย่อยสลายฟางข้าวหรือ IC-Kit 2 เป็นจุลินทรีย์ ทางเราจัดส่งด่วน เพื่อป้องกันความเสียหายหรือการรั่ว ที่เกิดจากการขยายตัวของจุลินทรีย์ในช่วงจัดส่ง

*โปรดอ่าน ทางฟาร์มเกษตรจะทำการใช้สติกเกอร์แผ่นเล็กๆ ปิดรูระบายอากาศที่ฝาด้านบนของขวด ก่อนจัดส่งให่ท่าน เนื่องจากสินค้าทั้งสามรายการนี้ ประกอบด้วยจุลินทรีย์ แพ็คเกจจึงต้องมีรูระบายอากาศเล็กๆ ฉนั้นก่อนเราทำการจัดส่ง จึงต้องปิดรูเอาไว้ เพื่อความปลอดภัยในการขนส่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งตัว IC KIT2 ย่อยสลายฟางข้าว เราจำเป็นต้องตัดพลาสติกหุ้มแพคเกจก่อน แล้วจึงจะใช้สติกเกอร์ปิดรูได้

ลดข้าวดีดมากกว่า 70%
– รวดเร็วในการย่อยสลายตอซังฟางข้าว ภายใน 5-7 วัน โดยไม่ต้องเผา
– ปรับสภาพดินในนาข้าว สามารถไถพรวนได้ง่าย
– เพิ่มจุลธาตุอาหารให้แก่นาข้าวหลังการเก็บเกี่ยว
– สามารถลดปัญหาข้าวดีด และข้าววัชพืชอื่น ๆ ในนาข้าวได้

คุณสมบัติจำเพาะ ของ ไอซี-คิท 2
– ย่อยสลายตอซังฟางข้าวได้ภายใน 7 วัน โดยไม่ต้องเผา
– เป็นสินค้าเกษตรอินทรีย์ ปลอดสารพิษ เป็นออแกนิกส์ organic
– การย่อยสลายฟางข้าว เป็นการเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน ลดการใช้ปุ๋ย รักษาสภาพแวดล้อม

วิธีที่ 1: ใช้แบบไม่ต้องขยายจุลินทรีย์ สามารถฉีดพ่นได้ทันที
1. จุลินทรีย์ 50 ซีซี (ครึ่งขวดลิโพ หรือขวดเอ็มร้อย) ผสมกับ สารเร่งจุลินทรีย์ 50 ซีซี
2. นำสารที่ได้จากการผสมในข้อ 1 มาผสมกับน้ำ 20 ลิตร
3. นำไปฉีดพ่นได้ทันที
4. ปริมาณน้ำในแปลงควรอยู่ที่ 10 – 15 เซนติเมตร

*หมายเหตุ
– 1 ไร่ ให้ฉีดเป็นจำนวน 80 ลิตร นั่นหมายความว่า หากใช้ถัง 20 ลิตร เราจะต้องฉีด 4 ถัง ต่อหนึ่งไร่
– สำหรับท่านที่ ใช้ถังใหญ่ ผสมจุลินทรีย์ 200 ซีซี + สารเร่งจุลินทรีย์ 200 ซีซี + น้ำ 80 ลิตร จะฉีดได้ 1 ไร่ พอดี
– ซื้อ 1 ชุด จุลินทรีย์ 1000 ซีซี + สารเร่งจุลินทรีย์ 1000 ซีซี + น้ำ 400 ลิตร จะฉีดได้ ประมาณ 5 ไร่ ให้ฉีดไร่ละ 80 ลิตร

สั่งซื้อได้ที่

ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..

ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3147
แก้ โรคราในนาข้าว ข้าวใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ใบขีดสีน้ำตาล เน่าคอรวง ติดต่อ ไลน์ @FarmKaset
แก้ โรคราในนาข้าว ข้าวใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ใบขีดสีน้ำตาล เน่าคอรวง ติดต่อ ไลน์ @FarmKaset
✨โรคพืชทางใบ โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล ราดำ ราสนิม ราน้ำค้าง ใบติด ยอดแห้ง ขอบใบเหลืองไหม้ ไฟทอปโธร่า แอนแทรคโนส แก้ด้วย ไอเอส บวกกับ บำรุงให้ฟื้นตัวเร็วด้วย FKธรรมชาตินิยม (FKT)

👌ใช้ ง่าย ผสมน้ำ ฉีดพ่น
– สำหรับถังฉีด 16-20 ลิตร ใช้ ไอเอส 50ซีซี + FKT 50ซีซี ผสมลงในน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น (ฝาไอเอสตวงได้ 50ซีซีพอดี)
– สำหรับฟ็อกกี้ 1-2 ลิตร ใช้ฝา FKT ตวง ไอเอส 1ฝา + FKT 1ฝา ผสมลงในน้ำ 1-2 ลิตร ฉีดพ่น
– FK1 แกะกล่องมามีสองถุง ตักถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร (50 กรัม ประมาณ สองช้อนโต๊ะ)

💫ขนาดบรรจุ ชุดเล็ก
– FKธรรมชาตินิยม (FKT) บรรจุ 250ซีซี
– ไอเอส บรรจุ 250ซีซี

💫ขนาดบรรจุ ชุดกลาง
– FK-1 บรรจุ 2 กิโลกรัม
– ไอเอส บรรจุ 1000ซีซี

💫ขนาดบรรจุ ชุดใหญ่
– FK-1 บรรจุ 2 กิโลกรัม
– ไอเอส บรรจุ 3000ซีซี

🌞ข้อมูลติดต่อสั่งซื้อ
– ทักแชทเฟสบุ๊คได้เลยนะคะ หรือคลิก http://www.farmkaset..link..
– โทร 090-592-8614
– ไลน์ไอดี @FarmKaset หรือคลิก http://www.farmkaset..link..

ซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..

ซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3074
โรคไหม้ข้าว
โรคไหม้ข้าว
อ่าน:3013
ปุ๋ยสำหรับข้าวโพด และ ยาสำหรับข้าวโพด แก้ข้าวโพดใบไหม้ เพลี้ย หนอนต่างๆ



ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุเสริม ยารักษาโรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ยากำจัดเพลี้ย ยากำจัดหนอน

http://www.farmkaset..link..

FK-1 : ปุ๋ยสำหรับ พืชไร่ พืชสวน ไม้ยืนต้น ไม้ผล หรือ ทำแปลงเพาะชำ หรือขายพันธุ์ไม้
อัตราผสม แกะกล่องมามีสองถุง ต้องใช้พร้อมกัน ถุงละ 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
ราคา 890 บาท บรรจุ 2 กิโลกรัม

FK-3 : ปุ๋ยเพิ่มผลผลิตพืช ผลดก ผลโต น้ำหนักดี คุณภาพดี ผลผลิตดี
อัตราผสม แกะกล่องมามีสองถุง ต้องใช้พร้อมกัน ถุงละ 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
ราคา 950 บาท บรรจุ 2 กิโลกรัม

ไอเอส : ยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ เช่น โรคใบไหม้ ราสนิม ราน้ำค้าง ใบจุดสีน้ำตาล ราดำ ราเขม่าผง
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
ราคา 450 บาท บรรจุ 1 ลิตร

มาคา : ป้องกัน กำจัด เพลี้ยต่างๆ เช่น เพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยกระโดด แมลงหวีขาว
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
ราคา 470 บาท บรรจุ 1 ลิตร

ไอกี้-บีที : ป้องกันกำจัดหนอนต่างๆ เช่น หนอนชอนใบ หนอนเจาะผล หนอนคืบ หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนแมลงวัน
อัตราผสม 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
ราคา 490 บาท บรรจุ 500 กรัม


สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
631 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 63 หน้า, หน้าที่ 64 มี 1 รายการ
|-Page 45 of 64-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
โรคสับปะรด ที่เกิดจากเชื้อราต่างๆ ทำให้เกิดอาการสับปะรดยอดเน่า รากเน่า ใบไหม้ ยกตัวอย่างได้ดังต่อไปนี้
Update: 2566/11/08 06:16:07 - Views: 9182
อาการขาดธาตุอาหารในต้นทุเรียน N, P, K, Mg, Zn
Update: 2566/11/04 11:39:40 - Views: 295
ยาแก้เพลี้ย ใน ผักกวางตุ้ง ผักกวางตุ้งฮ่องเต้ กวางตุ้งดอกฮ่องกง ยากำจัดหนอน ยาแก้โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ และ ปุ๋ย สำหรับ ผัก กวางตุ้ง
Update: 2563/06/25 08:51:38 - Views: 4352
การเพิ่มผลผลิตอ้อย จากตัวอย่างการศึกษา และทดลองแล้วว่าได้ผลจริง
Update: 2563/06/05 08:44:44 - Views: 3179
โรคปาล์ม ปาล์มใบไหม้ โรคใบจุดปาล์มน้ำมัน และโรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู บำรุง สร้างภูมิคุ้มกันโรค 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
Update: 2564/08/28 04:19:30 - Views: 3255
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในผลสละอย่างมีประสิทธิผล
Update: 2566/05/13 09:46:19 - Views: 3121
ศิลปะแห่งการปลูกทุเรียน เพิ่มผลผลิตด้วยการผสมปุ๋ยที่เหมาะสม
Update: 2566/04/28 14:24:49 - Views: 3021
คู่มือป้องกันกำจัดโรคเชื้อราต่างๆในดาวเรือง ดาวเรืองใบไหม้ ดอกไหม้ ดอกเป็นจุด ราแป้ง ฯลฯ
Update: 2566/05/01 10:27:34 - Views: 17073
กำจัดหญ้าและวัชพืชในสวนโกโก้ด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG)
Update: 2567/02/13 09:12:07 - Views: 163
โรคทุเรียน โรคกิ่งแห้งในทุเรียน โรคทุเรียนใบไหม้ ใบติด อาการทุเรียนใบร่วง ส่งผลต่อการเจริญเติบโต และทำให้ผลผลิตตกต่ำ ป้องกัน กำจัด ได้อย่างไร
Update: 2566/11/06 06:34:48 - Views: 375
การควบคุมหญ้าและวัชพืชในไร่มันสำปะหลังด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG)
Update: 2567/02/13 09:25:01 - Views: 136
มะละกอผลเน่า มะละกอใบไหม้ ราขาวมะละกอ ราดำมะละกอ ควบคุม ป้องกันกำจัด ก่อนโรคจะสร้างความเสียหาย
Update: 2566/11/04 19:44:55 - Views: 7960
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนเจาะดอก ใน ดอกกุหลาบ และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/28 14:59:27 - Views: 3209
เพิ่มขนาดและคุณภาพของลำไยด้วยปุ๋ยสูตรพิเศษ 15-5-30+3 MgO
Update: 2567/02/13 14:37:14 - Views: 185
ไขข้อข้องใจ … ทำไมแหนมถึงกินดิบได้?
Update: 2565/11/16 13:48:55 - Views: 9821
ข้าวดีด ปัญหาระดับประเทศ สร้างปัญหาต่อเกษตรกรผู้ปลูกข้าว
Update: 2564/08/25 23:04:57 - Views: 3254
ราสนิมองุ่น ราน้ำค้างองุ่น องุ่นเป็นราดำ ป้องกันไว้ดีกว่าแก้ หากเป็นแล้วต้องเร่งยับยั้ง ไม่ให้ลุกลามสร้างความเสียหายเพิ่มเติม
Update: 2566/11/06 06:16:01 - Views: 280
การต่อสู้กับโรคเชื้อราในต้นพุทรา
Update: 2566/05/04 09:38:05 - Views: 3036
เคล็ดลับการใช้ปุ๋ยน้ำเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเจริญเติบโตของข้าวโพดและเพิ่มผลผลิต
Update: 2566/11/11 13:27:52 - Views: 286
โรคราแป้งมะเขือเทศ : POWDERY MILDEW DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
Update: 2564/08/09 06:45:01 - Views: 3034
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022