[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - ไอเอส
1049 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 104 หน้า, หน้าที่ 105 มี 9 รายการ

ปุ๋ยสำหรับอ้อย เพื่อบำรุงผลผลิต การแก้โรคอ้อย ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ป้องกันกำจัดเพลี้ย ในไร่อ้อย
ปุ๋ยสำหรับอ้อย เพื่อบำรุงผลผลิต การแก้โรคอ้อย ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ป้องกันกำจัดเพลี้ย ในไร่อ้อย
ผู้ปลูกอ้อย มีความชำนาญด้านการใช้ปุ๋ยเม็ดกับไร่อ้อย เป็นทุนเดิมอยู่แล้ว ในครั้งนี้ เป็นการใช้ ปุ๋ยน้ำ เพื่อบำรุงอ้อย ให้เจริญเติบโตดี เพิ่มผลผลิต เพิ่มน้ำหนัก เร่งค่า CCS หรือค่าความหวาน เพื่อให้ขายอ้อยได้ราคาขึ้น

ฉีดพ่นทางใบ เพื่อเร่งการเจริญเติบโต เพิ่มความเขียว สมบูรณ์แข็งแรง เร่งการย่างปล้องให้เร็วขึ้น ฉีดพ่นด้วย FK-1 สามารถฉีดพ่นได้ตั้งแต่อ้อยมีอายุ 15 วัน ไปจนถึง 3 เดือน ฉีดพ่นได้ทุกๆ 15-30 วัน

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง
สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

เมื่ออ้อย เข้าสู่ระยะ 4 เดือนแล้ว เปลี่ยนมาใช้ FK-3S สำหรับอ้อยโดยเฉพาะ ตัว FK-3S นี้ จะเน้นไปที่ธาตุ โพแตสเซียม สูงกว่าธาตุอื่นๆ เพื่อส่งเสริมกระบวนการสะสมแป้งและน้ำตาล ทำให้อ้อยขยายขนาดลำได้ใหญ่ขึ้น และมีค่าความหวาน หรือค่า CCS ที่สูงขึ้น ได้น้ำหนักดี สามารถฉีดพ่นได้ในช่วงอายุ 4-6 เดือน ฉีดพ่นทุก 15-30 วัน ตามความเหมาะสม

ป้องกัน กำจัดเพลี้ยอ้อย เพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆในไร่อ้อย
ฉีดพ่นด้วย มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด หากฉีดเฉพาะต้นที่เป็น เพลี้ยก็ย้ายไปอยู่บริเวณข้างเคียงโดยรอบ ฉนั้น ควรฉีดพ่นให้คลอบคลุมทั้งแปลง

ยับยั้งโรคอ้อย ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ เช่น โรคแซ่ดำ ใบจุดวงแหวน ราสนิม เน่าคออ้อย
ฉีดพ่นด้วย ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด

การฉีดพ่น มาคา เพื่อกำจัดเพลี้ย หรือ ไอเอส เพื่อยับยั้งโรครา สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อเร่งให้พืชฟื้นตัวได้รวดเร็วยิ่งขึ้น และกลับมาเจริญเติบโต สมบูรณ์แข็งแรง

อ่าน:5051
ปุ๋ยสำหรับข้าว ปุ๋ยเพิ่มผลผลิตข้าว ยาแก้โรคใบไหม้ เน่าคอรวง ยากำจัดเพลี้ยในนาข้าว
ปุ๋ยสำหรับข้าว ปุ๋ยเพิ่มผลผลิตข้าว ยาแก้โรคใบไหม้ เน่าคอรวง ยากำจัดเพลี้ยในนาข้าว
การให้ปุ๋ยข้าว เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดีนั้น ต้องให้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารเหมาะสม สอดคล้องกับช่วงอายุของการเจริญเติบโตของข้าว ยกตัวอย่างเช่น ในช่วงข้าวเริ่มงอก ไปจนก่อนตั้งท้อง เราควรให้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารที่เน้นไปทางส่งเสริมการเจริญเติบโต ส่งเสริมระบบราก เพื่อให้ดูดกินอาหารได้ดี และเพิ่มความเขียว เพื่อให้ต้นข้าวสังเคราะห์แสงได้ดี ทำให้ข้าวโตไวและแข็งแรง หากเราเน้นให้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารที่เร่งกระบวนการเพิ่มผลผลิตในช่วงนี้ จะสิ้นเปลือง เพราะต้นข้าวจะไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่

ในทางกลับกัน ในระยะข้าวตั้งท้อง ควรลดปริมาณการให้ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูง และเพิ่มโพแตสเซียมให้มากขึ้น เพื่อที่จะส่งเสริมกระบวนการลำเลียงสะสมแป้งและน้ำตาล เพื่อให้ข้าวออกรวงได้ยาว มีเมล็ดเต็ม มีน้ำหนัก ส่งผลให้ผลผลิตข้าวมีคุณภาพ และได้ผลผลิตในปริมาณที่สูงขึ้น

ฉีดพ่นด้วย FK-1 สำหรับข้าวหลังปลูก ไปจนถึงก่อนข้าวตั้งท้อง สามารถฉีดพ่นได้ต่อเนื่องทุกๆ 7-15 วัน เพื่อช่วยเร่งการเจริญเติบโต เร่งการแตกกอ เพิ่มความเขียวสมบูรณ์ แข็งแรงให้กับต้นข้าว

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

ข้าวเริ่มตั้งท้อง เปลียนมาฉีดพ่นด้วย FK-3R ซึ่งมีคุณสมบัติแตกต่างจาก FK-1 ตรงที่ FK-3R นั้น เน้นธาตุโพแตสเซียมสูง 40 เปอร์เซ็นต์ โพแตสเซียมนี้ จะส่งเสริมกระบวนการลำเลียง เคลื่อนย้ายแป้งและน้ำตาล มาสะสมเป็นเมล็ดข้าว ข้าวที่เราปลูกนั้นจะมีรวงยาว เมล็ดเต็ม ได้ผลผลิตดี มีน้ำหนัก อัตราการใช้ FK-3R นั้น เป็นเช่นเดียวกันกับ FK-1 สามารถฉีดพ่นได้ต่อเนื่องทุกๆ 7-15 วัน ตามความเหมาะสมของผู้ปลูก

ยายับยังโรคข้าวต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
โรคไหม้ โรคใบจุดสีน้ำตาล โรคใบขีดสีน้ำตาล โรคใบวงสีน้ำตาล โรคกาบใบแห้ง โรคกาบใบเน่า โรคเมล็ดด่าง โรคขอบใบแห้ง โรคใบแถบแดง โรคกล้าเน่า โรคลำต้นเน่า
ฉีดพ่นด้วย ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด

ยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูข้าว
เพลี้ยไฟข้าว เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยกระโดดหลังขาว เพลี้ยจักจั่นสีเขียว เพลี้ยจักจั่นปีกลายหยัก
ใช้ มาคา ยาอินทรีย์ สารอัลคาลอยด์ ป้องกัน กำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูข้าว ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด

ยากำจัดหนอนต่างๆ ในนาข้าว
หนอนกอข้าว หนอนแมลงวันเจาะยอดข้าว หนอนกระทู้กล้า หนอนห่อใบข้าว หนอนปลอกข้าว หนอนกระทู้คอรวง
ใช้ ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ ป้องกันกำจัดหนอน ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด
อ่าน:3569
ยางพาราใบร่วง โรคเชื้อราไฟทอปโทร่า ยางพารา ใช้ยาอะไรแก้ดี..
ยางพาราใบร่วง โรคเชื้อราไฟทอปโทร่า ยางพารา ใช้ยาอะไรแก้ดี..
โรคเชื้อรา Phytophthora botryosa เป็นโรคที่เกิดขึ้นกับยางพารา หลายๆ ท่านปวดหัวกับเจ้าเชื้อราตัวร้ายนี้เป็นอย่างมาก มาทำความรู้จักโรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อรา ไฟทอปโทร่า

ไฟทอปเทอร่า Phytophthora

ลักษณะอาการ
- ใบจะร่วงสดๆ ทั้งก้าน 3 ใบ
- มีรอยช้ำสีดำตรงบริเวณก้านใบ และที่จุด กึ่งกลางของรอยช้ำจะมีหยดน้ำยางสีขาวเกาะติดอยู่
- เมื่อนำใบยางที่เป็นโรคมาสะบัดไปมาเบาๆ ใบย่อยจะหลุดออกจากก้านใบได้โดยง่าย มีผลทำให้ใบร่วงทั้งที่ยังเขียวสดอยู่
- เชื้อราสามารถเข้าทำลายฝักยางได้ทุกระยะ ทำให้ฝักเน่า ถ้าความชื้นในอากาศสูงจะพบเชื้อราสีขาว เจริญปกคลุมฝัก
- ฝักที่ถูกทำลายจะเน่าดำค้างอยู่บนต้น ไม่แตกและร่วงหล่นตามธรรมชาติ กลายเป็นแหล่งเชื้อโรคในปีถัดมา

สินค้าแนะนำจากฟาร์มเกษตร

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน และยับยั้งเชื้อรา ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด ทุกๆ 3-5 วัน ต่อเนื่อง 3-4 ครั้ง

สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน เพื่อเร่งให้มันสำปะหลังฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลงได้เร็วยิ่งขึ้น

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3684
โรคแก้วมังกร ลำต้นจุดสีน้ำตาล เกิดจากเชื้อรา Dothiorella sp.
โรคแก้วมังกร ลำต้นจุดสีน้ำตาล เกิดจากเชื้อรา Dothiorella sp.
โรคลำต้นจุดสีน้ำตาลของแก้วมังกร ซึ่งเกิดจากเชื้อรา Dothiorella sp. โดยในอดีตพบระบาดมากในระดับเล็กน้อย-รุนแรงมาก กับพันธุ์การค้าที่มีเนื้อสีขาว ในพื้นที่หลายท้องที่ ได้แก่ ตำบลยายอาม ตำบลสนามไชย ตำบลวังโตนด ตำบลกระแจะ ตำบลช้างข้าม อำเภดนายายอาม ตำบลตะปอน ตำบลมาบไพ ตำบลซึ้ง อำเภอขลุง ตำบลโขมง ตำบลพลอยแหวน ตำบลเขาบายศรี ตำบลทุ่งเบญจา ตำบลหนองบัว ตำบลสองพี่น้อง ตำบลรำพัน ตำบลท่าใหม่ ตำบลแสลง อำเภอเมือง ตำบลมะขาม อำเภอะมะขาม ตำบลทับไทร อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี ตำบลวังตะเคียน อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด ตำบลบึง อำเภอศรีราชา จังหวัดราชบุรี พบการเป็นโรคโดยประมาณ 80-100% คิดเป็นพื้นที่โดยรวม 500 ไร่ นอกจากนี้ยังมีพันธุ์เนื้อสีแดงทีอยู่ในบางพื้นที่ก็มีการระบาดแล้ว ที่ตำบลคลองอุดมสาร อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา

ลักษณะอาการของ โรคแก้วมังกร ลำต้นจุดสีน้ำตาล

อาการเริ่มแรกจะพบเข้าทำลายที่บริเวณกิ่งอ่อน หรือ ผลอ่อน เป็นจุดสีเหลือง จากนั้นจะพัฒนาเป็นตุ่มนูนเล็กสีน้ำตาลคล้ายสนิมเหล็ก ถ้าแผลขยายใหญ่จะพบอาการเป็นรอยปื้นไหม้ ถ้าพบเป็นที่ผทำให้ผลเสียหายเป็นตำหนิ ทำให้สูญเสียราคาและคุณภาพ

สาเหตุเกิดจาก : เชื้อราที่มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Dothiorella sp.

วิเคราะห์หาสาเหตุของการแพร่ระบาดของโรคที่เป็นไปอย่างกว้างขวาง

จากการสุ่มสำรวจหาสาเหตุของการแพร่ระบาดของโรคที่เป็นไปอย่างกว้างขวางในพื้นที่เกษตรกรผู้ปลูกแก้วมังกรในเขตภาคตะวันออก จำนวนหลายราย ในแต่ละพื้นที่ปลูก เพื่อใช้เป็นกรณีศึกษา พอสรุปหาสาเหตุของ

การแพร่ระบาดที่ผ่านมาเป็นได้ 7 ประเด็น คือ

1. พบว่าเกษตรกรและนักวิชาการเกษตรยังขาดความเกี่ยวกับโรคนี้ เพราะเป็นโรคที่เกิดขึ้นใหม่ในประเทศไทย เริ่มพบการแพร่ระบาดในแถบจังหวัดภาคกลาง ได้แก่ ราชบุรี สมุทสารค จากนั้นเกษตรกรส่วนใหญ่ผู้ปลูกแก้วมังกรในเขตภาคตะวันออก ซื้อกิ่งพันธุ์มาจากแถบจังหวัดราชบุรี แล้วอาจมีโรคติดมากับกิ่งพันธุ์ แต่เนื่องจากเกษตรกรเองและนักวิชาการเกษตร ทั้งภาคเอกชนและราชการไม่เคยรู้จักโรค ดังกล่าวมาก่อน เกษตรกรและนักวิชาการด้านเกษตร ก็ยังคิดว่าเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไฟท็อปธอร่า บางรายก็คิดว่าเกิดจากแมลงศัตรูพืช ก็แนะนำการป้องกันกำจัดไม่ตรงกับสาเหตุของโรค เน้นการป้องกันกำจัดในการทดลองใช้สารเคมีเป็นหลัก และมักไม่ตรงกับสาเหตุของโรค

2. เกษตรกรไม่มีการตัดแต่งกิ่งหรือผลที่เป็นโรคออกจากแปลงปลูก เพราะในเชิงปฏิบัติงานค่อนข้างทำลำบาก เนื่องด้วยแก้วมังกรเป็นพืชมีหนาม หรือ เกษตรกรมักเสียดายกิ่ง หรือ ผลที่เป็นโรค มักมุ่งเน้นแต่การใช้สารเคมี เพราะจริงๆ แล้วสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืช จะได้ผลดีในเชิงป้องกันมากกว่ารักษา ไม่เหมือนยาที่ใช้รักษาคน หรือ ในบางรายไม่มีการตัดแต่งกิ่งหรือผลที่เป็นโรคทิ้งเลย ปล่อยแปลงทิ้งเลิกปลูกและหันไปปลูกพืชชนิดอื่นแทน เนื่องจากการใช้สารเคมีอาจไม่คุ้มต้นทุนการผลิต เพราะประสบปัญหาราคาแก้วมังกรตกต่้ำ

3. เกษตรกรมีการตัดแต่งกิ่งที่เป็นโรคผิดวิธี มักตัดแต่งเฉพาะส่วนที่เป็นโรคออก หรือตัดบริเวณกลางกิ่งที่ไม่ใช่บริเวณรอยข้อต่อของกิ่ง ทำให้เกิดรอยบาดแผลมากขึ้น ทำให้เชื้อโรคสามารถเข้าทำลายซ้ำเติมบริเวณบาดแผลได้ง่ายมากขึ้น ทำให้โรคมีการระบาดบางต้นยืนต้นตาย

4. ขาดความระมัดระวังในเรื่องการใช้เครื่องมือ ได้แก่ กรรไกรที่ใช้ตัดแต่งกิ่งมักนำไปตัดต้นที่เป็นโรคแล้วไปใช้ตัดแต่งต้นปกติโดยไม่มีการทำความสะอาดก่อนใช้งาน อาจทำให้เชื้อโรคพืชดังกล่าวติดไปกับกรรไกรได้

5.มักพบมีการเร่งใสปุ่ญไนโตรเจนให้สูงจนเกินไป เช่น ปุ๋ยยูเรีย(46-0-0)หรือใส่แต่ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมักเพียงอย่างเดียว ทำให้เกิดการระบาดของโรคได้ง่ายขึ้น

6. จากการสุ่มสำรวจดินจากแปลงที่พบว่าเป็นโรคดังกล่าว นำไปตรวจวิเคราะห์ทางธาตุอาหาร มักพบดินเป็นกรดจัดมาก มีธาตุเคลเซียม และแมกนีเซียมในปริมาณต่ำ

7. ในพื้นที่ปลูกบางพื้นที่เคยมีการทำนามาก่อนและมักไม่ยกร่องแปลงปลูกบางแปลงพบน้ำท่วมขังในช่วงฤดูฝนและมีการให้น้ำในช่วงบ่ายหรือเย็น เมื่อรวมกับน้ำค้างในช่วงกลางคืน ทำให้แปลงมีความชื้นสูงในแปลงปลูกตลอดเป็นระยเวลานาน อาจทำให้เกิดโรคระบาดง่ายขึ้น

ข้อแนะนำในการป้องกันกำจัดเบื้องต้น

เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาวิจัยโรคดังกล่าวอย่างจริงจัง เพื่อเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกรผู้ปลูกแก้วมังกร ทางสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 จึงเร่งศึกษาในเบื้องต้น ที่พอจะสรุปไว้เป็นแนวทางในการป้องกันกำจัดไว้ดังนี้ คือ

1.เลือกใช้ต้นพันธุ์ที่แข็งแรง ปราศจากโรค เพราะเชื้อโรคอาจติดมากับกิ่งพันธุ์ได้

2. เน้นการตัดแต่งกิ่งยอดอ่อนหรือลำต้นหรือส่วนที่เป็นโรค และ เก็บรวบรวมนำไปฝังหรือเผาทำลายเสีย เพื่อลดปริมาณของเชื้อโรคพืช

3. การตัดแต่งกิ่งต้องให้มีขนาดของบาดแผลน้อยที่สุด เช่น ตัดแต่งบริเวณรอยต่อของข้อระหว่างกิ่งจะทำให้เกิดบาดแผลน้อยที่สุด เพื่อป้องกันเชื้อราเข้าทำลายทางบาดแผล หรือ เชื้อแบคทีเรียอื่นหรือแมลง เช่น มดคันไฟ เข้าทำลายซ้ำเติมในภายหลัง

4. ถ้าพบการระบาดมาก หลังจากการตัดแต่งกิ่ง

5. ระมัดระวังอย่านำกรรำกรที่้ใช้ตัดแต่งต้นที่เป็นโรคไปใช้ตัดแต่งต้นปกติ เพระาเชื้อราอาจติดไปกับกรรไกรได้ ควรนำไปล้างทำความสะอาดก่อนนำไปใช้ใหม่ทุกครั้ง

6. ลดการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนอย่าให้สูงจนเกินไป เช่น ปุ๋ยยูเรีย(46-0-0) หรือ ใส่แต่ปุ๋ยคอก หรือ ปุ๋ยหมักเพียงอย่างเดียว เพราะจะทำให้เกิดการระบาดของโรคได้ง่าย เนื่องจากพืชจะอวบน้ำมากขึ้น เชื้อโรคและแมลงเข้าทำลายได้ง่ายขึ้น แต่ควรใช้ปุ๋ยสูตรเสมอ เช่น 15-15-15 กรือ 16-16-16 หรือ สูตรตัวท้ายสูงในช่วงกำลังให้ผลผลิต เช่น 13-13-21 ร่วมกับการฉีดพ่นด้วยธาตุอาหารแคลเซียม และ แมกนีเซียม

7. ถ้าดินเป็นกรดจัดมากอาจจำเป็นต้องปรับสภาพดินด้ววยปูนโดโลไมท์ ซึ่งจะได้รับธาตุแคลเซียมและแมกนีเซียมเสริมไปด้วย (โดยอัตราที่ใช้จำเป็นต้องนำตัวอย่างดินไปตรวจวิเคราะห์ดูเสียก่อน จึงจะทราบอัตราการใช้ที่แน่นอน)

8. งดการให้น้ำในช่วงบ่ายหรือเย็น เนื่องจากจะมีความชื้นสูง เมื่อรวมกับน้ำค้าง จะทำให้เกิดโรคระบาดง่าย โดยควรรดน้ำในช่วงตอนเช้าแทน

อ้างอิง rakbankerd.com /agriculture /page.php?id=4790&s=tblplant

สินค้าแนะนำจากฟาร์มเกษตร

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน และยับยั้งเชื้อรา ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด ทุกๆ 3-5 วัน ต่อเนื่อง 3-4 ครั้ง

สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน เพื่อเร่งให้มันสำปะหลังฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลงได้เร็วยิ่งขึ้น

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3554
แตงใบจุด แตงใบเหลือง โรคใบจุดของแตงที่เกิดจากเชื้อ Cercospora
แตงใบจุด แตงใบเหลือง โรคใบจุดของแตงที่เกิดจากเชื้อ Cercospora
(Cercospora leaf spot)

แตงที่เป็นโรคนี้ได้แก่ แตงกวา แตงร้าน แตงโม แตงไทย แคนทาลูป ฟักแฟง สควอซ บวบ

อาการโรค

อาการส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นที่ใบโดยมีลักษณะเป็นแผลจุดเล็ก ๆ รูปร่างไม่แน่นอนหรือค่อนข้างกลมสีนํ้าตาลจาง ๆ ตรงกลางขาว มีขอบสีดำหรือม่วงล้อมอยู่โดยรอบ ผลหรือลูกแตงจะไม่แสดงอาการในบางกรณีที่สิ่งแวดล้อมเหมาะสมมากๆ ต้น เถา ส่วนที่ยังอ่อนและอวบนํ้า อาจถูกเชื้อเข้าทำลายเกิดเป็นแผลจุดขึ้นได้เช่นกัน

สาเหตุโรค : Cercospora citrullina

เป็นเชื้อราพวก imperfecti เช่นเดียวกับ Alternaria sp. มีการขยายพันธุ์แบบไม่ใช้เพศโดยการเกิดโคนีเดียที่มีลักษณะยาว (cylindrical) ท้ายป้านปลายเรียวไม่มีสี มีหลายเซลล์ เกิดบนก้านยาวสีน้ำตาลที่เกิดเป็นกระจุก โคนีเดียเหล่านี้สามารถปลิวไปตามลมได้เป็นระยะทางไกลๆ เมื่อตกลงบนใบแตง ได้รับความชื้นเพียงพอก็จะงอกก่อให้เกิดโรคขึ้นใหม่ได้อีกภายใน 7 – 10 วัน เชื้อ Cercospora อยู่ข้ามฤดูได้โดยการสร้าง stroma ซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันของเส้นใยที่มีผนังหนากลายเป็นแผ่นหรือก้อนแข็ง มักจะพบเกิดอยู่ตามฐานของกลุ่ม conidiophore stroma ดังกล่าว จะเกาะติดอยู่กับใบพืชที่เป็นโรคซึ่งร่วงหลุดจากต้นอยู่ตามพื้นดิน จนถึงฤดูปลูกใหม่ก็จะงอกออกมาเป็นเส้นใยสร้างสปอร์ ปลิวกระจายไปตกลงบนใบพืชก่อให้เกิดโรคต่อไปได้อีก

นอกจาก Cercospora citrullina ยังมีอีก species หนึ่งที่พบว่าก่อให้เกิดโรคใบจุดกับแตงบางชนิด เช่น สควอช และ ฟักทอง คือ Cercospona cucurbita ทั้งสองชนิดมีลักษณะ โคนีเดีย และการเป็นอยู่คล้ายๆ กัน ผิดกันตรงพืชที่ถูกเข้าทำลายเท่านั้น

ในการเข้าทำลายพืชและการขยายพันธุ์เชื้อทั้งสองชนิด ต้องการความชื้นสูงและอุณหภูมิระหว่าง 27 – 30 ∘ซ.

การป้องกันกำจัด

1. ปลูกพืชหมุนเวียนอย่างน้อย 3 ปี

2. ปลูกแตงในดินที่มีการเตรียม บำรุงรักษา และมีการถ่ายเทอากาศที่ดี

3. กำจัดทำลายวัชพืชพวกแตงในบริเวณแปลงปลูกให้หมด

อ้างอิง
thaikasetsart.com/ โรคใบจุดจากเชื้อcercospora/

สินค้าแนะนำ จากฟาร์มเกษตร

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งเชื้อรา ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน เพื่อเร่งให้มันสำปะหลังฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลงได้เร็วยิ่งขึ้น

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3638
มันสำปะหลังใบไหม้ โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มีอาการใบจุดเหลี่ยมฉ่ำน้ำ ใบไหม้ และใบเหี่ยว มียางไหล ยอดแห้ง ยอดเหี่ยว
มันสำปะหลังใบไหม้ โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มีอาการใบจุดเหลี่ยมฉ่ำน้ำ ใบไหม้ และใบเหี่ยว มียางไหล ยอดแห้ง ยอดเหี่ยว
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง (Cassava Bacterial Blight : CBB)

เกิดจากเชื้อ Xanthomonas campestris pv. manihotis มีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศบราซิลในปี 2455 หลังจากนั้นมีรายงานการแพร่ระบาดเกือบทุกประเทศที่มีการปลูกมันสำปะหลังทั้งทวีปเอเชียและลาตินอเมริกา ในประเทศไทยพบครั้งแรกที่จังหวัดระยอง เมื่อปี 2518 และต่อมาพบทั่วทุกภาค ระดับความเสียหายเนื่องจากโรคนี้มีตั้งแต่ 30 เปอร์เซ็นต์ เมื่อใช้ท่อนพันธุ์จากต้นที่เป็นโรคถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเกิดโรคและใช้ต้นพันธุ์ที่เป็นโรคติดต่อกัน 3 ถึง 4 ปี โดยไม่มีการป้องกันกำจัด อาจมีความเสียหายถึง 80 เปอร์เซ็นต์ ระดับความเสียหายจะขึ้นอยู่กับเปอร์เซ็นต์การใช้ท่อนพันธุ์ที่มีเชื้อปะปนมา (Contaminated cutting) ปลูกในแปลงและความเสียหายอาจรุนแรงถึง 90 เปอร์เซ็นต์ เมื่อมีเชื้อโรค เช่น เชื้อ Colletrotrichum spp. และ Choanephora cucurbitarum ร่วมเข้าทำลาย นอกจากจะทำความเสียหายกับผลผลิตโดยตรงแล้วยังทำให้ขาดแหล่งโปรตีนและไวตามินที่สำคัญสำหรับประชากรในบางประเทศ เนื่องจากคนเหล่านั้นรับประทานใบมันสำปะหลังแทนผัก ฉะนั้น โรคใบไหม้จึงมีความสำคัญเป็นอันดับ 1 ในแถบอัฟริกา และลาตินอเมริกา สำหรับประเทศทางแถบเอเชีย เช่น ประเทศจีน และประเทศไทย ความเสียหายจัดอยู่ในระดับปานกลาง

ลักษณะอาการเริ่มแรก

แสดงอาการใบจุดเหลี่ยมฉํ่านํ้า ใบไหม้ ใบเหี่ยว ยางไหลจนถึงอากยอดเหี่ยวและแห้งตายลงมา นอกจากนี้ยังทำให้ระบบท่อนํ้าอาหารของลำต้นและรากเน่า

ท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค

แสดงอาการ คือ ยอดที่ผลิตใหม่ เหี่ยว มียางไหล และมีอาการแห้งตายจากยอดอย่างรวดเร็ว และแพร่ระบาดไปยังต้นข้างเคียง ซึ่งมักจะแสดงอาการเป็นจุดชํ้าเล็กที่ต้นแล้วแผลขยายใหญ่เปลี่ยนเป็นสีนํ้าตาลเข้มลุกลามเป็นแผลใหญ่ บางครั้งจะพบวงสีเหลือง (yellow halo) ลามเป็นใบไหม้ และใบร่วง ลำต้นแห้งตาย เมื่อผ่าดูระบบท่อนํ้าและอาหารทั้งของลำต้น และรากจะมีสีคลํ้า เนื่องจากเนื้อเยื่อของส่วนนี้ถูกทำลาย ในบางครั้งจะพบอาการยางไหลบนส่วนลำต้นที่ยังอ่อนหรือก้านใบ และแผลจุดบนใบ พบระบาดมากได้ในช่วงฤดูฝน

การแพร่ระบาดของโรคที่สำคัญ

คือ ติดไปกับท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค แพร่กระจายไปโดยฝนหรือกับดิน หรือกับเครื่องมือที่ใช้ในการเกษตร เช่น มีดที่ใช้ในการตัดท่อนพันธุ์ ในบางประเทศมีรายงานว่า แมลงเป็นตัวการในการแพร่ระบาด เชื้อสาเหตุของโรคสามารถอยู่รอดในดินบนเศษซากพืชได้นานกว่า 2 ปี

การป้องกันกำจัด

1. ใช้พันธุ์ต้านทาน พันธุ์ที่แนะนำในปัจจุบัน มีความต้านทานต่อโรคปานกลาง

2. ใช้ท่อนพันธุ์ที่ปราศจากเชื้อ

3. ปลูกพืชอายุสั้นเป็นพืชหมุนเวียน หรือหลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในแปลงที่ระบาดรุนแรงนาน 6 เดือน

4. ใช้ชีววิธี (Biological control) การฉีดพ่นเชื้อบักเตรีเรืองแสง เช่น Pseudomonas fluorescens บนใบมันสำปะหลังพันธุ์ Mcol 22 ซึ่งอ่อนแอต่อโรคใบไหม้ ทำให้จำนวนจุดบนใบและจำนวนใบไหม้ต่อต้นลดลง และทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น 2.7 เท่า

อ้างอิง
กรมวิชาการเกษตร
kubotasolutions.com/ knowledge/cassava/detail/52

สินค้าแนะนำ จากฟาร์มเกษตร

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งเชื้อรา ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน เพื่อเร่งให้มันสำปะหลังฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลงได้เร็วยิ่งขึ้น

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3694
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มันสำปะหลังใบไหม้ ฉีดพ่นด้วยไอเอส และบำรุงให้ฟื้นตัวได้รวดเร็ว ด้วย FK-1
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มันสำปะหลังใบไหม้ ฉีดพ่นด้วยไอเอส และบำรุงให้ฟื้นตัวได้รวดเร็ว ด้วย FK-1
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มันสำปะหลังใบไหม้ ฉีดพ่นด้วยไอเอส และบำรุงให้ฟื้นตัวได้รวดเร็ว ด้วย FK-1
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง (Cassava Bacterial Blight : CBB)

เกิดจากเชื้อ Xanthomonas campestris pv. manihotis มีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศบราซิลในปี 2455 หลังจากนั้นมีรายงานการแพร่ระบาดเกือบทุกประเทศที่มีการปลูกมันสำปะหลังทั้งทวีปเอเชียและลาตินอเมริกา ในประเทศไทยพบครั้งแรกที่จังหวัดระยอง เมื่อปี 2518 และต่อมาพบทั่วทุกภาค ระดับความเสียหายเนื่องจากโรคนี้มีตั้งแต่ 30 เปอร์เซ็นต์ เมื่อใช้ท่อนพันธุ์จากต้นที่เป็นโรคถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเกิดโรคและใช้ต้นพันธุ์ที่เป็นโรคติดต่อกัน 3 ถึง 4 ปี โดยไม่มีการป้องกันกำจัด อาจมีความเสียหายถึง 80 เปอร์เซ็นต์ ระดับความเสียหายจะขึ้นอยู่กับเปอร์เซ็นต์การใช้ท่อนพันธุ์ที่มีเชื้อปะปนมา (Contaminated cutting) ปลูกในแปลงและความเสียหายอาจรุนแรงถึง 90 เปอร์เซ็นต์ เมื่อมีเชื้อโรค เช่น เชื้อ Colletrotrichum spp. และ Choanephora cucurbitarum ร่วมเข้าทำลาย นอกจากจะทำความเสียหายกับผลผลิตโดยตรงแล้วยังทำให้ขาดแหล่งโปรตีนและไวตามินที่สำคัญสำหรับประชากรในบางประเทศ เนื่องจากคนเหล่านั้นรับประทานใบมันสำปะหลังแทนผัก ฉะนั้น โรคใบไหม้จึงมีความสำคัญเป็นอันดับ 1 ในแถบอัฟริกา และลาตินอเมริกา สำหรับประเทศทางแถบเอเชีย เช่น ประเทศจีน และประเทศไทย ความเสียหายจัดอยู่ในระดับปานกลาง

ลักษณะอาการเริ่มแรกของ อาการมันสำปะหลังใบไหม้ ซึ่งมีสาเหตุจากเชื้อรา

แสดงอาการใบจุดเหลี่ยมฉํ่านํ้า ใบไหม้ ใบเหี่ยว ยางไหลจนถึงอากยอดเหี่ยวและแห้งตายลงมา นอกจากนี้ยังทำให้ระบบท่อนํ้าอาหารของลำต้นและรากมันสำปะหลังเน่า


ท่อนพันธุ์มันสำปะหลังที่เป็นโรค เป็นอีกสาเหตุ ที่ทำให้เกิดโรคใบไหม้ ควรคัดเลือกที่มาของท่อนพันธุ์ที่นำมาปลูก จากแปลงที่ไม่มีโรคระบาด

มันสำปะหลังจะแสดงอาการ คือ ยอดที่ผลิตใหม่ เหี่ยว มียางไหล และมีอาการแห้งตายจากยอดอย่างรวดเร็ว และแพร่ระบาดไปยังต้นข้างเคียง ซึ่งมักจะแสดงอาการเป็นจุดชํ้าเล็กที่ต้นแล้วแผลขยายใหญ่เปลี่ยนเป็นสีนํ้าตาลเข้มลุกลามเป็นแผลใหญ่ บางครั้งจะพบวงสีเหลือง (yellow halo) ลามเป็นใบไหม้ และใบร่วง ลำต้นแห้งตาย เมื่อผ่าดูระบบท่อนํ้าและอาหารทั้งของลำต้น และรากจะมีสีคลํ้า เนื่องจากเนื้อเยื่อของส่วนนี้ถูกทำลาย ในบางครั้งจะพบอาการยางไหลบนส่วนลำต้นที่ยังอ่อนหรือก้านใบ และแผลจุดบนใบ พบระบาดมากได้ในช่วงฤดูฝน

การแพร่ระบาดของโรคมันสำปะหลังใบไหม้ที่สำคัญ

คือ ติดไปกับท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค แพร่กระจายไปโดยฝนหรือกับดิน หรือกับเครื่องมือที่ใช้ในการเกษตร เช่น มีดที่ใช้ในการตัดท่อนพันธุ์ ในบางประเทศมีรายงานว่า แมลงเป็นตัวการในการแพร่ระบาด เชื้อสาเหตุของโรคสามารถอยู่รอดในดินบนเศษซากพืชได้นานกว่า 2 ปี

การป้องกันกำจัด โรคมันสำปะหลังใบไหม้

1. ใช้พันธุ์ต้านทาน พันธุ์ที่แนะนำในปัจจุบัน มีความต้านทานต่อโรคปานกลาง

2. ใช้ท่อนพันธุ์ที่ปราศจากเชื้อ

3. ปลูกพืชอายุสั้นเป็นพืชหมุนเวียน หรือหลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในแปลงที่ระบาดรุนแรงนาน 6 เดือน

4. ใช้ชีววิธี (Biological control) การฉีดพ่นเชื้อบักเตรีเรืองแสง เช่น Pseudomonas fluorescens บนใบมันสำปะหลังพันธุ์ Mcol 22 ซึ่งอ่อนแอต่อโรคใบไหม้ ทำให้จำนวนจุดบนใบและจำนวนใบไหม้ต่อต้นลดลง และทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น 2.7 เท่า

5. ฉีดพ่นด้วย ไอเอส เพื่อยังการเจริญเติบโตของเชื้อรา ไม่ให้ลุกลามแพร่ระบาด และหากให้พืชฟื้นตัวไว สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน

อ้างอิงข้อมูลจาก กรมวิชาการเกษตร
อ่าน:3526
ปุ๋ยสำหรับนาข้าว ช่วงนี้เข้าฤดูทำนาแล้ว ปุ๋ยและยาแก้โรคข้าว โรคเน่าคอรวง ยาแก้เพลี้ย ติดต่อเราได้เลยนะคะ
ผลิตภัณฑ์จากฟาร์มเกษตร ตามข้อมูลด้านล่างในหน้าเว็บไซต์นี้ ในครั้งนี้ เราจะมีแนะนำสินค้าที่ใช้ในการทำนาข้าวนะคะ

อ้างอิงจากรูปภาพสินค้าด้านล่างนะคะ

สินค้าหมวด ปุ๋ย

FK-1 เริ่มฉีดพ่นหลังหว่านข้าว หรือหลังดำนาได้ตั้งแต่มีอายุ 7 วันเป็นต้นไปเลยค่ะ จะช่วยเร่งโตแตกกอ ช่วยให้ข้าวโตเร็ว ใบแข็ง เขียว แข็งแรง

FK-3R ตัวนี้เน้นโพแตสเซียมสูง ใช้เร่งผลผลิตข้าว ทำให้ข้าวรวงยาว เมล็ดเต็ม น้ำหนักดี ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น

สินค้าหมวด ยารักษาโรคพืช และปราบศัตรูพืช

มาคา ป้องกันและกำจัดเพลี้ยต่างๆในนาข้าวค่ะ เพลี้ยกระโดดสีน้ำตา เพลี้ยจักจั่นปีกลาย เพลี้ยอ่อน เพลี้ยต่างๆ

ไอเอส ใช้ป้องกันรักษาโรคพืชที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคขาดคอรวง เน่าคอรวง ข้าวใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล

ไอกี้-บีที ใช้ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆในนาข้าวค่ะ หนอนกอ หนอนม้วนใบ หนอนอื่นๆ

สนใจสั่งซื้อ
ไลน์ไอดี FarmKaset
โทร 090-592-8614
เฟสบ๊คเพจ ค้น ฟาร์มเกษตร ทักแชทสั่งซื้อได้เช่นกันค่ะ
หรือซื้อผ่านระบบตระกร้าสินค้า www.FKX.asia เป็นเว็บไซต์ของเราเช่นกันค่ะ
อ่าน:3494
ตั๊กแตนตำข้าว พลางตัวด้วยสีเหมือนกิ้งไม้ ใบหญ้าแห้ง ป้องกันตนจากภัยอันตราย
ตั๊กแตนตำข้าว พลางตัวด้วยสีเหมือนกิ้งไม้ ใบหญ้าแห้ง ป้องกันตนจากภัยอันตราย
ตั๊กแตนตำข้าว พลางตัวด้วยสีเหมือนกิ้งไม้ ใบหญ้าแห้ง ป้องกันตนจากภัยอันตราย
เมื่อถึงเวลาใกล้จะหว่านข้าว ดำนา เริ่มมีตั๊กแตนแบบนี้มาให้เห็น ตั๊กแตนตำข้าว ตัวยาวหน้าตาแปลก ดูสวยดี

สำหรับผู้ปลูกข้าว
เจอปัญหาเพลี้ยกวนใจ ใช้มาคา
เจอโรครา ใบไหม้ ราสนิม ใบจุดสีน้ำตาล เน่าคอรวง ใช้ ไอเอส
เจอหนอนกอ หนอนม้วนใบ หนอนกวนใจ ใช้ ไอกี้
บำรุงข้าวให้เติบโตดี เขียวไว ใบแข็งตั้งตรง ผลผลิตดี ด้วย FK-1
ราคาและการสั่งซื้อ ตามภาพด้านล่างนี้นะครับ
อ่าน:4072
แก้ปัญหาเพลี้ย กำจัดเพลี้ยด้วย มาคา แก้ใบไหม้ แก้โรคจาเชื้อรา ด้วย ไอเอส
แก้ปัญหาเพลี้ย กำจัดเพลี้ยด้วย มาคา แก้ใบไหม้ แก้โรคจาเชื้อรา ด้วย ไอเอส
มันสำปะหลัง โดน เพลี้ยไฟ ไรแดง เข้าทำลาย และลามไปเป็นโรค โรคใบไหม้ กิ่งเน่า รากเน่า ใช้ มาคา และไอเอส นะคะ
มาคา ราคา 470 บาท
ไอเอส ขนาด 3 ลิตร ราคา 900 บาท
ส่งฟรีกับเคอรี่ เก็บเงินปลายทาง
สั่งซื้อทักแชต หรือโทร 090-592-8614
LineID : Farmkaset

https://www.youtube.com/watch?v=_i4SkKzugW8
อ่าน:3533
1049 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 104 หน้า, หน้าที่ 105 มี 9 รายการ
|-Page 100 of 105-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ทำไมขนมเบื้อง ถึงมีไส้แค่สองแบบตามรูป ขาดวิวัฒนาการ หรือ ใส่ไส้แบบอื่นไม่ได้เอ่ย?
Update: 2562/08/25 14:37:20 - Views: 3669
โรคราสนิมกาแฟ โรครากาแฟ (Coffee Leaf Rust) ใช้ ไอเอส + FK-1
Update: 2564/08/09 04:39:18 - Views: 3479
การป้องกันและการจัดการโรคเชื้อราในดอกทานตะวัน: วิธีการแก้ไขปัญหาเพื่อสวนทานตะวันที่แข็งแรงและผลิตผลสูง
Update: 2566/11/18 10:28:27 - Views: 3567
ยากำจัดโรคใบไหม้ ใบจุด ใบเหลือง ใน ดอกมะลิ โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด(ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/12 15:58:43 - Views: 3494
ยาแก้ โรคมันสำปะหลังใบไหม้
Update: 2563/07/03 22:10:32 - Views: 3720
รับซื้อตรง ผลผลิตเกษตรกร ทั่วประเทศ หอการค้าไทย จับมือ กลุ่มเซนทรัล รับซื้อ พืช ผัก ผลไม้
Update: 2564/03/25 00:51:56 - Views: 3529
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราน้ำค้าง ในแตงโม ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/20 14:15:02 - Views: 3585
กำจัดหนอน ใน ต้นข้าว เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/18 14:36:42 - Views: 3578
ยาแก้ โรคแตงโมเถาเหี่ยว ยารักษา โรคราน้ำค้างแตงโม โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/09/24 11:21:59 - Views: 3551
โรคพริก โรคกุ้งแห้ง โรคแอนแทรคโนสพริก โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/10 02:47:45 - Views: 3637
ยากำจัด เพลี้ย สำหรับ มะเขือเทศ เพลี้ยแป้ง เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ แมลงหวี่ขาว ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/09/19 23:12:20 - Views: 3605
หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด (Fall Armyworm)
Update: 2564/08/17 00:14:18 - Views: 3618
กรมการข้าวเตือน ระวังโรคไหม้ระบาด
Update: 2564/08/09 10:23:01 - Views: 3496
ปุ๋ยสำหรับพริก ปุ๋ยน้ำสำหรับพริก ปุ๋ยบำรุงพริก ส่งเสริมการเจริญเติบโต ฉีดพ่น FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/14 05:03:51 - Views: 3527
ส้ม โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ขยายขนาด ผลใหญ่ ผลดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/03/27 15:44:21 - Views: 3647
กะเพราใบหงิก ที่มีสาเหตุจาก เพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน เพลี้ยแป้ง ดูดกินน้ำเลี้ยงที่ใบ ป้องกัน กำจัด เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/10/10 03:29:31 - Views: 3640
อุตสาหกรรมมันเส้น และการผลิตมันเส้น
Update: 2555/04/11 14:56:21 - Views: 3802
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบไหม้ ในมะเขือ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/04 14:09:48 - Views: 3593
การจัดการและควบคุมเพลี้ยศัตรูพืชในการปลูกถั่วเหลือง
Update: 2566/11/11 10:51:16 - Views: 3531
มังคุด โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ขยายขนาด ผลใหญ่ ดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/04/08 15:14:42 - Views: 3666
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022