[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - ปุ๋ย
2124 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 212 หน้า, หน้าที่ 213 มี 4 รายการ

การทำไร่อ้อย ใน 4 ขั้นตอนหลักๆ
การทำไร่อ้อย ใน 4 ขั้นตอนหลักๆ
การทำไร่อ้อย ใน 4 ขั้นตอนหลักๆ
การทำไร่อ้อย มีหลักใหญ่ ๆ อยู่ประมาณ 4 ขั้นตอนด้วยกัน คือ
ขั้นตอนที่ 1. การเตรียมดิน
ขั้นตอนที่ 2. การปลูกอ้อย
ขั้นตอนที่ 3. การดูแล – รักษา
ขั้นตอนที่ 4. การเก็บเกี่ยว


ขั้นตอนที่ 1. การเตรียมดิน
ชาวไร่ที่จะเริ่มปลูกอ้อยใหม่ไม่ว่าจะปลูกในที่แปลงใหม่ที่ที่ยังไม่เคยปลูกอ้อยมาก่อนเลย หรือแปลงอ้อยเก่าล้างทิ้งเพื่อปลูกใหม่ ก็ต้องมีการเตรียมการเกี่ยวกับดินในแปลงที่จะปลูก การเตรียมอ้อยของชาวไร่ปลูกอ้อยกัน ตั้งแต่หลังฤดูตัดอ้อยเข้าโรงงานแล้ว อยู่ประมาณเดือนมีนาคม – มิถุนายน เพราะเป็นช่วงหน้าแล้งต่อฤดูฝน จะได้มีเวลาเตรียมดินและเตรียมปลูกอ้อยก่อนฤดูฝนมีฝนตกมาก ๆจะมาถึง

วิธีการเตรียมดินในแปลงที่จะปลูกอ้อย ควรจะกำจัดใบอ้อยหรือวัชพืชต่าง ๆ ที่ตกค้างอยู่ในแปลง
โดยการเผาทำลายหรือขนทิ้งเสีย หลังจากนั้นใช้รถไถดินเข้าไปไถในแปลงครั้งแรกนี้ เรียกว่า “ไถดะ” เสร็จแล้วทิ้งดินตากแดดไว้อย่างน้อย 15 วันเพื่อให้วัชพืชพร้อมทั้ง แมลงศัตรูอ้อยที่ฝังตัวอยู่ในดินพลิกขึ้นมาถูกแดดเผาทำลายเสีย หากเป็นไปได้รอให้ฝนตกลงมาจะทำให้ดินในแปลงที่ไถดะเอาไว้ถูกน้ำฝน ดินจะแตกออกและชื้นนุ่มหลังจากนั้นใช้รถไถดินกลับเข้าไปไถอีกครั้งเรียกว่า “ไถแปร” การไถแปรนี้หากไถไปแล้วหนึ่งครั้ง สังเกตเห็นว่าดินในแปลงยังก้อนใหญ่อยู่ ยังไม่ร่วนซุยพอ ก็สมควรที่จะต้องแปรเพิ่มอีกหนึ่งครั้งเพราะถ้าหากทำดินไม่ดี จะมีผลต่อการงอกและเจริญเติบโตของอ้อยคือ ถ้าดินก้อนใหญ่เกินไป ดินจะไม่กระชับท่อนพันธุ์อ้อยทำให้อ้อยไม่แตกราก ไม่งอกในเวลาอันสมควร แต่ถ้าดินร่วนซุยดี ดินจะเข้าไปกระชับติดกับลำอ้อยท่อนพันธุ์ ความชื้นมากทำให้อ้อยแตกรากเร็ว งอกเร็ว เติบโต ได้ดี ซึ่งจะมีผลต่อการดูแล – รักษา และบำรุงเพิ่มผลผลิตต่อไป

ขั้นตอนที่ 2 การปลูกอ้อย
อ้อยที่ปลูกกันอยู่ในประเทศไทย เพื่อผลิตน้ำตาลในขณะนี้มีอยู่หลายสายพันธุ์ แต่ละพันธุ์ก็เหมาะกับพื้นดินแต่ละพื้นที่ โดยส่วนมากชาวไร่จะ นิยมปลูกอ้อยที่เห็นว่าเหมาะสมกับพื้นที่มีอยู่ประมาณ 4 – 5 พันธุ์ เช่น เค 84 – 200 เค 88 – 92 เค 90 – 77 พันธุ์อู่ทอง 1 และอื่นๆ พันธุ์อ้อยเหล่านี้ ชาวไร่ปลูกแล้วได้ผลผลิตต่อไร่สูง ให้ความหวานสูง ดูแลรักษาและเก็บเกี่ยวง่าย จึงนิยมปลูกกันมาก

เมื่อชาวไร่พันธุ์อ้อยแล้ว ฝนตกมีความชื้นดีแล้วสมควรปลูก การปลูกอ้อยของกลุ่มชาวไร่อ้อยมีปลูกกันอยู่ 2 วิธีด้วยกันคือ 1. ใช้แรงงานคนปลูกโดยตรง 2. ใช้รถไถมีเครื่องปลูก

วิธีที่ 1 การใช้แรงงานคนปลูก ชาวไร่จะต้องใช้รถไถเข้าไปยกร่องในแปลงปลูกให้เป็นร่อง ๆ แต่ละร่องห่างกันประมาณ 1.00 เมตร ถึง 1.50 เมตร แล้วแต่ความชอบของชาวไร่แต่ ละคน เรียบร้อยแล้วใช้คนงานนำพันธุ์อ้อยใส่ลงในร่องทั้งลำ หรือตัดเป็นท่อน ๆ แล้วแต่ความเหมาะสม ในกรณีปลูกโดยอาศัยน้ำฝนควรจะรอให้ฝนตกลงมา มีความชื้นในร่องอ้อยมากพอก่อนจึงปลูก แต่ถ้ามีน้ำสูบเองก็ปลูกได้เลย

วีธีที่ 2 ใช้รถไถมีเครื่องปลูก วิธีนี้กลุ่มชาวไร่นิยมปลูกกันมาก เพราะประหยัดแรงงาน ประหยัดเวลา และเครื่องปลูกยังสามารถใส่ปุ๋ยในดินไปพร้อมกับปลูกอ้อยไปด้วยเลย การปลูกโดยวิธีที่ 2 นี้ ควรปลูกหลังจากฝนตกลงมาความชื้นในดินมีมากพอ

ขั้นตอนที่ 3 การดูแล – รักษา
การดูแลรักษาอ้อยให้เจริญงอกงามนั้น เป็นภาระอันสำคัญของชาวไร่อ้อยเป็นอย่างมาก สาเหตุหลักหลักก็คือ เรื่องวัชพืชที่ขึ้นมาแย่งอาหารของอ้อย แมลงศัตรูกัดทำลายต้นอ้อย และโรคระบาดของอ้อย

อ้อยปลูกใหม่ไม่ว่าจะปลูกโดยแรงงานคน หรือ ใช้รถปลูก ควรจะใช้สารคุมวัชพืชไว้ก่อน หากไม่ทำไว้เสียฝนตกลงมา วัชพืชจะโตเร็วกว่าอ้อย จะคลุมหน่ออ้อยแย่งอาหาร ทำให้อ้อยหยุดเจริญเติบโต ต้องเสียทั้งค่ากำจัดวัชพืชเพิ่ม ค่าปุ๋ยเพิ่มอีก โดยเฉพาะผลผลิตจะต่ำ ฉะนั้นการดูแลรักษาจะต้องกระทำไปตลอด จนกว่าจะตัดอ้อยเข้าโรงงาน ส่วนเรื่องแมลงทำลายอ้อยและโรคระบาดอ้อย

ส่วนของอ้อยตอ การดูแล รักษาก็คงเหมือนกันกับอ้อยใหม่ โดยเฉพาะอ้อยตอ หลังจากตัดอ้อยแล้ว ใบอ้อยที่ตกค้างอยู่ในไร่จะเป็นตัวช่วยป้องกันความชื้นในดินไม่ให้ระเหยไปเร็ว พร้อมเป็นตัวปิดบังคับความเจริญของวัชพืชอีกด้วย แต่ในกรณีที่อ้อยตอไฟไหม้ในแปลง ทำให้พื้นดินไม่มีใบอ้อยปิดบัง ควรจะต้องดูแลแบบอ้อยปลูกใหม่ ที่สำคัญที่สุดไม่ว่าจะเป็นอ้อยปลูกใหม่หรืออ้อยตอก็ดี ชาวไร่จะต้องดูแลบำรุง รักษา เรื่องน้ำ วัชพืช ตลอดไปจนถึงแมลงและโรคระบาด โดยเฉพาะไฟไหม้อ้อยอันเกิดจากความประมาทหรือบังเอิญก็แล้วแต่ จนกว่าจะถึงวันตัดอ้อยได้ หากไม่เช่นนั้นผลผลิตและผลลัพธ์จะไม่เป็นดังที่ท่านตั้งความหวังไว้

การเพิ่มผลผลิตอ้อย ไม่ว่าจะพยายามลดต้นทุนหรือลดการใช้สารเคมี แต่การใส่ปุ๋ยอ้อยในขณะนี้ก็ยังมีความจำเป็นอยู่ เหตุเพราะว่า ปลูกอ้อยกันมานาน บางแปลงปลูกมานาน 10 ปีกว่าแล้ว ธาตุอาหารในดินสำหรับอ้อยย่อมหมดไป จึงจำเป็นต้องใส่ปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิตปุ๋ยที่ชาวไร่ ใช้กันอยู่มีทั้งปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมี ปุ๋ยทั้ง 2 ชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ใส่แล้วให้ผลช้าแต่ไม่ทำลายดิน ปุ๋ยเคมีให้ผลเร็วทันใจแต่มักเป็นผลเสียต่อดิน มีสารตกค้างสิ่งแวดล้อมเสีย สิ่งนี้ชาวไร่เราทราบดี แต่จำเป็นต้องใส่ ซึ่งก็พยายามใส่ปุ๋ยอินทรีย์กันมากขึ้น

ขั้นตอนที่ 4 การเก็บเกี่ยวหรือตัดอ้อย
1. ใช้แรงงานคน
2. ใช้รถตัดอ้อย
การตัดอ้อยทำน้ำตาล จะเริ่มเปิดหีบตั้งแต่ประมาณ เดือนธันวาคม - เดือนเมษายน ฉะนั้นชาวไร่จะต้องเริ่มตัดอ้อยกัน

http://www.farmkaset..link..
อ่าน:5573
แก้โรคใบไหม้ รักษาโรคใบไหม้ด้วยยาอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีทางใบ (ปุ๋ยเคมี ไม่ได้อันตรายเหมือนยาเคมี)
แก้โรคใบไหม้ รักษาโรคใบไหม้ด้วยยาอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีทางใบ (ปุ๋ยเคมี ไม่ได้อันตรายเหมือนยาเคมี)
แก้โรคใบไหม้ รักษาโรคใบไหม้ด้วยยาอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีทางใบ (ปุ๋ยเคมี ไม่ได้อันตรายเหมือนยาเคมี)
ในปัจจุบัน การรักษาอาหารโรคใบไหม้ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ในพืชใบเขียวต่างๆทุกชนิด ประสิทธิภาพของยาอินทรีย์ในปัจจุบันนั้น ไม่ได้ด้อยกว่ายาเคมีเลย และที่สำคัญ ยาอินทรีนั้นปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ไม่มีสารตกค้างที่เป็นอันตราย

โรคใบไหม้ เกิดได้กับพืชทั่วไป พืชใบเขียวทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็น ไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชสวน พืชไร่ ก็เกิดอาการโรคใบไหม้ ที่มีสาเหตุจากเชื้อราได้ในทุกๆพืช ไม่ว่าจะเป็นไม้ผลอย่าง ทุเรียน เงาะ ลำไย มังคุด พืชเศรษฐกิจอย่างเช่น ยางพารา ปาล์มน้ำมัน พืชไร่อย่างเช่น นาข้าว กาแฟ มันสำปะหลัง ข้าวโพด ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พืชผักสวนครัวต่างๆ เช่น พริก ก็เป็นได้ทั้งโรคกุ้งแห้ง แคงเกอร์ ใบไหม้ ใบเหี่ยว กะหล่ำ กวางตุ้ง พืชตระกูลแตงต่างๆ แตงกวา แตงโม แตงร้าน แตงไทย แคลตาลูป ฯลฯ อีกมากมายเลย ล้วนแล้วแต่มีปัญหาโรคใบไหม้ ได้ทั้งนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงอาการร้อน ชื้น อบอ้าว โรคใบไหม้ มีสาเหตุจากเชื้อรา ซึ่งเชื้อรานี้ สามารถแพร่กระจายไปตามลมที่พัดพา ไปติดในพื้นที่ต่างๆ จึงลุกลามได้อย่างรวดเร็ว

การป้องกัน รักษาโรคใบไหม้ ในพืชที่ปลูก
- หากเป็นการเริ่มปลูกรอบใหม่ การไถพลิกดินตากแดดสองสัปดาห์ ช่วยฆ่าเชื้อราในดินได้เป็นอย่างดี

- หากเป็นพืชที่มีสายพันธุ์หลากหลาย เช่น มันสำปะหลัง หรือยางพารา สามารถศึกษา เลือกใช้พันธุ์ที่ต้านทานต่อโรคได้สูง

- การเว้นระยะห่างของการปลูกพืชอย่างเพียงพอ ให้แดดส่องถึง อาการถ่ายเทได้ดี เป็นการทำให้สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม ต่อการเจริญเติบโตของเชื้อรา

- การให้น้ำในเวลาเช้าตรู่ เพื่อให้พืชมีเวลาแห้งระหว่างวัน

- เมื่อพบ โรคใบไหม้ ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อ ผสมกับ FK-1 ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด ทุก 3-5 วัน ในช่วงของการรักษา ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง และหากพื้นที่รอบข้าง หรือแปลงข้างเคียงยังมีการระบาด ควรฉีดพ่นป้องกันอย่างต่อเนื้อง ทุกๆ 7 หรือ 15 หรือ 30 วัน ตามความรุนแรงของการระบาด

สั่งซื้อสินค้าได้ที่ http://www.farmkaset..link..
ดูโบรชัวร์ ข้อมูลรายะเอียดสินค้า คลิกที่นี่
หรือโทรสั่งซื้อได้ที่ 090-592-8614
หรือไลน์ไอดี FarmKaset
หรือสั่งซื้อที่เพจ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..
หรือที่ ช็อปปี้ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:4606
ธาตุอาหารพืช โบรอน ซิลิคอน แคลเซียม ไนโตรเจน แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส คาร์บอน โพแทสเซียม สำคัญกับพืชอย่างไร - FK iLab ตรวจวิเคราะห์ดิน ตรวจวิเคราะห์ปุ๋ย รายงานผลออนไลน์
ธาตุอาหารพืช โบรอน ซิลิคอน แคลเซียม ไนโตรเจน แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส คาร์บอน โพแทสเซียม สำคัญกับพืชอย่างไร - FK iLab ตรวจวิเคราะห์ดิน ตรวจวิเคราะห์ปุ๋ย รายงานผลออนไลน์
ธาตุอาหารพืช โบรอน ซิลิคอน แคลเซียม ไนโตรเจน แมกนีเซียม ฟอสฟอรัส คาร์บอน โพแทสเซียม สำคัญกับพืชอย่างไร - FK iLab ตรวจวิเคราะห์ดิน ตรวจวิเคราะห์ปุ๋ย รายงานผลออนไลน์
ลำดับการทำงานของธาตุอาหารพืช (BIOCHEMICAL SEQUENCE)

ในระบบเกษตรกรรม การให้ปุ๋ยเป็นการเพิ่มปริมาณ ธาตุอาหารให้แก่พืช ในเกษตรแผนใหม่จะให้ปุ๋ยเคมีตามธาตุอาหารหลัก ได้แก่ NPK หรือ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K) เพื่อให้พืชนำไปใช้ในการเจริญเติบโตได้โดยตรง ซึ่งเป็นแนวคิด ที่ต่างจากเกษตรธรรมชาติ หรือเกษตรเชิงนิเวศซึ่งเน้นที่ปฏิสัมพันธ์ในระบบนิเวศ ซึ่งธาตุต่างๆ ก็มีทำงานกันเป็นลำดับขั้น โดยเริ่มจาก

โบรอน > ซิลิคอน > แคลเซียม > ไนโตรเจน > แมกนีเซียม > ฟอสฟอรัส > คาร์บอน > โพแทสเซียม

ในระบบนิเวศเกษตร ปฏิสัมพันธ์ระหว่างธาตุจะเริ่มที่โบรอน ซึ่งธาตุโบรอน (Boron) จะกระตุ้นการทำงานของ ธาตุซิลิคอน (Silicon) ซึ่งเป็นธาตุที่สำคัญต่อการจับตัวกับสารอาหารอื่นๆ และจับกับ ธาตุแคลเซียม (Calcium) ซึ่งต่อมาจะจับกับ ธาตุไนโจรเจน (Nitrogen) โดยไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบหลักของ กรดอะมิโน รหัสทางพันธุกรรม และมีส่วนสำคัญต่อการแบ่งตัวของเซลล์ กรดอะมิโน เป็นองค์ประกอบหลักของโปรตีน และสารตั้งตนในการสร้าง คลอโรฟิลล์ ซึ่งพืชใช้ใน การสังเคราะห์แสง การสร้างคลอโรฟิลล์เองก็ต้องใช้ ธาตุแมกนีเซียม (Magnesium) ในการรับพลังงานของแสงและสะสมพลังงานจากแสงในอาหาร ไนโตรเจน ที่อยู่ใน กรดอะมิโน จึงเป็นธาตุที่จับกับ แมกนีเซียม ในการสร้าง คลอโรฟิลล์ ในพืช พลังงานที่ได้จากการสังเคราะห์แสงจะถูกนำไปใช้ในการสร้างแป้งและอาหารในพืช ซึ่งพลังงานจะอาศัยธาตุ ฟอสฟอรัส (Phosphorus) ในการถ่ายทอดพลังงานไปยังส่วนต่างๆ ของเนื้อเยื้อพืชและ ปฏิกิริยาเคมี ที่ข้องเกี่ยวกับการสร้างอาหารและ สารชีวเคมี ในเซลล์ อาหารและ สารชีวเคมี เหล่านี้ต้องอาศัย ธาตุคาร์บอน (Carbon) เป็นองค์ประกอบหลัก หลังจากอาหารและ สารชีวเคมี ถูกสร้างขึ้นแล้ว ก็จะอาศัยธาตุ โพแทสเซียม (Potassium) ที่มีอยู่มากในน้ำยางหรือท่อลำเลียงอาหารในเนื้อเยื้อพืชช่วยในการขนส่งอาหารและสารชีวเคมีไปตามอวัยวะต่างๆ ในลำต้นพืช

ธาตุโบรอน (Boron – B)

มีอยู่มากในมูลสัตว์ มีบทบาทเกี่ยวที่ช่วยให้รากพืชดูดเอา ธาตุแคลเซียม และ ไนโตรเจน ไปใช้ร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นนอกจากนี้ยังช่วยให้พืชใช้ธาตุโพแทสเซียมได้มากขึ้น มีบทบาทในการสังเคราะห์แสง การย่อย โปรตีน และ คาร์โบไฮเดรต และเพิ่มคุณภาพทั้งรสชาติ ขนาด และน้ำหนักของผลเพิ่มความสามารถในการเจริญเติบโตเพราะโบรอนจะควบคุมการดูดและคายน้ำของพืชในขบวนการปรุงอาหารอีกทางหนึ่ง

ธาตุซิลิคอน (Silicon – Si)

พบได้ทั่วไปในทราย หรือ ดินปนทราย ซิลิคอน ทำหน้าที่ช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดีขึ้น โดยทำให้ลำต้นแข็งแรงและอ้วนขึ้น ช่วยให้ใบพืชหันเข้าหาแสงมากขึ้น และทำให้พืชทนทางต่อโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียและรา เช่น โรคราแป้ง รวมถึงสร้างความทนทานต่อความร้อน หรือความเค็มจัดไปจนถึงความเป็นพิษของโลหะหนักและอลูมิเนียม

ธาตุแคลเซียม (Calcium – Ca)

พบมากในกระดูก เปลือกไข่ ปูนขาว หรือ ยิปซัม แคลเซียมมีส่วนช่วยให้เนื้อเยื้อพืชแข็งแรงขึ้นได้เช่นเดียวกับการสร้างความแข็งแรงของกระดูก และเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ที่ช่วยในการทำงานเนื้อเยื้อพืช แม้ว่าพืชจะใช้แคลเซียมในปริมาณที่น้อยเมื่อเทียบกับธาตุอื่นๆ แต่หากพืชได้รับแคลเซียมไม่เพียงพอจะส่งผลให้พืชเจริญเติบโตผิดปกติ เช่น ผิวของมะเขือเทศเกิดอาการแห้งกรอบ ยอดใบอ่อนไหม้ หรือเกิดจุดด่างในใบผัก เป็นต้น

ธาตุไนโตรเจน (Nitrogen – N)

จะสะสมอยู่มากในพืชตระกูลถั่ว ซึ่งปมราก พืชตระกูลถั่ว จะมีแบคทีเรียที่ช่วยดึง ไนโตรเจน ที่สะสมในดินมาใช้ในการเจริญเติบโต ดังนั้น เราจึงนิยมปลูกปอเทืองเพื่อช่วยปรับปรุงดินและช่วยไ นโตรเจน สะสมในดินมากขึ้น ไนโตรเจน เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของ โปรตีน และสารพันธุกรรมทั้งในพืชและสัตว์ และเป็นองค์ประกอบของ คลอโรฟิลล์ ซึ่งทำหน้าที่ในการสังเคราะห์แสงในพืช ดังนั้น ดินจึงเป็นหัวใจสำคัญต่อการปลูกพืช โดยแบคทีเรียในปมรากถั่วหรือในดินจะช่วยตรึงก๊าซ ไนโตรเจน ในอากาศและเปลี่ยนรูป ไนโตรเจน ให้อยู่ในรูปของ ไนเตรท ซึ่งพืชสามารถดูดมาใช้ได้ดังภาพด้านล่าง ดินที่มีปริมาณ อินทรีย์วัตถุมากจึงถือเป็นดินที่มีชีวิต

ธาตุแมกนีเซียม (Magnesium – Mg)

เป็นองค์ประกอบที่สำคัญของ คลอโรฟิลล์ เพราะ แมกนีเซียม จะรับพลังงานแสงและช่วยเปลี่ยนรูปให้เป็นพลังงานให้รูปของอาหารจากกระบวนการ สังเคราะห์แสง และช่วยให้ใบพืชมีสีเขียว พืชที่ขาด แมกนีเซียม จึงเกิดอาการใบสีซีด ดินที่ขาดธาตุ แมกนีเซียม มักเป็นดินที่มี อินทรีย์วัตถุ น้อย ดินที่มีทรายมากหรือเป็นกรด ในกรณีที่ใส่ปุ๋ยที่มี โพแทสเซียม มากเกินไปก็ทำเกิดอาการขาด แมกนีเซียม ในพืชเช่นกัน เนื่องจากพืชจะดูดซับ โพแทสเซียม แทนการดูดซับ แมกนีเซียม

ธาตุฟอสฟอรัส (Phosphorus – P)

เป็นธาตุที่เป็นองค์ประกอบหลักของ สารพันธุกรรม และ สารชีวเคมี ที่ช่วยเก็บพลังงานในสิ่งมีชีวิตซึ่งถูกสร้างจากกระบวนการ สังเคราะห์แสง มีส่วนสำคัญต่อพัฒนาการของราก และช่วยรากพืชดูดซับสารอาหารในดินได้หลายชนิด การขาด ฟอสฟอรัส จะทำให้พืชหยุดชะงักการเติบโตได้ เนื่องจาก ฟอสฟอรัส เป็นธาตุที่จับเม็ดดินได้แข็งแรง จึงแนะนำให้ขุดหน้าดินขึ้นมาเพราะจะทำให้ดินถูกน้ำกัดเซาะได้ง่าย จึงแนะนำให้ปลูกหญ้าหรือพืชคลุมดินเพื่อรักษาหน้าดินและ ฟอสฟอรัส ให้สะสมอยู่ในดินมากขึ้น

ธาตุคาร์บอน (Carbon – C)

สารอินทรีย์ทุกชนิดล้วนมี ธาตุคาร์บอน ในปริมาณที่สูง รวมถึงดิน ซากพืชซากสัตว์ หรือปุ๋ยหมักต่างๆ ล้วนมีคาร์บอนในปริมาณสูง อีกทั้งในบรรยากาศเองก็มี คาร์บอน ในรูป ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในปริมาณที่มากอยู่แล้ว จึงมักไม่มีปัญหา ธาตุคาร์บอน ขาดแคลนในการเพาะปลูก

ธาตุโพแทสเซียม ( Potassium – K)

เป็นธาตุที่สะสมอยู่ทั่วไปในดินและมักละลายในน้ำหรือของเหลว ในเนื้อเยื้อได้ดี หน้าที่ของ โพแทสเซียม จะต่างจาก ไนโตรเจน และ ฟอสฟอรัส ตรงที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตโดยตรง แต่ทำหน้าที่ในการรักษาสมดุลน้ำในเนื้อเยื้อพืช ซึ่งป้องกันไม่ให้เกิด ใบเหี่ยว และช่วยให้การคายน้ำของใบพืชเป็นไปอย่างปกติ

จากหลักการของเกษตรธรรมชาติ ธาตุที่อยู่ในธรรมชาติก็มีการทำงานเป็นลำดับขั้นร่วมกับสิ่งมีชีวิตไม่ว่าจะเป็นพืช แบคทีเรียหรือเชื้อรา จนเกิดการหมุนเวียนสารอาหารภายในระบบนิเวศ การใส่ปุ๋ย NPK เพียงอย่างเดียวเพื่อเร่งให้พืชเจริญเติบโตนั้นเป็นการตัดวงจรการไหลเวียนสารอาหารในธรรมชาติและทำลายความหลากหลายทางชีวภาพในดิน ดังนั้น การทำให้ดินมีชีวิตจึงเป็นหัวใจหลักของการทำเกษตรเชิงนิเวศ

FK iLab ตรวจวิเคราะห์ค่าดิน และปุ๋ย

FK iLab เป็นเว็บไซต์ให้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารในดิน และค่าธาตุอาหารในปุ๋ย ด้วย LAB มาตรฐาน ตรวจวิเคราะห์โดยนักวิชาการเฉพาะด้าน ที่มีความชำนาญ โดยผู้ใช้บริการสามารถ เลือกค่า ธาตุอาหารต่างๆที่ต้องการตรวจได้ บนเว็บไซต์ และส่งตัวอย่างดิน หรือปุ๋ยที่ต้องการตรวจไปยัง ห้องปฏิบัติการ ผ่านทางไปรษณีย์ และรออ่านผลตรวจได้ทางหน้าเว็บไซต์

สามารถใช้บริการได้ที่ http://www.farmkaset..link..
หรือเข้าเว็บไซต์ FarmKaset.ORG และคลิกที่เมนู iLab



References

http://www.farmkaset..link..ำดับการทำงานของธาตุอา/

blog.agrivi.com/post/benefits-of-silicon-on-plant-growth

http://www.farmkaset..link..
http://www.farmkaset..link..
http://www.farmkaset..link..
http://www.farmkaset..link..
il.mahidol.ac.th/e-media/ecology/chapter1/chapter1_nitrogenhtm

http://www.farmkaset..link..
journals.plos.org/plosone/article?id=1371/journal.pone.0171321

horttech.ashspublications.org/content/17/4/442.full

http://www.farmkaset..link..
5k.web.tr/basinda/June09_Lovel.pdf

bioferti.com/microbe-granular-formula
อ่าน:3321
พืชขาดธาตุแคลเซียม จะเกิด ใบจุดสีน้ำตาล ใบจุดสีเหลือง ที่ใบใหม่ พืชที่ขาดธาตุแมกนีเซียม จะเกิดใบจุดน้ำตาล ใบจุดเหลือง ที่ใบแก่ : ตรวจดิน ตรวจธาตุแคลเซียม ตรวจค่าแมกนีเซียม
พืชขาดธาตุแคลเซียม จะเกิด ใบจุดสีน้ำตาล ใบจุดสีเหลือง ที่ใบใหม่ พืชที่ขาดธาตุแมกนีเซียม จะเกิดใบจุดน้ำตาล ใบจุดเหลือง ที่ใบแก่ : ตรวจดิน ตรวจธาตุแคลเซียม ตรวจค่าแมกนีเซียม
พืชขาดธาตุแคลเซียม จะเกิด ใบจุดสีน้ำตาล ใบจุดสีเหลือง ที่ใบใหม่ พืชที่ขาดธาตุแมกนีเซียม จะเกิดใบจุดน้ำตาล ใบจุดเหลือง ที่ใบแก่ : ตรวจดิน ตรวจธาตุแคลเซียม ตรวจค่าแมกนีเซียม
การวินิจฉัย อาการขาดธาตุรองของพืช พืชขาด ธาตุแคลเซียม หรือขาด ธาตุแมกนีเซียม เราสามารถสังเกตุได้จากอาการของพืช การวินิจฉัยนี้ เป็นการสังเกตุอาการเบื้องต้อง ให้ผู้อ่านทำความเข้าใจว่า อย่างใจก็แล้วแต่ อาการที่พืชแสดงให้เราสังเกตุได้นั้น ยังประกอบด้วยปัจจัยพื้นฐานอีกหลายองค์ประกอบ ในบทความนี้ เป็นการสังเกตุอาการเบื้องต้น เป็นแนวทางให้เราพอจะสันนิษฐาน เพื่อแก้ปัญหาให้กับพืชที่เราปลูกได้

ผู้อ่านเคยสังเกตุไหมว่า ทำไมผู้ผลิตปุ๋ย จึงเลือกให้ธาตุอาหารรองกับพืช โดยการผสมในปุ๋ยสูตรหลัก โดยเน้นไปที่ธาตุรองเป็น ธาตุแคลเซียม และ ธาตุแมกนีเซียม เป็นพิเศษ ให้หลายๆผลิตภันฑ์ และหลายๆสูตรปุ๋ย สาเหตุเป็นเพราะว่า การวินิจฉัยว่าพืช ขาดธาตุแคลเซียม หรือ ขาดธาตุแมกนีเซียมนั้น ค่อนข้างจะบ่งชี้ได้ยาก

เรื่องของปฏิสัมพันธ์ระหว่างธาตุนั้น จะเริ่มจากโบรอน ไปสู่ธาตุอื่นๆต่างๆ ดังนี้

โบรอน > ซิลิคอน > แคลเซียม > ไนโตรเจน > แมกนีเซียม > ฟอสฟอรัส > คาร์บอน > โพแทสเซียม

จะเห็นได้ว่า ธาตุแคลเซียม จะจับกับ ธาตุไนโตรเจน ซึ่งไนโตรเจนนั้น เป็นองค์ประกอบหลักของ กรดอะมิโน ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักของโปรตีน ซึ่งเป็นสารตั้งต้นในการสร้าง คลอโรฟิลล์ ซึ่งเกี่ยวข้องกับความเขียวของใบพืช ใช้ในการสังเคราะห์แสง

จะเห็นได้ว่า หากพืชขาด ธาตุแคลเซียม จะส่งผลกระทบต่อความเขียวของใบพืช ใบพืชอาจจะซีดเป็นสีเหลือง หรือสีน้ำตาล แต่อาการเหลือง หรือน้ำตาลของใบพืช จะแสดงออกโดยมีรายละเอียด หรือลักษณะเฉพาะแบบไหน?

ในส่วนของการสร้าง คลอโรฟิลล์ ก็ต้องใช้ ธาตุแมกนีเซียม ในการรับพลังงาน และสะสมพลังงานจากแสงอาทิตย์ ในโตรเจน ที่อยู่ในกรดอะมิโน จะจับกับ แมกนีเซียม เพื่อสร้างคลอโรฟิลล์ในพืช

ซึ่งก็หมายความว่า หากพืชขาด ธาตุแมกนีเซียม ก็จะแสดงอาการใบเหลืองเช่นกัน ส่วน อาการขาดไนโตรเจน ก็ใบซีด ใบเหลือง ชัดเจนอยู่แล้ว เพราะไนโตรเจนเป็นธาตุหลัก แต่สำหรับคนที่ใส่ปุ๋ยทั่วๆไปสม่ำเสมอ อาการใบเหลืองจากการ ขาดไนโตรเจนนั้น น่าจะตัดออกไปได้ เหลือพิจารณาอยู่คือ ธาตุรอง สองธาตุ คือ แมกนีเซียม และ แคลเซียม นั้นเอง

พืชขาดธาตุแคลเซียม พืชขาดธาตุแมกนีเซียม
ความแตกต่างของอาการขาดธาตุ แคลเซียม เปรียบเทียบกับ ขาดธาตุแมกนีเซียม
อาการพืชขาดธาตุแคลเซียม
อาการใบเหลืองของพืช จะแสดงที่ด้านบนของใบพืช สัญญานที่บ่งบอกว่า พืช ขาดธาตุแคลเซียม คือ ใบพืชจะมีรอยสีน้ำตาล / เหลืองเป็นจุดๆ มักจะเกิดที่ส่วนยอดของต้นพืช

ลำต้นพืชจะอ่อนแอ เนื่องจากผนังเซลล์ไม่ดี

การเจริญเติบโตของพืชช้า (บนเงื่อนไขที่เราให้ธาตุหลัก N-P-K แล้ว แต่พืชก็ยังโตช้า)

แต่หากผู้อ่านมั่นใจว่า ให้แคลเซียมในปริมาณที่เพียงพอแล้ว ลองดูประเด็นของค่า pH ของดินบิเวณนั้น ว่าอยู่ในช่วง 5.2-6.1 หรือไม่

วิธีหนึ่งที่ใช้ทดลองได้คือ ทดลองให้อาหารเสริมแคลเซียมกับพืช (เช่นพวกสารปรับปรุงดิน ที่มีแคลเซียมผสมอยู่) หนึ่งสัปดาห์หลังจากนั้น ทดลองตรวจดินวัดค่า EC (ค่าการนำไฟฟ้า) บริเวณโซนรากพืช เปรียบเทียบกับ ดินโซนที่ห่างจากรากพืช หากค่า EC ไม่ลดลง สันนิษฐานได้ว่า พืชของคุณ ไม่ได้รับสารอาหารใดๆ (ซึ่งน่าจะเป็นแคลเซียม)

ห้อง LAB ตรวจวิเคราะห์ดินและปุ๋ย iLab
iLab ตรวจธาตุอาหารในดิน ตรวจวิเคราะห์ดิน
การเคลื่อนย้ายแคลเซียม
อาการขาดแคลเซียม มักจะประกฎในใบที่ใหม่กว่า เนื่องจากแคลเซียมที่เก็บไว้ในใบแก่ ไม่สามารถเคลื่อนย้ายในยังใบที่กำลังเจริญเติบโตใหม่ได้ เนื่องจาก แคลเซียม เป็น ไอออนที่เคลื่อนที่ไม่ได้ในพืช

ใบพืชขาดธาตุแคลเซียม
อาการใบจุดสีน้ำตาล และใบจุดเหลือง ที่เกิดจากการขาดแคลเซียม
มักแสดงอาการบนใบใหม่
อาการพืชที่ขาดธาตุแมกนีเซียม
ดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น อาการขาดธาตุแมกนีเซียมในพืชนั้น มีลักษณะคล้ายกับอาการขาดธาตุแคลเซียม คือ อาการจุดคล้ายสนิมสีน้ำตาล และจุดสีเหลืองกระจายทั่วใบพืช

ความแตกต่างที่สำคัญอย่างหนึ่งคือ การเกิดจุดสีน้ำตาลที่เกิดจากการขาดแคลเซียม จะมีผลต่อการเจริญเติบโตตั้งแต่เริ่มต้น นั้นคือจะเกิดบนในใหม่ของพืช บนยอดใบที่แตกใหม่ แต่ในส่วนของ อาการพืชขาดแมกนีเซียมนั้น จะเกิดบนใบพืชที่สร้างไว้แล้ว หรือใบเก่า หรือใบแก่ของพืชนั้นเอง

การม้วนงอ ของใบพืช
เกิดสีเหลือง / นอกเส้นใบ ปัญหาของอาการขาดแมกนีเซียม จะส่งผลกระทบต่อส่วนล่างของพืช และใบแก่ของพืช ต่างจากอาการขาดแคลเซียม เพราะ แมกนีเซียม เป็น ไอออน (ion) ที่เคลื่อนที่ได้ในพืช

อาการใบเหลืองจากการขาดแมกนีเซียมนี้ สังเหตุได้ว่า อาการเหลือง จะอยู่รอบนอกของเส้นใบพืช

การเคลื่อนที่ของแมกนีเซียม
อาการขาดแมกนีเซียมในพืช จะปรากฎให้เห็นในใบแก่ของพืช เนื่องจาก แมกนีเซียม จะถูกจรรสรรให้กับการเจริญเติบโต การแตกยอด แตกใบใหม่ เพราะ แมกนีเซียม เป็น ไอออน (ion) ที่เคลื่อนที่ได้ในพืช

ใบพืชขาดธาตุแมกนีเซียม
อารการพืชขาดธาตุแมกนีเซียม
แคลเซียม และ แมกนีเซียม ต่างก็เป็นองค์ประกอบสำคัญในการเจริญเติบโตของพืช

อาการใบเหลืองของพืช มักจะเป็นสัญญาณ ของผลกระทบต่อ คลอโรพลาสต์ และ คลอโรฟิลล์ โดยมากแล้วมีสาเหตุจากการขาดธาตุรอง การใช้ FK-1 นั้น จะเติมได้ทั้งธาตุหลัก N-P-K พร้อมธาตุรอง แคลเซียม แมกนีเซียม และธาตุเสริมอื่นๆ เพื่อให้ครบถ้วนตามความต้องการของพืช ช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้เร็ว มีความสมบูรณ์ แข็งแรง เมื่อพืชมีความแข็งแรง จึงส่งเสริมให้พืชต้านทานต่อโรคและแมลงได้ดีขึ้น

เรียบเรียงโดย ธนบัตร บัวแก้ว เผยแพร่ที่ FarmKaset.ORG และ farmkaset.blogspot.com

ปุ๋ยแก้พืชขาดธาตุรอง ธาตุแคลเซียม ธาตุแมกนีเซียม
สั่งซื้อสินค้าได้ที่ http://www.farmkaset..link..
ดูโบรชัวร์ ข้อมูลรายะเอียดสินค้า คลิกที่นี่
หรือโทรสั่งซื้อได้ที่ 090-592-8614
หรือไลน์ไอดี FarmKaset



FK iLab ตรวจวิเคราะห์ค่าดิน และปุ๋ย

FK iLab เป็นเว็บไซต์ให้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารในดิน และค่าธาตุอาหารในปุ๋ย ด้วย LAB มาตรฐาน ตรวจวิเคราะห์โดยนักวิชาการเฉพาะด้าน ที่มีความชำนาญ โดยผู้ใช้บริการสามารถ เลือกค่า ธาตุอาหารต่างๆที่ต้องการตรวจได้ บนเว็บไซต์ และส่งตัวอย่างดิน หรือปุ๋ยที่ต้องการตรวจไปยัง ห้องปฏิบัติการ ผ่านทางไปรษณีย์ และรออ่านผลตรวจได้ทางหน้าเว็บไซต์

สามารถใช้บริการได้ที่ http://www.farmkaset..link..
หรือเข้าเว็บไซต์ FarmKaset.ORG และคลิกที่เมนู iLab



อ้างอิง

elitegardenwholesale.com/blogs/elite-blog/secondary-common-plant-deficiencies
อ่าน:4066
เมล่อนโคนเน่า ราน้ำค้างเมล่อน ราแป้ง เพลี้ยไฟเมล่อน ฉีดพ่นด้วย ยาอินทรีย์ ไอเอส มาคา และ ไอกี้-บีที เร่งฟื้นฟูด้วย FK-1
เมล่อนโคนเน่า ราน้ำค้างเมล่อน ราแป้ง เพลี้ยไฟเมล่อน ฉีดพ่นด้วย ยาอินทรีย์ ไอเอส มาคา และ ไอกี้-บีที เร่งฟื้นฟูด้วย FK-1
โรคราน้ำค้างเมล่อน (Downy Mildew) เกิดจากเชื้อ Pseudoperonospora cubensis (Berkeley & Curtis) Roslowzew
อาการของโรค ราน้ำค้างในเมล่อน จะเกิดจุดสีน้ำตาล หรืออาจจะเป็นสีเหลือง เป็นจุดเล็กๆ และค่อยขยายใหญ่ขึ้น ขอบใบจะค่อยๆม้วนและร่วง

โรคเหี่ยว ในเมล่อน เกิดจากเชื้อรา Fusarium oxysporum f.sq. melonis ใบเมล่อนเหี่ยว เป็นสีเหลืองจากยอดลงมา ซอกใบเน่า โคนเน่า และตายในที่สุด

โรคราแป้งในเมล่อน เกิดจากเชื้อรา Erysiphe cichoracearum De candolle Sphaerotheca fuliginea อาการที่สังเกตุได้ จะเป็นจุดเหลืองที่ยอดอ่อน ลำต้น และจุดเหลืองจะใหญ่ขึ้น ส่งผลให้ใบแห้งตาย

เมล่อนต้นแตก เมล่อนยางไหล เกิดจากเชื้อรา Mycosphaerella melonis จะเกิดจุดวงกลมสีน้ำตาล หรือสีดำ จากขอบใบและขยายสู่กลางใบ จนทำให้ใบร่วง

โรคเมล่อนต่างๆ ทีมีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่นด้วย ไอเอส เพื่อยังยั้งการระบาดของเชื้อรา ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อเร่งฟื้นตัว จากการเข้าทำลายของโรค และกลับมาเจริญเติบโตได้เป็นอย่างดี

แมลหวีขาว เป็นพาหะนำโรคมาติดสู่เมล่อนในแปลงของเรา เป็นแมลงศัตรูพืชที่ต้องกำจัด

เพลี้ยไฟเมล่อน สามารถระบาดแพร่กระจายตัวได้อย่างรวดเร็ว การพัดของกระแสลม ทำให้เพลี้ยระบาดไปได้ในพื้นที่กว้าง เพลี้ยไฟจะเข้าทำลายโดยการดูดน้ำเลี้ยง ทำให้ผลเมล่อนแคระ ไม่โต ต้นเมล่อนอ่อนแอ แห้งตายได้

ฉีดพ่นด้วย มาคา เพื่อกำจัดเพลี้ย และแมลงหวีขาว ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อเร่งฟื้นตัว จากการเข้าทำลายของแมลง

แมลงวันทอง จะเจาเข้าไปในผลเมล่อน เพื่อวางไข่ เป็นการเข้าทำลายเมล่อนโดยตรง

กำจัดหนอนต่างๆในเมล่อน ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ป้องกันกำจัดหนอน ผสมด้วย FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน

ยาอินทรีย์ป้องกันและกำจัดโรค แนะนำ สำหรับ เมล่อน

ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดด และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3156
ยาแก้โรค ทุเรียนใบแห้ง ที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา ยารักษาโรค ทุเรียนใบติด ทุเรียนใบไหม้ ใช้ ไอเอส ยับยั้งโรค และ ผสมด้วย FK-1 เพื่อเร่งฟื้นตัว
ยาแก้โรค ทุเรียนใบแห้ง ที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา ยารักษาโรค ทุเรียนใบติด ทุเรียนใบไหม้ ใช้ ไอเอส ยับยั้งโรค และ ผสมด้วย FK-1 เพื่อเร่งฟื้นตัว
อาการ ทุเรียนยอดแห้ง ใบทุเรียนแห้ง ใบทุเรียนหลุดร่วง มีสาเหตุหลักๆจากโรคเชื้อรา เชื้อรา Phyllosticta sp. ทำให้เนื้อเยื่อตายบริเวณปลายใบ และมักมีเชื้อรา Pestalotiopsis sp. ปะปนเล็กน้อย

โรคใบติด ใบไหม้ ใบร่วง (Leaf blight_ leaf fall)

เกิดจากเชื้อรา Rhizoctonia solani ลักษณะอาการใบจะไหม้ แห้ง และติดกันเป็นกระจุก และร่วงจำนวนมาก ใบติดกันด้วยเส้นใยของเชื้อรา ใบคล้ายถูกน้ำร้อนลวก สีซีด ขอบแผลสีเขียวเข้ม

โรคใบจุด (Leaf Spot)

เกิดจากเชื้อราหลายชนิด โดย หากเป็นเชื้อ Colletotrichum sp. ซึ่งทำให้เกิดโรคแอนแทรคโนส ใบอ่อนจะมีสีซีดคล้ายโดนน้ำร้อนลวก ส่วนขยายพันธุ์เป็นจุดดำ ๆ ส่วนใบแก่เป็นจุดกลมขอบแผลสีเข้ม และมีการขยายขนาด ส่วนเชื้อรา Phomopsis sp. ทำให้เกิดเนื้อเยื่อตายบริเวณใบแก่ มีขนาดจำกัด

เชื้อรา Pseudocercospora sp ทำให้เนื้อตายเป็นจุดเหลี่ยม ๆ เล็ก ๆ กระจัดกระจายบนใบ และใต้ใบมีกลุ่มสปอร์สีดำ ทำให้ใบร่วงรุนแรงได้

โรคราสีชมพู (Pink disease)

เกิดจากเชื้อรา Erythricium Salmonicolor กิ่งมีลักษณะคราบสีขาวแกมชมพูแห้งแข็งบนผิวเปลือก เมื่อใช้มีดถากเปลือกบริเวณที่เป็น จะพบเนื้อเยื่อเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม

โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)

เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum Zibethinum ทำลายช่อดอกในระยะช่อบาน ทำให้ดอกมีสีคล้ำ เน่าดำก่อนบาน มีราสีเทาดำปกคลุมเกสร กลีบดอก ทำให้ดอกแห้ง ร่วงหล่น

โรคราแป้ง (Powdery mildew)

เกิดจากเชื้อรา Oidium sp. มักแพร่ระบาดในช่วงที่อากาศแห้งและเย็น เข้าทำลายในระยะดอกบานและติดผลอ่อน เชื้อรามีสีขาวคล้ายฝุ่นแป้ง ปกคลุมกลีบดอกและผลอ่อน ทำให้แลดูขาวโพลน ต่อมาดอกและผลอ่อนจะร่วง ส่วนผลที่พัฒนาโตขึ้น จะมีเชื้อราสีขาวปกคลุมบาง ๆ อาจทำให้ผลชะงักการเจริญเติบโต ทำให้ผลผิวหยาบไม่สวย รสชาติอาจเปลี่ยนแปลง และมีเปลือกหนา

โรคโคนเน่า รากเน่า ผลเน่า และแคงเคอร์ที่กิ่ง

เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora โดยเชื้อราจะเข้าทำลายระบบราก และโคนต้น ปรากฎจุดฉ่ำน้ำ และมักมีน้ำเยิ้มออกมา เมื่อใช้มีดถากดูจะพบว่ามีน้ำไหลทะลักออกมา เนื้อเยื่อเปลือกและเนื้อไม้เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม หากอาการเน่าลุกลาม จะทำให้ใบร่วง โดยเริ่มจากปลายกิ่ง ในที่อากาศชื้น เชื้อราสามารถแพร่ทางลม เข้าทำลายกิ่งและผลได้ โดยมักพบเชื้อรา Lasiodiplodia sp. ร่วมด้วยเสมอ

โรคใบจุดสนิม จุดสาหร่าย

เกิดจากสาหร่าย Cephaleuros virescens Kunze พบ ในใบแก่ ลักษณะเป็นจุดฟูเสีเขียวแกมเหลือง ต่อมาเปลี่ยนเป็นสีเหลืองแกมส้ม ซึ่งเป็นระยะที่สาหร่ายสร้างสปอร์ เพื่อใช้ในการแพร่ระบาด

ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดด และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:4748
ยาแก้ โรคมันสำปะหลังใบไหม้
ยาแก้ โรคมันสำปะหลังใบไหม้
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง (Cassava Bacterial Blight : CBB)

เกิดจากเชื้อ Xanthomonas campestris pv. manihotis มีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศบราซิลในปี 2455 หลังจากนั้นมีรายงานการแพร่ระบาดเกือบทุกประเทศที่มีการปลูกมันสำปะหลังทั้งทวีปเอเชียและลาตินอเมริกา ในประเทศไทยพบครั้งแรกที่จังหวัดระยอง เมื่อปี 2518 และต่อมาพบทั่วทุกภาค ระดับความเสียหายเนื่องจากโรคนี้มีตั้งแต่ 30 เปอร์เซ็นต์ เมื่อใช้ท่อนพันธุ์จากต้นที่เป็นโรคถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเกิดโรคและใช้ต้นพันธุ์ที่เป็นโรคติดต่อกัน 3 ถึง 4 ปี โดยไม่มีการป้องกันกำจัด อาจมีความเสียหายถึง 80 เปอร์เซ็นต์ ระดับความเสียหายจะขึ้นอยู่กับเปอร์เซ็นต์การใช้ท่อนพันธุ์ที่มีเชื้อปะปนมา (Contaminated cutting) ปลูกในแปลงและความเสียหายอาจรุนแรงถึง 90 เปอร์เซ็นต์ เมื่อมีเชื้อโรค เช่น เชื้อ Colletrotrichum spp. และ Choanephora cucurbitarum ร่วมเข้าทำลาย นอกจากจะทำความเสียหายกับผลผลิตโดยตรงแล้วยังทำให้ขาดแหล่งโปรตีนและไวตามินที่สำคัญสำหรับประชากรในบางประเทศ เนื่องจากคนเหล่านั้นรับประทานใบมันสำปะหลังแทนผัก ฉะนั้น โรคใบไหม้จึงมีความสำคัญเป็นอันดับ 1 ในแถบอัฟริกา และลาตินอเมริกา สำหรับประเทศทางแถบเอเชีย เช่น ประเทศจีน และประเทศไทย ความเสียหายจัดอยู่ในระดับปานกลาง

ลักษณะอาการเริ่มแรก ของโรคใบไหม้ ที่เกิดกับมันสำปะหลัง

แสดงอาการใบจุดเหลี่ยมฉํ่านํ้า ใบไหม้ ใบเหี่ยว ยางไหลจนถึงอากยอดเหี่ยวและแห้งตายลงมา นอกจากนี้ยังทำให้ระบบท่อนํ้าอาหารของลำต้นและรากเน่า

ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง ที่เป็นโรค

แสดงอาการ คือ ยอดที่ผลิตใหม่ เหี่ยว มียางไหล และมีอาการแห้งตายจากยอดอย่างรวดเร็ว และแพร่ระบาดไปยังต้นข้างเคียง ซึ่งมักจะแสดงอาการเป็นจุดชํ้าเล็กที่ต้นแล้วแผลขยายใหญ่เปลี่ยนเป็นสีนํ้าตาลเข้มลุกลามเป็นแผลใหญ่ บางครั้งจะพบวงสีเหลือง (yellow halo) ลามเป็นใบไหม้ และใบร่วง ลำต้นแห้งตาย เมื่อผ่าดูระบบท่อนํ้าและอาหารทั้งของลำต้น และรากจะมีสีคลํ้า เนื่องจากเนื้อเยื่อของส่วนนี้ถูกทำลาย ในบางครั้งจะพบอาการยางไหลบนส่วนลำต้นที่ยังอ่อนหรือก้านใบ และแผลจุดบนใบ พบระบาดมากได้ในช่วงฤดูฝน

การแพร่ระบาดของโรค มันสำปะหลังใบไหม้ จุดที่สำคัญ

คือ ติดไปกับท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค แพร่กระจายไปโดยฝนหรือกับดิน หรือกับเครื่องมือที่ใช้ในการเกษตร เช่น มีดที่ใช้ในการตัดท่อนพันธุ์ ในบางประเทศมีรายงานว่า แมลงเป็นตัวการในการแพร่ระบาด เชื้อสาเหตุของโรคสามารถอยู่รอดในดินบนเศษซากพืชได้นานกว่า 2 ปี

การป้องกันกำจัด โรคใบไหม้มันสำปะหลัง

1. ใช้พันธุ์ต้านทาน พันธุ์ที่แนะนำในปัจจุบัน มีความต้านทานต่อโรคปานกลาง

2. ใช้ท่อนพันธุ์ที่ปราศจากเชื้อ

3. ปลูกพืชอายุสั้นเป็นพืชหมุนเวียน หรือหลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในแปลงที่ระบาดรุนแรงนาน 6 เดือน

อ้างอิงข้อมูลจาก กรมวิชาการเกษตร

ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดด และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3235
แก้โรคทุเรียนใบไหม้ ทุเรียนใบติด รักษาอาการทุเรียนใบไหม้ โรคใบติดทุเรียน ด้วยการฉีดพ่น ยับยั้งการระบาดของเชื้อรา
แก้โรคทุเรียนใบไหม้ ทุเรียนใบติด รักษาอาการทุเรียนใบไหม้ โรคใบติดทุเรียน ด้วยการฉีดพ่น ยับยั้งการระบาดของเชื้อรา
ในสภาพอาการร้อนชื้น แดดแรง และมีฝน เป็นสภาพอาการที่เอื้ออำนวยต่อการระบาดของโรคทุเรียน ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคทุเรียนใบไหม้ หรือหลายครั้งมักจะเรียกว่า โรคใบติด เนื่องจากมีอาการใบทุเรียนไหม้ ติดกัน

อาการของทุเรียนใบไหม้ ซึ่งมาสาเหตุจากเชื้อรานั้น เริ่มต้นจะมีแผลลวก จากนั้นแผลจะขยายตัว และค่อยๆเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล และจะเริ่มลุกลามไปใบข้างเคียง ยิ่งในภาวะความชื้นสูง เชื้อราจะก่อตัวและลุกลามได้เร็วยิ่งขึ้น และจะก่อโครงสร้างเส้นใย ทำให้ใบทุเรียนยึดติดกัน เมื่อใบบนที่เป็นโรค หลุดร่วง ก็จะหล่นใส่ใบที่อยู่ด้านล่าง ทำให้ติดลุกลามไปเรื่อยๆ หากลุกลามมากใบจะหลุดร่วงจนหมดทั้งกิ่ง และกิ่งจะค่อยๆแห้งหัก

ยิ่งกรณีมีความชื้นสูงเชื้อราจะลุกลาม และจะสร้างเส้นใยคล้ายใยแมงมุมยึดใบให้ติดกัน เมื่อใบที่เป็นโรคหลุดร่วงไปสัมผัสกับใบที่อยู่ด้านล่าง ทำให้โรคระบาดลุกลามจนใบไหม้เห็นเป็นหย่อมๆ ใบแห้งติดกันเป็นกระจุกแขวนค้างตามกิ่ง ต่อมาใบจะร่วงจนเหลือแต่กิ่ง และกิ่งแห้งในที่สุด

การป้องกันกำจัด โรคทุเรียนใบไหม้ ทำได้โดยการฉีดพ่น ไอเอส ให้ครอบคลุมบริเวณที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง ห่างกันต่อครั้ง ประมาณ 3 วัน

การสังเกตุการหายจากเชื้อรา คืออาการใบไหม้ จะหยุดลุกลาม หยุดระบาด ใบที่ผลัดออกมาใหม่จะไม่เป็น ส่วนใบที่เสียหายไปแล้วนั้น ก็จะหยุดความเสียหายเอาไว้แค่นั้น และรอผลัดใบใหม่ ทุเรียนก็จะเริ่มกลับผมฟื้นตัว และสมบูรณ์ แข็งแรงอีกครั้ง หากเราต้องการเร่งการแตกยอดใบใหม่ เร่งการฟื้นตัว สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกับ ไอเอส

ยาป้องกันกำจัดโรค ยากำจัดเพลี้ย ยากำจัดหนอน ซึ่งใช้ได้กับทุกพืชไร่ พืชสวน ผัก ผลไม้ ที่ปลูกในประเทศไทย

ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดด และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:5497
ยาแก้ฟักทองใบไหม้ ยาแก้เพลี้ยฟักทอง ยาอินทรีย์รักษาโรคฟักทอง ปุ๋ยเร่งน้ำหนักฝักทอง
ยาแก้ฟักทองใบไหม้ ยาแก้เพลี้ยฟักทอง ยาอินทรีย์รักษาโรคฟักทอง ปุ๋ยเร่งน้ำหนักฝักทอง
ฟักทองยอดม้วน ยอดหดสั้น ปล้องถี่ ยอดตั้ง ฟักทองใบหงิก ใบด่าง เกิดจากเพลี้ยไฟดูดน้ำเลี้ยง สามารถป้องกันและกำจัดได้ โดยการฉีดพ่น มาคา สารอัลคาลอยด์ป้องกันและกำจัดแมลง ปลอดสารพิษ ปลอดภัยกับทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

โรคเหี่ยวฟักทอง ฟักทองใบเหี่ยว ฟักทองใบไหม้ โรคราน้ำค้างฟักทอง ฟักทองเถาเหี่ยว ฟักทองผลเน่า โรคฟักทองต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งเชื้อรา ปลอดสารพิษ

อาการ ฟักทองใบเหลือง ฟักทองแคระ ไม่โต ขาดธาตุ โตช้า ฉีดพ่นด้วย FK-1 ปุ๋ยที่ประกอบด้วยธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม อย่างครบถ้วน ตามที่ฟักทองต้องการ

เร่งฟักทองให้ฟื้นตัวอย่างรวดเร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดี หลังจากฟักทอง ถูกเข้าโจมตีจากโรครา หรือแมลงศัตรูพืช ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมๆกันกับตัวยา ฟักทองจะกลับมาเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็ว แตกยอดใหม่ แตกใบใหม่ ใบเขียว โตไว้ มีความสมบูรณ์แข็งแรง และติดผลมากขึ้น

เมื่อฟักทองติดผล สามารถเร่งผลฟักทองให้โตเร็ว ขยายขนาดผลให้ใหญ่ มีน้ำหนักดี รสชาติดี ผลสมบูรณ์ มีคุณภาพสูง ฉีดพ่นด้วย FK-3 สูตรสำหรับเร่งผลฟักทอง ที่ให้โพแตสเซียมสูงถึง 40% เพื่อเร่งผลให้โต ใหญ่ น้ำหนักดี คุณภาพดี ขายได้ราคา

ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดด และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3661
ยาแก้พริกใบหงิก พริกใบม้วน เพราะเพลี้ยไฟ และเพลี้ยต่างๆเข้าทำลาย ยาแก้โรคพริกที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ผลเน่า ใบไหม้ ใบแห้ง
ยาแก้พริกใบหงิก พริกใบม้วน เพราะเพลี้ยไฟ และเพลี้ยต่างๆเข้าทำลาย ยาแก้โรคพริกที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ผลเน่า ใบไหม้ ใบแห้ง
อาการพริกใบหงิก พริกยอดหงิก ขอบใบพริกม้วนงอขึ้นด้านบน ปลายใบพริกแห้งม้วน ก้านใบพริกมีรอยด่าง หรือใบพริกด้านล่างมีสีน้ำตาลด้าน เป็นอาการที่เกิดจาก เพลี้ยไฟเข้าทำลาย

ส่วนอาการผลพริกเป็นแผล เน่า พริกใบเหลือง ขอบใบไหม้ อาการเหล่านี้ มีสาเหตุเพราะ เป็นโรคต่างๆจากเชื้อรา


ยาป้องกันกำจัดโรค ยากำจัดเพลี้ย ยากำจัดหนอน ซึ่งใช้ได้กับทุกพืชไร่ พืชสวน ผัก ผลไม้ ที่ปลูกในประเทศไทย

ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดด และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3864
2124 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 212 หน้า, หน้าที่ 213 มี 4 รายการ
|-Page 207 of 213-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ปุ๋ยบำรุงมะม่วงหิมพานต์ ปุ๋ยมะม่วงหิมพานต์ โตไว ระบบรากแข็งแรง ติดดอก ออกผล FK-1 มี N,P,K,Mg,Zn
Update: 2564/11/13 08:38:32 - Views: 2957
โรคมือเท้าปาก ระบาดในเมืองไทย แต่ผู้ป่วยยังน้อยกว่า สิงคโปร์-เวียดนาม
Update: 2555/07/23 20:57:36 - Views: 3034
ส่งออกข้าวโพดหวาน อนาคตรุ่ง
Update: 2555/07/27 15:00:57 - Views: 3604
จอมปลวกที่เห็นตามท้องไร่ท้องนา ใช้ฉีดย่อยสลายฟางข้าวได้ ยับยั้งโรคพืชได้อีกด้วย
Update: 2563/06/24 07:55:04 - Views: 3043
ยาปราบฯอินทรีย์ จากฟาร์มเกษตร ส่งทั่วไทย ชำระเงินปลายทาง
Update: 2562/08/08 14:02:02 - Views: 2984
วิธีปลูกทุเรียนอย่างละเอียด ตั้งแต่การคัดเลือกพันธุ์ ไปจนถึงการเก็บเกี่ยว
Update: 2564/05/31 08:12:06 - Views: 3216
ประโยชน์ของการปลูกพืชผสมผสานระหว่าง มันสำปะหลัง กับ พืชตระกูลถั่ว
Update: 2566/04/26 13:57:33 - Views: 16631
เลี้ยงหมูป่า รายได้เดือนละแสนกว่าบาท หนุ่มพะเยา เพาะเลี้ยงหมูป่าเป็นอาชีพเสริม
Update: 2563/06/15 20:11:28 - Views: 3660
โรคใบไหม้ (โรคใบจุดตาเสือ) ก้านใบไหม้ ก้านใบเน่า : LEAF BLIGHT DISEASE ในพืชต่างๆ
Update: 2563/11/03 13:06:08 - Views: 3360
การฟื้นฟูต้นไม้ ไม่ดอก ไม้ประดับ ที่เป็นโรคต่างๆ ให้กลับมาสมบูรณ์ แข็งแรง เหมือนเดิม
Update: 2563/11/17 10:42:28 - Views: 4668
ปุ๋ยที่ออกแบบมาสำหรับ นาข้าว ไร่มันสำปะหลัง ไร่อ้อย โดยเฉพาะ
Update: 2567/05/16 09:03:11 - Views: 61
ข้าวใบไหม้ ข้าวเน่าคอรวง พบได้ทั้งใน นาปรัง และนาปี มีสาเหตุจากเชื้อรา รักษาด้วย ไอเอส บำรุงด้วย FK-1
Update: 2564/01/09 09:46:14 - Views: 3056
การป้องกัน กำจัด โรคแอนแทรคโนสในทุเรียน
Update: 2563/11/27 08:49:56 - Views: 5175
กรมส่งเสริมการเกษตร ตั้ง คลินิกพืช ปั้นนักส่งเสริมเป็น หมอพืช วินิจฉัยโรคพืช แก้ปัญหาให้กับเกษตรกรตรงจุด
Update: 2564/08/12 22:07:12 - Views: 3011
NSUT10-266: โคลนอ้อยดีเด่นน้ำตาลสูง
Update: 2564/08/10 11:58:55 - Views: 2957
สวนเงาะเฝ้าระวังการเกิด โรคราดำเงาะ มักพบได้ในระยะที่ต้นเงาะเริ่มติดผลอ่อน
Update: 2564/08/10 05:06:16 - Views: 3048
โรคพืชตระกูลแตง โรคราน้ำค้าง และ โรคราแป้ง
Update: 2564/08/09 22:28:59 - Views: 3365
โรคราสนิมต้นลีลาวดี โรคราสนิมลั่นทม [ใช้ ไอเอส + FK-1 ]
Update: 2564/08/09 04:37:03 - Views: 3456
โรคแอนแทรคโนสกาแฟ เกิดจากเชื้อรา คอลเลตโททริคัม ใช้ ไอเอส + FK-1
Update: 2564/08/09 04:41:38 - Views: 3168
มะม่วงหิมพานต์ยอดไหม้ มะม่วงหิมพานต์ใบไหม้ จากเชื้อรา ใช้ ไอเอส + FK-1
Update: 2564/08/09 04:26:12 - Views: 3247
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022