[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - ข้าวโพด
198 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 19 หน้า, หน้าที่ 20 มี 8 รายการ

ข้าวโพดหลังนา ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) สำคัญกับข้าวโพดอย่างไร?
ข้าวโพดหลังนา ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) สำคัญกับข้าวโพดอย่างไร?
ข้าวโพด พืชอีกตัวเลือกหนึ่งที่นิยมปลูกหลังการเก็บเกี่ยวข้าว เพราะในช่วงฤดูแล้งหลายพื้นที่มักมีน้ำไม่พอต่อการเพาะปลูกข้าว ข้าวโพดจึงเป็นตัวเลือกแรก ๆ ที่มักถูกเลือกมาปลูกทดแทนข้าว เพราะใช้น้ำน้อยกว่า 2-3 เท่าตัว ด้วยเหตุนี้เราจึงมักได้ยินคำว่า “ข้าวโพดหลังนา” และแม้จะเพาะปลูกในช่วงฤดูแล้ง แต่จากความชื้นในดินที่ผ่านการปลูกข้าวมาก่อน ทำให้พี่น้องเกษตรกรหลายท่านสามารถใส่ปุ๋ยบำรุงต้นและผลผลิตข้าวโพดได้อย่างมีประสิทธิภาพ

วันนี้ขอบอกต่อความรู้ดี ๆ เกี่ยวกับคุณประโยชน์ของธาตุอาหารหลัก 3 ตัว ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) ว่ามีความสำคัญต่อข้าวโพดหลังนาอย่างไร ถ้าพี่น้องเกษตรกรทุกท่านพร้อมแล้วเราไปดูกันเลยครับ!

บทบาทของธาตุอาหารหลักในข้าวโพดหลังนา

ไนโตรเจน (N)

ช่วยในเรื่องการเจริญเติบโตทางลำต้น ทำให้ต้นข้าวโพดตั้งตัวได้เร็วและแข็งแรง ในช่วงแรกของการเจริญเติบโต

ช่วยทำให้ข้าวโพดมีใบเขียวเข้ม การสังเคราะห์ด้วยแสงเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ

พืชที่ขาดไนโตรเจน (N) จะแสดงอาการลำต้นแคระแกร็น เติบโตช้า ใบแสดงอาการแห้งตั้งแต่ปลายใบลงมาสู่กลางใบ และจะแสดงที่ใบล่างขึ้นสู่ใบบน

ฟอสฟอรัส (P)

ช่วยให้รากแข็งแรงและกระจายตัวดี การดูดซึมธาตุอาหารจากดินเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังช่วยในเรื่องการพยุงลำต้นไม่ให้โค่นล้มได้ง่าย

ช่วยในเรื่องการออกดอก ผสมเกสร การติดฝัก และติดเมล็ดสมบูรณ์

พืชที่ขาดฟอสฟอรัส (P) จะแสดงอาการลำต้นแคระแกร็น ระบบรากไม่แข็งแรงทำให้โคนล้มได้ง่าย ที่ใบจะแสดงอาการสีม่วงแดงที่ขอบใบ และจะแสดงอาการมากในข้าวโพดที่อายุน้อย

โพแทสเซียม (K)

มีส่วนช่วยในการสะสมแป้งและน้ำตาล ทำให้เมล็ดข้าวโพดเต่งและใหญ่ สีสวย ฝักใหญ่ น้ำหนักดี

พืชที่ขาดโพแทสเซียม (K) จะแสดงอาการใบแห้งเหลือง เริ่มจากบริเวณปลายใบลุกลามไปที่ขอบใบ ทำให้ข้าวโพดมีเมล็ดเล็ก ไม่เต่งเท่าที่ควร ผลผลิตต่ำ

นอกจากการเลือกใช้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารหลักครบถ้วนในการบำรุงข้าวโพดหลังนาแล้ว การเลือกใช้สูตรปุ๋ยให้เหมาะสมกับระยะการเจริญเติบโตก็สำคัญเช่นกันนะครับ

ครั้งที่ 1 รองพื้นพร้อมปลูกหรือหลังหยอดเมล็ด 15 วัน

แนะนำสูตร 15-15-15 หรือ 16-16-16 หรือ 16-16-8 หรือ 18-8-8

อัตราใช้ 30-50 กก./ไร่

ครั้งที่ 2 หลังหยอดเมล็ด 25-35 วัน (ทำรุ่น)

แนะนำสูตร 15-7-18 หรือ 20-8-20 หรือ 14-7-35

อัตราใช้ 30-50 กก./ไร่

***การเลือกใช้ปุ๋ยหรือใส่ปุ๋ยบำรุงต้นข้าวโพดทุกครั้งต้องพิจารณาถึงความสมบูรณ์ของดิน ความสมบูรณ์ของต้นข้าวโพด ระยะการปลูก และความชื้นในดินก่อนการตัดสินใจใส่ปุ๋ยด้วยนะคะ

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..าตุอาหารหลัก-สำคัญอย่างไร-ในข้าวโพดหลังนา
อ่าน:3436
เกษตรกร อาชีพที่อยู่คู่กับคนไทยมาช้านาน
เกษตรกร อาชีพที่อยู่คู่กับคนไทยมาช้านาน
ด้วยเมืองไทยเป็นพื้นที่ที่เหมาะสมกับการอยู่อาศัยร่วมกับธรรมชาติอย่างเกิดประโยชน์สูงสุด อาชีพเกษตรกรจึงถือเป็นรายได้หลักมาอย่างช้านาน แม้ในปัจจุบันคนรุ่นใหม่จำนวนมากจะเลือกเข้ามามองหางานทำในเมืองหลวงรวมถึงเลือกทำงานประเภทอื่น ๆ มากขึ้น แต่เกษตรกรก็ยังถือเป็นหัวใจสำคัญที่ช่วยสร้างผลผลิตให้กับคนไทยและอีกหลายล้านคนบนโลกมีอาหารดี ๆ ได้ทานเพื่อดำรงชีวิตอยู่ตลอด จึงอยากพาทุกคนไปทำความเข้าใจกับอาชีพนี้ให้มากขึ้นกว่าเดิม พร้อมทั้งมีเรื่องราวดี ๆ มาฝากกันด้วย

จำแนกประเภทเกษตรกร

จริง ๆ แล้วอาชีพเกษตรกรสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่มหลัก ๆ ซึ่งกระจายอยู่ทั่วประเทศไทย ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ โดยมีประเภทของเกษตรกรดังนี้

ด้านการปลูกพืชผล

เป็นกลุ่มอาชีพที่พบเจอได้มากสุดของเมืองไทย ทั้งนี้จะแยกย่อยออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ ความเหมาะสมของพื้นที่ในการปลูกพืชผลชนิดนั้น ๆ แม้นักวิชาการจะมีการแยกย่อยประเภทออกไปตามลักษณะการปลูก การดูแลรักษา การใช้ประโยชน์ แต่ขออธิบายประเภทขั้นต้นให้เห็นภาพกันง่ายกว่า

พืชนา

พูดง่าย ๆ ก็คือกลุ่มเกษตรกรที่ปลูกนาข้าวเป็นหลัก ทั้งนี้เมื่อหมดฤดูการเก็บเกี่ยวข้าวก็สามารถเปลี่ยนเป็นการเกษตรด้านอื่น ๆ ได้

พืชไร่

กลุ่มพืชที่ต้องอาศัยพื้นที่ในการปลูกเยอะ แต่พืชจะมีการเจริญเติบโตรวดเร็ว ขั้นตอนการดูแลรักษาไม่ยุ่งยาก พืชบางชนิดปลูกแค่ 2 เดือนก็สามารถเก็บเกี่ยวได้ทันที โดยพืชไร่นั้นถือเป็นอีกกลุ่มเกษตรที่สำคัญต่อทั้งการบริโภคของผู้คนในประเทศและการส่งออกสร้างรายได้ เช่น อ้อย_ ข้าวโพด_ มันสำปะหลัง_ ถั่วหลากชนิด_ ฝ้าย เป็นต้น

พืชสวน

กลุ่มพืชชนิดนี้ไม่จำเป็นต้องใช้พื้นที่เยอะเหมือนกับพืชไร่ แต่ต้องอาศัยการใส่ใจดูแลมากกว่า มีระยะเวลาในการให้ผลผลิตนานกว่า แต่มูลค่าก็สูงตามประเภทของสายพันธุ์นั้น ๆ ด้วยเหมือนกัน

ด้านปศุสัตว์

จริง ๆ เป็นกลุ่มการเกษตรที่อยู่คู่กับการปลูกพืชมายาวนาน เช่น ชาวบ้านที่ทำนาก็จะเลี้ยงวัว เลี้ยงควาย เพื่อใช้แรงงาน หรือสร้างผลผลิตรูปแบบอื่น ๆ ทว่าในปัจจุบันอาชีพเกษตรกรที่เลี้ยงสัตว์โดยตรงก็มีเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ไม่ใช่แค่เลี้ยงไว้ใช้ทำประโยชน์ในด้านแรงงานเพียงอย่างเดียว โดยแยกประเภทการทำเกษตรด้านปศุสัตว์ไว้ดังนี้

ด้านอาหาร

เป็นกลุ่มปศุสัตว์ที่เลี้ยงสัตว์ขึ้นมาเพื่อใช้ทำเป็นอาหารโดยตรง เช่น ฟาร์มหมู_ ฟาร์มวัว_ ฟาร์มไก่_ ฟาร์มปลา ฯลฯ ซึ่งสัตว์เหล่านี้เมื่อเจริญพันธุ์เหมาะสมกับการขายก็จะนำไปทำเป็นเนื้อสัตว์หรือแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ต่อไป

ด้านความสวยงาม

การเลี้ยงสัตว์ชนิดนี้มักถูกเรียกว่า การเพาะพันธุ์ คือ พยายามเพาะพันธุ์สัตว์ที่มีความสวยงามให้ได้ราคามากยิ่งขึ้น เช่น บรรดานกชนิดต่าง ๆ_ สุนัข_ แมว ฯลฯ สามารถขายได้ราคาดี แม้ว่าจะมีขั้นตอนการดูแลยุ่งยาก และต้องมองหาตลาดให้ถูกต้องก็ตาม

ด้านการใช้งาน

ยังมีการทำปศุสัตว์อีกรูปแบบที่ถูกเลี้ยงเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในด้านแรงงานต่อไป เช่น ฟาร์มม้า_ ฟาร์มโคนม_ ฟาร์มช้าง เป็นต้น โดยสัตว์เหล่านี้จะไม่เน้นเรื่องการทำเป็นอาหารหรือเพาะพันธุ์ขาย แต่จะนำไปใช้ประโยชน์ด้านอื่นแทน เช่น น้ำนมจากโคนม เป็นต้น

ด้านการประมง

ด้วยพื้นที่ของประเทศไทยมีแหล่งน้ำให้เกษตรกรได้หารายได้เลี้ยงชีพกันมาโดยตลอด การทำประมงจึงกลายเป็นอีกอาชีพที่มีความสำคัญและได้รับความนิยมสูงมากในกลุ่มคนที่ใช้ชีวิตริมน้ำ ทั้งนี้ต้องแยกให้ออกว่าการทำประมงจะต่างกับการปศุสัตว์คือ ประมงจะเป็นการจับสัตว์น้ำที่มีตามแหล่งธรรมชาติหรือเน้นสัตว์น้ำเท่านั้น ขณะที่ปศุสัตว์จะเป็นการเลี้ยงดู ซึ่งสามารถแยกประเภทการประมงได้ดังนี้

ประมงน้ำจืด

เป็นอาชีพเกษตรกรที่ใช้การหาสัตว์น้ำในแหล่งน้ำจืด เช่น แม่น้ำ_ ลำคลอง_ บึง_ หรือการสร้างบ่อ โดยสัตว์น้ำในกลุ่มประมงน้ำจืดก็มีหลายชนิดโดยเฉพาะปลา เช่น ปลาช่อน_ ปลาดุก_ ปลาตะเพียน_ ปลานิล_ ปลาไน_ ปลาไหล_ ปลาสลิด รวมถึงกุ้งก้ามกรามก็จัดเป็นประมงน้ำจืดชนิดหนึ่งด้วยเช่นกัน

ประมงน้ำเค็ม

เป็นกลุ่มเกษตรกรที่ทำอาชีพในการจับสัตว์เค็ม หรือสัตว์น้ำในทะเล ทั้งนี้จะเป็นการออกไปจับนอกชายฝั่ง หรือการเลี้ยงสัตว์ทะเลบริเวณชายฝั่งก็ถูกจัดอยู่ในกลุ่มเดียวกัน โดยสัตว์ทะเลจะมีความหลากหลายมาก ๆ ไล่ตั้งแต่ กุ้ง_ หอย_ ปู_ ปลา ซึ่งถือเป็นอาหารจานโปรดของใครหลาย ๆ คนเมื่อผ่านขั้นตอนการทำเรียบร้อยแล้ว

ด้านเกษตรแบบผสมผสาน

จริง ๆ แล้วนี่เป็นแนวคิดใหม่ที่พึ่งเกิดขึ้นมาได้ไม่นานนัก หลัก ๆ คือ การรวมเอารูปแบบเกษตรต่าง ๆ มาผสมผสานเอาไว้ในพื้นที่เดียวกัน เช่น นอกจากปลูกข้าวแล้วยังมีการเลี้ยงปลาตามร่องคันนา เพื่อช่วยสร้างรายได้ให้กับตนเองมากกว่าเดิม_ การทำฟาร์มไก่โดยให้กรงตั้งอยู่บนบ่อปลาดุกเพื่อปลาจะได้กินเศษอาหารที่ไก่ทำร่วงเอาไว้ เป็นต้น

ความคุ้มค่าของเกษตรแบบผสมผสาน

ในปัจจุบันมีเกษตรกรจำนวนมากเลือกหันมาทำการเกษตรแบบผสมผสานมากยิ่งขึ้นกว่าเดิม นั่นเพราะลดความเสี่ยงต่อการขาดทุนหากเลือกทำเกษตรแบบใดแบบหนึ่งเพียงอย่างเดียว ซึ่งไม่จำเป็นต้องลงทุนอะไรมากนัก เพียงแค่นำพื้นที่ซึ่งเหลือจากการเกษตรหลักของตนเองมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

แม้ว่ายุคก่อนหน้าอาชีพเกษตรกรจะมีจำนวนลดลง แต่ปัจจุบันมักเริ่มเห็นคนรุ่นใหม่หันไปเลือกทำเกษตรกรกันมากขึ้นเรื่อย ๆ นั่นเพราะเมื่อได้อยู่กับธรรมชาติจริง ๆ แล้วสามารถสร้างความสุขในชีวิตมากกว่าการอยู่ในเมืองที่ต้องเจอกับความเครียดนานัปการก็ได้

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3389
กำจัด หนอนผีเสื้อ หนอนศัตรูพืชทุกชนิด ปลอดสารพิษ ไอกี้ และ FK-T (ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
กำจัด หนอนผีเสื้อ หนอนศัตรูพืชทุกชนิด ปลอดสารพิษ ไอกี้ และ FK-T (ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
ไอกี้ และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

ใช้ได้กับ หนอนศัตรูพืชหลายชนิด เช่น หนอนกระทู้ผัก หนอนกระทู้หอม หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนชอนใบ หนอนร่านกินใบปาล์ม
หนอนม้วนใบ หนอนชอนใบส้ม หนอนกออ้อยชนิดต่างๆ หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด หนอนกระทู้ข้าวโพด เป็นต้น

ไอกี้ เป็นสารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ปลอดภัย กำจัดหนอนต่างๆหลายชนิด
ขนาด 500 กรัม (แนะนำให้ใช้คู่กับ FK ธรรมชาตินิยม เพื่อเร่งฟื้นฟูบำรุง)
อัตราผสม 25 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอกี้ และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
ไอกี้ 25 กรัม และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ

สามารถเลือกซื้อกับ ลาซาด้า ช้อปี้ เจดี เซ็นทรัล ได้เช่นกัน

ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..

ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

เจดีเซ็นทรัล http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3421
กำจัด หนอนกระทู้ข้าวโพด หนอนศัตรูพืชทุกชนิด ปลอดสารพิษ ไอกี้ และ FK-T (ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
กำจัด หนอนกระทู้ข้าวโพด หนอนศัตรูพืชทุกชนิด ปลอดสารพิษ ไอกี้ และ FK-T (ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
ไอกี้ และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

ผีเสื้อหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด เริ่มวางไข่บนต้นข้าวโพด ตั้งแต่ข้าวโพดงอก อายุ 3-4 วัน โดยพบกลุ่มไข่ทั้งด้านบนใบ ใต้ใบ และที่ลำต้น หลังจากฟักจากไข่ หนอนขนาดเล็กจะรวมกลุ่มกัดกินผิวใบ เริ่มเห็นรอยทำลายสีขาวที่ผิวใบเมื่อข้าวโพดอายุ 6-7 วัน (10-11 วันหลังปลูก) ลักษณะเป็นจุดหรือเป็นแถบสีขาว หนอนตัวเล็กที่เพิ่งฟักสามารถกระจายไปยังต้นข้างเคียงโดยปลิวไปกับลม หนอนวัย 3-6 เป็นระยะที่ทำความเสียหายมาก กัดกินอยู่ในยอดข้าวโพด ทำให้ใบขาดเป็นรู เว้าแหว่ง ยอดกุด ระยะก่อนที่ดอกตัวผู้จะโผล่หนอนจะกัดกินเกสรตัวผู้ หลังจากใบยอดคลี่ทั้งหมด ดอกตัวผู้โผล่พ้นใบที่หุ้มอยู่ หนอนจะย้ายไปที่ฝัก กัดกินไหม และเจาะเปลือกหุ้มฝักเข้าไปกัดกินภายในฝัก

ไอกี้ เป็นสารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ปลอดภัย กำจัดหนอนต่างๆหลายชนิด
ขนาด 500 กรัม (แนะนำให้ใช้คู่กับ FK ธรรมชาตินิยม เพื่อเร่งฟื้นฟูบำรุง)
อัตราผสม 25 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอกี้ และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
ไอกี้ 25 กรัม และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม

สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ

สามารถเลือกซื้อกับ ลาซาด้า ช้อปี้ เจดี เซ็นทรัล ได้เช่นกัน

ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..
เจดีเซ็นทรัล http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3483
ปุ๋ยสำหรับข้าวโพด และ ยาสำหรับข้าวโพด แก้ข้าวโพดใบไหม้ เพลี้ย หนอนต่างๆ



ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุเสริม ยารักษาโรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ยากำจัดเพลี้ย ยากำจัดหนอน

http://www.farmkaset..link..

FK-1 : ปุ๋ยสำหรับ พืชไร่ พืชสวน ไม้ยืนต้น ไม้ผล หรือ ทำแปลงเพาะชำ หรือขายพันธุ์ไม้
อัตราผสม แกะกล่องมามีสองถุง ต้องใช้พร้อมกัน ถุงละ 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
ราคา 890 บาท บรรจุ 2 กิโลกรัม

FK-3 : ปุ๋ยเพิ่มผลผลิตพืช ผลดก ผลโต น้ำหนักดี คุณภาพดี ผลผลิตดี
อัตราผสม แกะกล่องมามีสองถุง ต้องใช้พร้อมกัน ถุงละ 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
ราคา 950 บาท บรรจุ 2 กิโลกรัม

ไอเอส : ยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ เช่น โรคใบไหม้ ราสนิม ราน้ำค้าง ใบจุดสีน้ำตาล ราดำ ราเขม่าผง
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
ราคา 450 บาท บรรจุ 1 ลิตร

มาคา : ป้องกัน กำจัด เพลี้ยต่างๆ เช่น เพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยกระโดด แมลงหวีขาว
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
ราคา 470 บาท บรรจุ 1 ลิตร

ไอกี้-บีที : ป้องกันกำจัดหนอนต่างๆ เช่น หนอนชอนใบ หนอนเจาะผล หนอนคืบ หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนแมลงวัน
อัตราผสม 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
ราคา 490 บาท บรรจุ 500 กรัม


สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
ปุ๋ยน้ำข้าวโพด ปุ๋ยสำหรับข้าวโพด ปุ๋ยฉีดพ่นข้าวโพด ปุ๋ยบำรุงข้าวโพด ปลูกเยอะใช้ FK-1 ปลูกน้อยใช้ FKธรรมชาตินิยม
ปุ๋ยน้ำข้าวโพด ปุ๋ยสำหรับข้าวโพด ปุ๋ยฉีดพ่นข้าวโพด ปุ๋ยบำรุงข้าวโพด ปลูกเยอะใช้ FK-1 ปลูกน้อยใช้ FKธรรมชาตินิยม
ปุ๋ยน้ำ เร่งโต ข้าวโพด ฉีดพ่น เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง แก้ปัญหาต้นแคระ โตช้า ใบเหลือง ขาดธาตุ ฉีดพ่น ปุ๋ย FK เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโต เพิ่มความสมบูรณ์ สังเคราะห์แสงได้ดี แตกยอดใบ ติดดอก ออกผล

ปลูกน้อย ใช้ FKธรรมชาตินิยม ปลูกเยอะ ใช้ FK-1

FKธรรมชาตินิยม และ FK-1 เป็นอาหารพืชทางใบ สำหรับเลี้ยง ดูแล พืชพันธุ์นานาชนิด ส่งเสริมการเจริญเติบโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง ด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ประกอบอยู่ในผลิตภัณฑ์

อัตราส่วนการใช้

FKธรรมชาตินิยม ผสม 1 ฝา ต่อน้ำ 1 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

FK-1 แกะกล่องออกมา มีสองถุง ต้องใช้พร้อมกัน ถุงแรก 50กรัม ถุงที่สอง 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร คนให้แตกตัวละลายเข้ากับน้ำ ฉีดพ่นทางใบ (ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สอง เป็นธาตุเสริม และสารจับใบ)

เคมีธาตุอาการพืช เป็น อาหารพืชโดยตรง ไม่ได้อันตรายเหมือน ยาเคมี ที่เป็นสารเคมีอันตราย ซึ่งหลายครั้งถูกเข้าใจผิดไปอย่างมาก เนื่องจาก เคมีธาตุอาหารพืชนั้น เป็นธาตุอาหารโดยตรง ที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตพืชได้ อย่างมีประสิทธิภาพสูง

ยกตัวอย่างเคมีธาตุอาหารพืช ที่จำเป็นอย่างมาก ต่อการเจริญเติบโตของพืช
ธาตุ N หรือ ไนโตรเจน
ธาตุ P หรือ ฟอสฟอรัส
ธาตุ K หรือ โพแตสเซียม
ธาตุ Mg หรือ แมกนีเซียม
ธาตุ Zn หรือ ซิงค์ หรือ สังกะสี
และยังมีอีกหลายธาตุ ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช

---
ข้อมูล FKธรรมชาตินิยม

อาหารเสริมเพืชทางใบ ซึ่งประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช หากไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum_ FKธรรมชาตินิยม ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ จึงทำให้พืช ใช้ประโยชน์ จากการปลดปล่อยธาตุอาหารเดิมที่มีอยู่ รวมกับธาตุอาหารที่ได้รับเข้าไปใหม่ ได้อย่างเต็มที่

---
ข้อมูล FK-1

ปุ๋ยน้ำตรา FK ถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองวัตถุประสงค์การใช้งาน แตกต่างกับปุ๋ยโดยทั่วไป ซึ่งปุ๋ย FK ถูกออกแบบมา เพื่อบำรุงพืชโดยตรง ไม่ได้ถูกออกแบบมาเพื่อปรับปรุงดินหรือเพิ่มจุลินทรีย์ให้กับดิน เพื่อให้ดินดูแลพืช ซึ่งวิธีปรับปรุงดินนี้จะทำให้พืชตอบสนองได้ช้า และอาจจะไม่ได้ผลผลิตดีในรอบการปลูกปัจจุบัน การใช้ปุ๋ยน้ำ FK นั้นจึงเป็นการป้อน ธาตุหลัก(Primary nutrient) ธาตุรอง(Secondary nutrient) ธาตุเสริม(Micronutrient) ให้กับพืชโดยตรง

FK-1 คือปุ๋ยน้ำความเข้มข้นสูง ในรูปแบบผงละลายน้ำได้อย่างรวดเร็ว ในหนึ่งกล่อง 2 กิโลกรัม ประกอบด้วย สองถุง ถุงละ 1 กิโลกรัม (ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ผสมกัน ถุงแรก 50กรัม ถุงที่สอง 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร)

คุณสมบัติ FK-1

ประกอบด้วยไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแตสเซียม อย่างละ 20% ซึ่งนับว่าเป็นธาตุหลักที่สูงมาก เมื่อเทียบกับปุ๋ยในท้องตลาดทั่วไป จึงเรียกได้ว่า FK-1 คือปุ๋ยที่มีความเข้มข้นสูง นอกจากนั้นแล้ว ยังมีธาตุรองและธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช คลอบคุมถึงบางธาตุ ที่เกิดขึ้นเองไม่ได้ซึ่งถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบปลูก

FK Fertilizer - ประสิทธิภาพ

FK-1 เป็นปุ๋ยความเข้มข้นสูง สูตร 20-20-20 ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยทั่วไป เป็นเหตุผลที่ทำให้ในช่วงวันที่ 1-7 ปุ๋ยตรา FK1 มีประสิทธิภาพการทำงานที่สูงกว่าปุ๋ยเคมีโดยเฉลี่ย

ปุ๋ย FK ออกแบบมาเพื่อแก้ปัญหา (FK Fertilizer is designed to solve this problem)

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ "Law of the minimum" ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

การใช้งาน
ผสมปุ๋ยบัวแก้ว 50 กรัม และ F1 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
ผสมปุ๋ยบัวแก้ว 500 กรัม และ F1 500 กรัม ต่อน้ำ 200 ลิตร
ฉีดพ่นพืชที่ปลูก ทุกๆ 7-30 วัน ตามความเหมาะสม

ข้อควรระวัง (สำคัญมาก)
ต้องฉีดพ่นในช่วงเวลาที่ไม่มีแดดจัด มิฉะนั้นอาจทำให้เกิดอาหารใบลวกได้ เช่นฉีดพ่นให้เสร็จสิ้น ก่อน 6 โมงเช้า หรือทำการฉีดพ่นหลัง 5 โมงเย็น หลังจากที่แดดร่มแล้ว หรือฉีดพ่นได้ทั้งวัน ในวันที่แน่ใจว่าแดดไม่แรง

Law of the Minimum (กฎต่ำสุด)
ไม่ว่าจะให้ปุ๋ยมากแค่ไหน พืชจะโตได้เท่ากับ ธาตุหลัก ธาตุรอง ที่ไม่เคยให้กับพืชและดิน ธาตุอาหารที่มีอยู่น้อยที่สุด จะจำกัดการโตของพืชเป็นข้อบกพร่องเล็กๆ ที่ทำให้ดูเหมือนว่า ใส่ปุ๋ยไปมากเท่าไร ก็ยังไม่ได้ผล

ปุ๋ยตรา FK จากฟาร์มเกษตร เราตระหนักถึงเรื่อง Law of the Minimum หรือ กฎต่ำสุด จึงออกแบบปุ๋ยตรา FK ใน 1 กล่อง ให้ประกอบด้วย สองถุง ด้านใน คือ ปุ๋ยธาตุหลักหนึ่งถุง และ F1 ธาตุรอง ธาตุเสริม อีกหนึ่งถุง ที่ผ่านการคำนวณสัดส่วนเพื่อผสมใช้ไปพร้อมกันได้อย่างลงตัว เพื่อนำพาพืชของท่าน ให้เจริญเติบโต ด้วยธาตุหลัก ธาตุรองที่ครบถ้วน และไม่เคยได้ถูกเติมเต็ม จากการใช้ปุ๋ยทั่วๆไปตามท้องตลาด ทำให้พืชได้รับธาตุอาหารต่างๆมากมาย และเติมเต็มส่วนที่ขาดได้อย่างสมบูรณ์แบบ

---


การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
ปลูกผักอะไรดี พืชผักสวนครัว ที่ปลูกง่ายใน ฤดูฝน
ปลูกผักอะไรดี พืชผักสวนครัว ที่ปลูกง่ายใน ฤดูฝน
พืชผักสวนครัวหลายชนิดเหมาะกับการปลูกใน "ฤดูฝน" โดย "ฤดูฝน" นั้นในการปลูกผักจะแบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ

ต้นฤดูฝน หมายถึงเดือน พฤษภาคม ถึง กรกฎาคม

เหมาะกับกัารปลูกผักสวนครัว เช่น
คะน้า
กุ๋ยช่าย
บวบเหลียม
ข้าวโพดหวาน
หอมแดง
กวางตุ้ง

ช่วงที่สองปลายฝน หมายถึงเดือน สิงหาคม ถึง ตุลาคม เหมาะกับกัารปลูกผักสวนครัว เช่น
ผักชีลาว
ผักกาดขาว
มะเขือเปาะ
มะเขือยาว
ผักบุ้งจีน
พริกต่าง ๆ

แต่อย่างไรดีในการดูแลผักของเราในฤดูฝนนั้นต้องคอยระมัดระวังโรคของพืชที่จะมาในฤดูฝนด้วย เช่น

โรคราน้ำค้าง
โรคน้ำค้าง มีสาเหตุมาจากเชื้อรา โดยจะทำให้ใบของผักนั้นมีมีจุดละเอียดสีดำ ส่วนใต้ใบจะมีราสีขาวคล้ายผงแป้งกระจายทั่วไป สร้างความเสียหายทำให้ต้องตัดใบทิ้ง

โรคเน่าคอดิน
โรคเน่าคอดิน มีสาเหตุมาจากเชื้อราเช่นกัน แต่จะเกิดในแปลงที่เราเพาะต้นกล้า

โรคราสนิมขาว
โรคราสนิมขาว เกิดจากเชื้อรา จะทำให้ใบมีสีเหลืองซีด ด้านใบจะมีตุ่มนู้น

โรคใบจุด
โรคใบจุด มีลักษณะจุดแผลเล็ก ๆ สีน้ำตาลในต้นกล้า ส่วนต้นที่โตแล้วจะมีแผลสีน้ำตาลซ้อนกันหายชั้น

จะเห็นได้ว่าโรคของพืชที่มาใน "ฤดูฝน" มักจะเป็นโรคเกี่ยวกับเชื้อรา ชาวสวนหรือนักปลูกผักมือสมัครเล่นต้องศึกษาโรคที่จะมากับฝนให้ดี

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา รายละเอียดด่านล่างนะคะ
โรคเหี่ยว หรือ แง่งเน่า ใน ขิง ข่า ขมิ้น
โรคเหี่ยว หรือ แง่งเน่า ใน ขิง ข่า ขมิ้น
เตือนเกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลขิง ข่า และขมิ้นในทุกภาคของประเทศ โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีการระบายน้ำไม่ดีเนื่องจากช่วงนี้มีฝนตกในหลายพื้นที่ สภาพอากาศชื้น เหมาะต่อการเกิดโรค โดยเฉพาะขิง ข่า ขมิ้นที่อยู่ในช่วงปลูกใหม่ ดังนั้น เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลง หากพบอาการของโรคให้รีบแจ้งสำนักงานเกษตรอำเภอ สำนักงานเกษตรจังหวัดใกล้บ้านเพื่อดำเนินการหาแนวทางควบคุม และป้องกันกำจัดก่อนเกิดการระบาดรุนแรง

เชื้อสาเหตุ : เชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum

ลักษณะอาการ
อาการในระยะเริ่มแรกหลังจากถูกเชื้อเข้าทำลาย ใบแก่ที่อยู่ตอนล่างๆ จะเหี่ยวตกลู่ลง ต่อมาจะม้วนเป็นหลอดและเหลือง อาการจะค่อยๆ ลามจากล่างสูงขึ้นไปยังส่วนบน ในที่สุดใบจะม้วนและเหลืองแห้งทั้งต้น บริเวณโคนต้นและหน่อที่แตกออกมาใหม่จะมีลักษณะช้ำฉ่ำน้ำ ซึ่งต่อมาจะเน่าเปื่อยหักหลุดออกมาจากแง่งโดยง่าย แต่จะไม่มีกลิ่นเหม็น เมื่อตรวจดูที่ลำต้นจะพบว่าส่วนที่เป็นท่อน้ำ ท่ออาหาร จะถูกทำลายเป็นสีคล้ำหรือน้ำตาลเข้ม และมีเมือกของแบคทีเรียเป็นของเหลวสีขาวข้นคล้ายน้ำนมซึมออกมาตรงรอยแผลหรือรอยตัดของต้นหรือแง่งขิงที่เป็นโรค สำหรับแง่งจากต้นที่เพิ่งแสดงอาการโรคในระยะแรก หากนำขึ้นมาผ่าออกดู จะพบรอยช้ำฉ่ำน้ำเป็นปื้นๆ โดยเฉพาะแง่งที่ยังอ่อน ต่อมาอาการจะทวีความรุนแรงทำให้เนื้อเยื่อเปื่อยยุ่ยและสีคล้ำขึ้น อาการเหล่านี้จะเป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในสภาพที่อากาศชื้นและร้อน ตั้งแต่เริ่มแสดงอาการจนทำให้ต้นหักพับตาย จะใช้เวลา ๕ - ๗ วัน เป็นอย่างช้า

การแพร่กระจาย
เชื้อสามารถติดไปกับแง่งขิง หรือหน่อที่ใช้ทำพันธุ์ เป็นเชื้อที่มีคุณสมบัติความสามารถในการขยายพันธุ์แพร่ระบาด การเข้าทำลายพืช การอยู่ข้ามฤดูปลูก ระบาดมากในช่วงฝนตกชุก

กรมส่งเสริมการเกษตร แนะนำวิธีการป้องกันกำจัด ดังนี้

๑. หมั่นตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ หากพบต้นที่เริ่มแสดงอาการของโรคเหี่ยว ให้ขุดต้นไปเผาทำลายนอกแปลงปลูกทันที และโรยปูนขาวบริเวณหลุมที่ขุด เพื่อป้องกันการระบาดของโรค

๒. ใช้เชื้อไตรโคเดอร์ม่า ๔๐ กรัม (๒ ช้อนแกง) ร่วมกับกากน้ำตาลหรือน้ำตาลทรายแดง ๑ กิโลกรัม น้ำเปล่า ๑๕ ลิตร หมักทิ้งไว้ ๖ ชั่วโมง ก่อนผสมน้ำเปล่าหรือน้ำที่ละลายพูมิชซัลเฟอร์ (พูมิชซัลเฟอร์ ๒๐ กิโลกรัมต่อน้ำ ๒๐๐ ลิตร ปล่อยให้ตกตะกอนนานประมาณ ๑๕ นาทีหรือน้ำใส) ๒๐๐ ลิตร ร่วมกับไคโตซาน MT ๕๐ ซีซี. ซิลิโคเทรช ๑๐๐ กรัม และม้อยเจอร์แพล้นหรือสารจับใบ ๒๐ ซีซี. ก่อนนำไปพ่นให้ทั่วทั้งบนใบใต้ใบอย่างชุ่มโชกเหมือนอาบน้ำทุกๆ ๑๐ - ๑๕ วัน

๓. ในแปลงที่มีการระบาดของโรค หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต นําส่วนต่างๆ ของพืชที่เป็นโรคไปเผาทําลาย



ในฤดูถัดไป

๔ ควรเลือกพื้นที่ปลูกที่ไม่เคยมีการระบาดของโรคนี้มาก่อน และมีการระบายน้ำที่ดี

๕ ไถพรวนดินให้ลึกเกินกว่า ๒๐ เซนติเมตร จากผิวดิน และตากดินไว้นานกว่า ๒ สัปดาห์ จะช่วยลดปริมาณเชื้อในดินลงได้มาก

๖. พื้นที่ที่เคยมีการระบาดของโรค ควรรมดินเพื่อฆ่าเชื้อโรค โดยโรยยูเรียผสมปูนขาว อัตรา
๘๐ : ๘๐๐ กิโลกรัมต่อไร่ จากนั้นไถกลบและรดน้ำให้ดินมีความชื้น ทิ้งไว ๓ สัปดาห์ จึงเริ่มปลูกขมิ้น

๗. ใช้หัวพันธุจากแปลงที่ปลอดโรค

๘. ในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค ไม่ควรปลูกพืชอาศัยของเชื้อ เช่น พืชตระกูลขิง พืชตระกูลมะเขือมันฝรั่ง พริกและถั่วลิสง ให้สลับปลูกพืชชนิดอื่นที่ไมใช่พืชอาศัย เช่น ข้าว ข้าวโพด และมันสำปะหลัง เพื่อตัดวงจรของโรค


ที่มา : สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร

กรมวิชาการเกษตร
เรียบเรียงโดย : กลุ่มพยากรณ์และเตือนการระบาดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
โรคข้าวโพดใบไหม้ โรคใบจุดข้าวโพด ไหม้แผลใหญ่ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู บำรุง สร้างภูมิคุ้มกันโรค 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
โรคข้าวโพดใบไหม้ โรคใบจุดข้าวโพด ไหม้แผลใหญ่ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู บำรุง สร้างภูมิคุ้มกันโรค 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
ใช้ได้กับพืชทุกชนิด ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล กิ่งแห้ง โรคราน้ำค้าง ราสนิม แอนแทรคโนส ไฟธอปโทร่า หรือ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ไอเอส หยุดโรค และ FK-1 ธาตุหลัก N-P-K ธาตุรอง ธาตุเสริม Ca_ Mg_ Zn สำหรับบำรุงให้แข็งแรง โตไว ผลผลิตดี สร้างภูมิคุ้มกันโรค

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด
✅ราคาถูกกว่าเมื่อเทียบกับปริมาณ ซีซี ที่ได้

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง (เลือกแยกซื้อได้)

http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..


ข้อมูลและอัตราผสมใช้
🍂 ไอเอส อัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)
🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส ได้เลย
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🍂ข้อมูลจำเพาะ ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค
*การใช้ ไอเอส ในช่วงรักษาโรคพืชจากเชื้อรา กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
วิธีการไถกลบตอซังข้าว
วิธีการไถกลบตอซังข้าว
พื้นที่เขตชลประทาน ในเขตพื้นที่ชลประทานซึ่งสามารถปลูกข้าวได้ต่อเนื่อง 2-3 ครั้งต่อปี หลังจากเก็บเกี่ยวข้าวแล้วไม่ต้องเผาตอซังและฟางข้าว ให้ทำการไถกลบตอซังและฟางข้าวแล้วปล่อยน้ำเข้านา โดยให้ระดับน้ำพอท่วมวัสดุ หลังจากนั้นใช้ปุ๋ยอินทรีย์น้ำอัตรา 5 ลิตรต่อไร่ เจือจางกับน้ำ 100 ลิตร คิดเป็นอัตราส่วน 1 : 20 ราดลงในแปลงข้าวเพื่อช่วยให้ตอซังข้าวย่อยสลายได้ง่าย หมักไว้ประมาณ 2 สัปดาห์ แล้วจึงทำเทือกเพื่อเตรียมเพาะปลูกข้าวครั้งใหม่ต่อไป หรือสามารถปลูกพืชไร่เศรษฐกิจชนิดอื่นได้ เช่น พืชตระกูลถั่ว ข้าวโพด ข้างฟ่าง ฯลฯ

พื้นที่เขตเกษตรน้ำฝน ในกรณีที่เกษตรกรมีการปลูกข้าวเป็นพืชหลักเพียงอย่างเดียวตลอดฤดูเพาะปลูกโดยอาศัยน้ำฝน หลังจากการเก็บเกี่ยวข้าวให้ทิ้งฟางข้าวและตอซังไว้ในพื้นที่ของเกษตรกร เพื่อเป็นการคลุมผิวหน้าดิน จากนั้นเมื่อเข้าสู่ต้นฤดูฝนประมาณปลายเดือนเมษายน หรือต้นเดือนพฤษภาคม ให้ทำการเตรียมดินพร้อมกับการไถกลบตอซังและฟางข้าว แล้วปฏิบัติเช่นเดียวกับในเขตชลประทาน โดยทำการปล่อยน้ำเข้านาให้ระดับน้ำท่วมวัสดุที่ไถกลบ หลังจากนั้นใส่ปุ๋ยอินทรีย์น้ำในพื้นที่ 1 ไร่ ใช้อัตรา 5 ลิตร โดยให้เจือจางกับน้ำ 100 ลิตร ก่อนราดลงในแปลงนาข้าว หมักทิ้งไว้ประมาณ 2 สัปดาห์ เพื่อให้ตอซังข้าวเกิดการย่อยสลาย แล้วจึงทำเทือกเตรียมแปลงพร้อมที่จะปลูกข้าวต่อไป

ผลเสียจากการเผาตอซัง

เกษตรกรที่เตรียมพื้นที่สำหรับปลูกข้าวโดยทำการเผาตอซังข้าวเพื่อให้เกิดความสะดวกในการไถเตรียมดิน หรือเพื่อต้องการกำจัดวัชพืชและแมลงศัตรูพืชนั้นจะมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง
สมบัติของดินทั้งทางด้านกายภาพ เคมี และชีวภาพ เนื่องจากความร้อนจากการเผาตอซัง กล่าวคือ

1. ทำให้โครงสร้างของดินเปลี่ยนแปลงไป อนุภาคของดินจับตัวกันแน่นและแข็ง ทำให้รากพืชแคระแกร็น ไม่สมบูรณ์และอ่อนแอ การหาอาหารลดลงรวมทั้งเชื้อโรคพืชสามารถเข้าทำลายได้ง่าย

2. สูญเสียอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดิน คาร์บอนและอินทรียวัตถุในดินเมื่อถูกเผาจะกลายเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูญเสียไปในบรรยากาศ ส่วนธาตุอาหารจะแปรสภาพให้อยู่ในรูปที่สามารถสูญเสียไปจากดินได้ง่าย

3. ทำลายจุลินทรีย์และแมลงที่เป็นประโยชน์ในดิน ทำให้ปริมาณและกิจกรรมของจุลินทรีย์ดินลดลง เช่น กิจกรรมการเปลี่ยนก๊าซไนโตรเจนจากบรรยากาศให้อยู่ในรูปของสารประกอบไนโตรเจนที่พืชใช้ประโยชน์ได้ การแปรสภาพอนินทรีย์ฟอสฟอรัสให้อยู่ในรูปของฟอสเฟตที่ละลายน้ำได้ และการย่อยสลายอินทรียสารเป็นการเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน นอกจากนั้นตัวอ่อนของแมลงศัตรูพืช เช่น ตัวห้ำ ตัวเบียนที่อาศัยอยู่ในดินหรือตอซังพืชรวมทั้งจุลินทรีย์ที่สามารถควบคุมโรคพืชถูกเผาทำลายไป ซึ่งหากระบบนิเวศน์ของดินไม่สมดุลจะทำให้การแพร่ระบาดของโรคเกิดได้ง่ายขึ้น

4. สูญเสียน้ำในดิน การเผาตอซังพืชทำให้ผิวดินมีอุณหภูมิสูงถึง 90 องศาเซลเซียส น้ำในดินจะระเหยสู่บรรยากาศอย่างรวดเร็ว ให้ความชื้นของดินลดลง

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อ ชุดย่อยสลายตอฟาง กับ Lazada : http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อ ชุดย่อยสลายตอฟาง กับ Shopee : http://www.farmkaset..link..
198 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 19 หน้า, หน้าที่ 20 มี 8 รายการ
|-Page 15 of 20-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
เพลี้ยแป้งในต้นเงาะ: วิธีป้องกันและการรักษา
Update: 2566/11/22 13:15:52 - Views: 3447
พืชที่ขาดไนโตรเจน
Update: 2567/01/02 05:36:30 - Views: 3526
โรคราดำมรณะ ในอินเดียอันตรายซ้ำซ้อนช่วงวิกฤติ Covid-19
Update: 2564/08/10 05:05:17 - Views: 3401
กำจัดเชื้อรา หัวไชเท้า ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/28 11:18:18 - Views: 3406
แตงไทย โตไว ใบเขียว ผลใหญ่ แข็งแรง ผลผลิตดี อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/08 15:05:02 - Views: 3460
ป้องกันกำจัด โรคราสีชมพู ในทุเรียน ติดต่อ ไลน์ @FarmKaset
Update: 2565/03/03 00:02:21 - Views: 3382
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคแอนแทรคโนส ในมะปราง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/20 10:31:03 - Views: 3396
ยากำจัดโรคใบจุด ใน ผักกาดขาวปลี โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/02 11:29:13 - Views: 3412
คำนิยม - ลูกค้า มาคา คอมเม้นในโพสสินค้า
Update: 2562/09/25 14:08:43 - Views: 3418
ลิ้นจี่ ใบแห้ง ใบไหม้ ผลร่วง กำจัดโรคลิ้นจี่ จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/26 12:15:21 - Views: 3449
ปุ๋ยน้ำบำรุงมังคุด ปุ๋ยสำหรับมังคุด ฉีดพ่นมังคุด โตไว ออกดอก ออกผล FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/10/09 03:15:13 - Views: 3455
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนกาแฟสีแดง ใน ผักหวาน และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/14 14:38:59 - Views: 3436
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน ลองกอง เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/20 13:34:49 - Views: 3441
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยอ่อน ในมะเขือเทศ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/04 14:01:35 - Views: 3408
การปลูกขนุน การดูแลรักษา และการป้องกันกำจัดโรคขนุน
Update: 2564/01/25 10:19:35 - Views: 3533
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยแป้ง ในมะม่วงหิมพานต์ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/16 14:27:32 - Views: 3430
การจัดการและป้องกันโรคที่เกิดจากเชื้อราในต้นบีทรูท
Update: 2566/11/24 09:27:15 - Views: 3476
เพลี้ยอ่อนแครอท เพลี้ยแครอท พบ เพลี้ยในแครอท มาคา จาก FK
Update: 2565/06/17 00:15:10 - Views: 3392
หนอนเจาะผลฝรั่ง หนอนฝรั่ง หนอนแมลงศัตรูฝรั่ง ใช้ ไอกี้-บีที จาก FK
Update: 2565/06/18 06:31:01 - Views: 3445
ยาฆ่าเพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด ใน กระเจี๊ยบเขียว เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/03/16 10:49:37 - Views: 3409
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022