[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - ปุ๋ย
2122 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 212 หน้า, หน้าที่ 213 มี 2 รายการ

โกโก้ พืชเศรษฐกิจทางเลือกใหม่สร้างกำไรดี ผลตอบแทน 22,400 บาท ต่อไร่ ต่อปี
โกโก้ พืชเศรษฐกิจทางเลือกใหม่สร้างกำไรดี ผลตอบแทน 22,400 บาท ต่อไร่ ต่อปี
“โกโก้” เป็นพืชเศรษฐกิจที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีแผนส่งเสริมพัฒนาการผลิตและการตลาด ให้เป็นสินค้าสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกร เนื่องจากเป็นสินค้าที่มีความต้องการของตลาดโลกสูง ส่งออกยุโรป ญี่ปุ่น และสิงคโปร์ อีกทั้งเป็นพืชทางเลือกชนิดหนึ่งที่สามารถปลูกเป็นพืชทดแทนและเป็นพืชแซมในสวนผสม เป็นพืชที่ดูแลง่าย เจริญเติบโตเร็ว ทนแล้ง และให้ผลผลิตสูง

นายนิกร แสงเกตุ ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 ชัยนาท (สศท.7) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) เปิดเผยว่า จากการลงพื้นที่ของ สศท.7 เพื่อติดตามสถานการณ์การผลิตและตลาดโกโก้ ในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคกลาง (ชัยนาท สระบุรี ลพบุรี สุพรรณบุรี สิงห์บุรี) พบว่ามีพื้นที่ปลูกรวม 495 ไร่ เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนกับกรมส่งเสริมการเกษตร จำนวน 100 ราย (ข้อมูล ณ วันที่ 15 กรกฎาคม 2564) เกษตรกรนิยมปลูกพันธุ์ ไอ.เอ็ม.1 เนื่องจากเป็นพันธุ์ที่เจริญเติบโตเร็วให้ผลผลิตสูง มีกลิ่นหอมเมื่อแปรรูป และเป็นที่ต้องการของตลาดต้นทุนการผลิตโกโก้เฉลี่ยอยู่ที่ 6_630 บาท/ไร่/ปี (เริ่มให้ผลผลิตในปีที่ 3 และเก็บเกี่ยวจนถึงอายุต้น 30 ปี) เกษตรกรจะเก็บเกี่ยวผลผลิตได้ทุก 15 วัน และเก็บเกี่ยวได้ตลอดทั้งปี ผลผลิตจะออกมากที่สุดช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – เมษายน ผลผลิตเฉลี่ย 2_400-3_000 กิโลกรัม/ไร่/ปี ราคาที่เกษตรกรขายได้ (ผลสด) ณ วันที่ 12 กรกฎาคม 2564 อยู่ที่ 8-10 บาท/กิโลกรัม เกษตรกรได้ผลตอบแทน 22_400 บาท/ไร่/ปี คิดเป็นผลตอบแทนเฉลี่ยสุทธิ (กำไร) 15_770 บาท/ไร่/ปี

ที่มา http://www.farmkaset..link..
วิธีปลูกกระชาย สมุนไพรมากสรรพคุณ ทำอาหารได้หลายเมนู
วิธีปลูกกระชาย สมุนไพรมากสรรพคุณ ทำอาหารได้หลายเมนู
เป็นอีกหนึ่งพืชสมุนไพรที่มาแรงไม่แพ้ ฟ้าทะลายโจร เลยทีเดียว หลังจากมีข่าวว่า กระชาย มีฤทธิ์ต้านไวรัสโควิดได้ดีในหลอดเพาะเชื้อ ส่วนประสิทธิภาพการรักษาในคนต้องรองานวิจัยเพิ่มเติม แต่ก็ทำให้ราคาของกระชายเพิ่มสูงขึ้นเป็นเท่าตัวจากหลักสิบเป็นหลักร้อยต่อกิโลกรัม แถมยังมีคนนำไปทำเป็นส่วนผสมทำเครื่องดื่มและอาหารขายกันมากมาย หากใครอยากลองปลูกกินเองที่บ้านหรือจะเพาะในสวนไว้ขายสร้างรายได้ รวมข้อมูลมาฝากกันแล้ว

ลักษณะกระชาย
กระชาย กระชายขาว หรือ กระชายเหลือง (Fingerroot_ Chinese ginger_ Chinese keys_ Galingale) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. เป็นพืชล้มลุก มีลำต้นใต้ดินเป็นเหง้าสั้น ๆ ค่อนข้างกลมเรียงต่อกัน เหง้าตรงกลางจะมีขนาดใหญ่กว่าแง่งด้านข้าง เมื่อแก่จะมีสีน้ำตาล เนื้อด้านในสีเหลือง รากอวบยาว ปลายแหลมออกเป็นกระจุก ผิวสีน้ำตาลอ่อน เหนือดินเป็นกาบใบสีแดงเรื่อย ๆ 3-6 กาบ หุ้มซ้อนกันเป็นชั้นความสูงต้นประมาณ 80 เซนติเมตร มีใบเดี่ยวเรียงสลับ โคนสอบปลายเรียวแหลม ออกดอกเป็นช่อ มีทั้งดอกสีขาวและสีขาวอมชมพูบริเวณยอด มีผลแห้งแต่เมื่อแก่จะไม่แตก

การขยายพันธุ์กระชาย
วิธีปลูกกระชาย
กระชายสามารถขยายพันธุ์ได้ 2 วิธีคือ ปลูกด้วยต้นและเหง้า หัวพันธุ์ที่ดีควรมีอายุประมาณ 7-9 ดือน ลักษณะสมบูรณ์ ไม่มีโรคหรือแมลงรบกวน ก่อนปลูกควรแช่ในน้ำยาป้องกันเชื้อราและสารป้องกันแมลงในดินก่อน 30 นาที เหมาะสำหรับปลูกในดินร่วนซุยอุดมสมบูรณ์ พื้นที่แดดรำไร มีความชื้นสูง ควรเริ่มปลูกช่วงพฤษภาคมไปจนถึงธันวาคม เพราะกระชายจะเจริญเติบโตได้ดีในช่วงฤดูฝนและฤดูหนาว

ทั้งนี้กระชายหัวจะขายได้ดีกว่ากระชายซอย ก่อนหน้านี้ราคาอยู่ที่ประมาณ 30-40 บาท ต่อกิโกกรัม ก่อนจะพุ่งสูงขึ้นในเดือนกรกฎาคม 2564 มาอยู่ที่ประมาณ 105-135 บาท ต่อกิโลกรัม

หมายเหตุ : ***ราคาเฉลี่กระชาย ณ วันที่ 1 ม.ค. - 29 ก.ค. 64 จาก kasetprice
วิธีปลูกกระชายในกระถาง
ตัดหัวหรือเหง้าที่สมบูรณ์ให้ติดรากประมาณ 2-3 ราก ทารอยแผลที่ถูกตัดด้วยปูนแดง พร้อมกับนำไปตากในที่ร่มจนกว่าปูนจะแห้ง
จากนั้นนำเหง้าที่ได้ไปแช่น้ำทิ้งไว้ประมาณ 2 คืน เตรียมไว้ประมาณ 3-5 หัวต่อกระถาง
นำดินที่จะปลูกมาตากแดดทิ้งไว้ประมาณ 7 วัน แล้วนำไปผสมกับปุ๋ยคอก ในอัตราดิน 2 ส่วนต่อปุ๋ยคอก 1 ส่วน
กระถางที่นำมาใช้ควรมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 15-18 เซนติเมตร จากนั้นใส่ดินที่เตรียมไว้ลงไปประมาณ 3 ใน 4 ส่วน
นำเหง้ากระชายมาปลูกในกระถาง แล้วกลบด้านบนด้วยดินอีกชั้น จากนั้นรดน้ำให้ชุ่ม ประมาณ 1 เดือน ก็จะมีแตกใบอ่อนให้เห็นแล้ว
วิธีปลูกกระชายในแปลงปลูก
วิธีปลูกกระชาย
ขุดไถดินตากไว้ประมาณ 7 วัน เพื่อฆ่าเชื้อโรคและศัตรูพืช จากนั้นใส่ปุ๋ยคอกและพรวนดินอีกครั้ง เพื่อให้ดินโปร่งระบายน้ำได้ดี
นำเหง้ากระชายมาแบ่งส่วน ตัดแต่งรากให้เหลือเพียง 2 ราก
ยกแปลงสูงประมาณ 50 เซนติเมตร เพื่อป้องกันดินยุบเมื่อฝนตก จากนั้นนำเหง้าที่เตรียมไว้มาปลูกลงหลุมขนาด 15 เซนติเมตร ระยะปลูก 30x30 เซนติเมตร แล้วกลบดินให้หัวเสมอผิวดิน
นำฟางหรือหญ้าแห้งมาคลุมหน้าดินความหนาประมาณ 2 นิ้ว พร้อมกับรดน้ำให้ชุ่ม เพื่อป้องกันวัชพืชและรักษาความชื้นในดิน
หมั่นให้น้ำ 2–3 วันต่อครั้ง และกำจัดวัชพืชสม่ำเสมอ
วิธีเก็บเกี่ยว
วิธีเก็บเกี่ยวกระชายให้ใช้มือถอนหรือจอบขุด แต่ควรถอนช่วงที่ดินชื้น หรือรดน้ำให้ดินชุ่มก่อนหากดินแห้ง เพื่อป้องกันเหง้าเสียหายขณะเก็บเกี่ยว โดยส่วนใหญ่กระชายจะเก็บเกี่ยวได้หลังปลูกประมาณ 7-8 เดือน หรือเมื่อใบและลำต้นมีสีเหลืองและยุบตัวลง ทั้งนี้หากต้องการขยายช่วงเวลาเก็บเกี่ยว ควรคลุมหน้าดินด้วยฟางและรดน้ำเป็นครั้วคราว เพื่อป้องกันเหง้าและรากฝ่อในช่วงฤดูร้อน

โรคที่ต้องระวัง
โรคเน่า ส่วนมากจะระบาดในดินทราย ดินที่ขาดความอุดมสมบูรณ์ ดินที่มีสภาพเป็นกรดหรือดินที่มีการใส่ปุ๋ยเคมีในปริมาณมาก นอกจากนี้ไม่ควรปลูกกระชายที่เดิมซ้ำหลายปี หากต้องการปลูกควรปรับปรุงดินก่อน โดยการผสมปูนขาวในดินอัตราส่วน 200-300 กิโลกรัมต่อไร่

ประโยชน์กระชาย
วิธีปลูกกระชาย
กระชายเป็นสมุนไพรที่มีประโยชน์มากมาย ทั้งในแง่ของการบำรุงร่างกาย และใช้เป็นยาบรรเทาอาการต่าง ๆ อาทิ ท้องร่วง ท้องเดิน ท้องอืด โรคกระเพาะ ลำไส้ใหญ่อักเสบ นอกจากนี้ยังถือเป็นยาอายุวัฒนะ ที่มีรสเผ็ดร้อนขม กลิ่นหอมฉุนเฉพาะตัวด้วย แถมยังทำอาหารได้หลากหลายอีกด้วย

ขอบคุณข้อมูลจาก สำนักงานเกษตรและสหกรณ์ จังหวัดสุรินทร์_ สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร_
กรมส่งเสริมการเกษตร_ สวนพฤกษศาสตร์ และกรมวิทยาศาสตร์บริการ

ที่มา http://www.farmkaset..link..
งานวิจัยฝ้ายในรอบทศวรรษ
งานวิจัยฝ้ายในรอบทศวรรษ
ในรอบทศวรรษที่ผ่านมา นักปรับปรุงพันธุ์พืชและนักวิจัยของศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ รวมทั้งศูนย์เครือข่าย ได้วิจัยและพัฒนาพันธุ์ฝ้ายที่มีคุณภาพดี มีความหลากหลาย สอดคล้องและตรงกับความต้องการของตลาด ตลอดจนได้เทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม ลดการใช้สารเคมีตั้งแต่ขั้นตอนการปลูกจนกระทั่งกระบวนการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

1. ตากฟ้า 84-4

พันธุ์ฝ้ายใบขน ผลผลิตฝ้ายปุยทั้งเมล็ด 260 กิโลกรัมต่อไร่ และคุณภาพเส้นใยดีมาก โดยมีเปอร์เซ็นต์ปุย 38.0 เปอร์เซ็นต์ ความยาวของเส้นใย 1.23 นิ้ว ความเหนียวของเส้นใย 24.3 กรัมต่อเท็กซ์ ความสม่ำเสมอของเส้นใย 56 และความละเอียดอ่อนของเส้นใย 3.9 นอกจากนี้ผลผลิตเสียหายน้อยกว่าพันธุ์ตากฟ้า 2 ซึ่งเป็นฝ้ายใบเรียบ จากการเข้าทำลายอย่างรุนแรงของเพลี้ยจักจั่นที่ระบาดอย่างรวดเร็ว เมื่อประสบภาวะแห้งแล้งติดต่อกันเป็นเวลานาน เนื่องจากฝ้ายพันธุ์ตากฟ้า 84-4 มีใบปกคลุมด้วยขนทั้งบนใบและบริเวณเส้นใบ ทำให้ลดการเข้าทำลายของเพลี้ยจักจั่นได้ดีกว่า อีกทั้งยังมีความต้านทานต่อโรคใบหงิก ซึ่งทำให้สามารถลดการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดแมลงปากดูดพวกเพลี้ยอ่อนและเพลี้ยจักจั่นลงในระดับหนึ่ง ดังนั้น ฝ้ายพันธุ์ตากฟ้า 84-4 จึงเหมาะสมที่จะส่งเสริม ให้เกษตรกรปลูก ในภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก ที่ก่อให้เกิดภาวะแห้งแล้งเป็นระยะเวลานานตลอดจนเป็นพันธุ์ที่มีเสถียรภาพในการให้ผลผลิต สามารถปรับตัวได้ดีในสภาพแวดล้อมของการปลูกฝ้ายที่สำคัญของประเทศไทย

เทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม ในการผลิตฝ้ายพันธุ์ตากฟ้า 84-4 สำหรับดินชุดสมอทอด ควรใช้ อัตราประชากร 1_828 ต้นต่อไร่ โดยใช้ระยะปลูกระหว่างแถว 1.75 เมตร ระหว่างต้น 0.5 เมตร ใส่ปุ๋ยอัตรา 12-12-12 กิโลกรัมต่อไร่ ของ N-P2O5-K2O เมื่อฝ้ายอายุ 30 วัน

2. ตากฟ้า 86-5

ฝ้ายเส้นใยสีเขียว และมีคุณภาพเส้นใยดีพันธุ์แรกของไทย มีความยาวเส้นใย 1.26 นิ้ว ความเหนียว 31.6 กรัม/เท็กซ์ ความสม่ำเสมอ 84 และความละเอียดอ่อน 2.54 ตลอดจนต้านทานต่อโรคใบหงิก เหมาะสำหรับใช้เป็นวัตถุดิบรองรับการผลิตหัตถกรรมสิ่งทอในท้องถิ่น เพื่อนำไปสู่การแข่งขันและพึ่งพาตนเอง อีกทั้งเส้นใยสีเขียวยังเป็นคุณสมบัติเฉพาะตัว ไม่ต้องผ่านกระบวนการฟอกย้อมสี ปลอดภัยต่อผู้ผลิต ผู้ใช้ และลดมลภาวะน้ำเสียที่เกิดจากการฟอกย้อม ตรงตามกระแสของผู้บริโภคที่ต้องการใช้เส้นใยฝ้ายสี ซึ่งอนุรักษ์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

เทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม ในการเพิ่มมูลค่าของผลผลิตฝ้าย ซึ่งเป็นฝ้ายเส้นใยสีเขียวพันธุ์แรกของไทย แนะนำให้ใช้อัตราประชากร ที่เหมาะสม 2_650 ต้นต่อไร่ หรือ ใช้ระยะปลูก 1.25×0.50 เมตร ใส่ปุ๋ยอัตรา 8-16-8 กิโลกรัมต่อไร่ ของ N-P2O5-K2O ซึ่งเหมาะสมและให้กำไรสูงสุด ในชุดดินวังไฮ สำหรับการป้องกันกำจัดเพลี้ยจักจั่น ให้พ่นสารเคมีป้องกันกำจัดแมลงศัตรูฝ้ายเฉพาะที่ฝ้ายอายุ 50-100 วัน หรือ เมื่อมีปริมาณเพลี้ยจักจั่น ถึงระดับเศรษฐกิจ และแนะนำให้เก็บเกี่ยวฝ้ายพันธุ์นี้ ทุก 5 และ 10 วันหลังจากสมอเริ่มแตก เพื่อให้ได้เส้นใยที่มีสีเขียวเข้มที่สุด

3. ตากฟ้า 6

ฝ้ายเส้นใยสีน้ำตาลพันธุ์แรกของไทย ความยาวเส้นใยปานกลาง 1.09 นิ้ว และมีความละเอียดอ่อนของเส้นใยสูง 2.7 เมื่อนำไปทอจะได้เนื้อผ้าที่มีความนิ่ม สบาย ให้ผลผลิตเฉลี่ย 177 กิโลกรัมต่อไร่ และปลูกได้ในแหล่งผลิตฝ้ายของไทย มุ่งเน้นความเป็นเส้นใยธรรมชาติที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมีสีน้ำตาลตามธรรมชาติ โดยไม่ต้องใช้สารเคมีในการฟอกย้อม เพื่อให้ลด ต้นทุนแรงงาน ลดขั้นตอน และเวลาในการฟอกย้อมสี อีกทั้งยังปลอดภัยต่อผู้ผลิต ผู้ใช้ และลดมลภาวะน้ำเสียที่เกิดจากการฟอกย้อม

เทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม ในการผลิตฝ้ายตากฟ้า 6 ที่ปลูกในดินร่วนเหนียว ชุดดินวังไฮ ควรใช้อัตราประชากร 3_200 ต้นต่อไร่ โดยใช้ระยะปลูกระหว่างแถว 1.0 เมตร ระหว่างต้น 0.5 เมตร หรือ อัตราประชากร 2_560 ต้นต่อไร่ โดยใช้ระยะปลูกระหว่างแถว 1.25 เมตร ระหว่างต้น 0.5 เมตร ใส่ปุ๋ยเคมีรองพื้นเกรด 15-15-15 อัตรา 15 กิโลกรัมต่อไร่ และเมื่อฝ้ายอายุ 30 วัน ใส่ปุ๋ยเคมี 46-0-0 อัตรา 15 กิโลกรัมต่อไร่

เทคโนโลยีการผลิตฝ้ายอินทรีย์

ซึ่งเป็นอีกเทคโนโลยีหนึ่งที่เพิ่มมูลค่าของผลผลิตฝ้าย เนื่องจากลดการใช้สารเคมี สร้างผลผลิตและสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยจากสารเคมีปนเปื้อนในการผลิตฝ้าย โดยสามารถเลือกใช้การปรับปรุงดินจาก 4 วิธี คือ การใช้ปอเทืองหว่านแล้วไถกลบเมื่ออายุ 2 เดือน หรือใช้ปอเทืองร่วมกับปุ๋ยหมักแห้ง 3 ตันต่อไร่ หรือใช้ปอเทืองร่วมกับโบกาชิ 200 กิโลกรัมต่อไร่ หรือใช้ปอเทืองร่วมกับปุ๋ยหมัก 3 ตันต่อไร่และใส่โบกาชิ 200 กิโลกรัมต่อไร่เมื่ออายุ 1 เดือน แต่กรรมวิธีที่ให้ค่า BCR ต่ำกว่ากรรมวิธีอื่นหรือคุ้มค่ามากกว่า คือ ใช้ปอเทืองอย่างเดียว หรือใช้โบกาชิ 200 กิโลกรัมต่อไร่อย่างเดียว (ค่า BCR เท่ากับ 1.26 และ 1.40 ในพันธุ์ตากฟ้า 86-5 และ ตากฟ้า 6 ตามลำดับ และพันธุ์ฝ้ายทั้งสองพันธุ์นี้สามารถปลูกในระบบอินทรีย์ได้ ส่วนการควบคุมแมลงศัตรูพืช สามารถพ่นน้ำหมักชีวภาพจากผลไม้และจากสมุนไพร (อัตราส่วนน้ำหมัก : น้ำ 1 : 200) ตั้งแต่ฝ้ายอายุ 15-100 วันหลังงอก ช่วงฤดูปลูกปลายฝนสำหรับภาคเหนือ (จังหวัดเชียงใหม่) สามารถปลูกได้ตั้งแต่ปลายเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม และมีโอกาสพบกับความแปรปรวนของฝนได้ตลอดฤดูปลูก

4. ตากฟ้า 7

ฝ้ายพันธุ์รับรองล่าสุดของกรมวิชาการเกษตร ตากฟ้า 7 เป็นฝ้ายใบขน ผลผลิตฝ้ายปุยทั้งเมล็ด เฉลี่ย 196 กิโลกรัมต่อไร่ ทนทานต่อเพลี้ยจักจั่น และต้านทานต่อโรคใบหงิกในสภาพการปลูกแบบปลอดการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดแมลงศัตรูฝ้าย ตลอดจนมีเปอร์เซ็นต์หีบ 36.6 % คุณภาพเส้นใยยาวปานกลาง โดยกลุ่มเส้นใยมีความยาว 1.02 นิ้ว ความเหนียว 16.6 กรัมต่อเท็กซ์ ความละเอียดอ่อน 4.4 และความสม่ำเสมอ 58 อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 120-189 วัน สามารถปลูกได้ในแหล่งผลิตฝ้ายของประเทศไทย เป็นทางเลือกให้เกษตรกรใช้ปลูกในพื้นที่ขนาดเล็ก (น้อยกว่า 1 ไร่) ในสภาพปลอดการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดโรคและแมลง รองรับแนวความคิดในการผลิตฝ้ายที่ปลอดภัยต่อสุขภาพผู้ผลิต ผู้บริโภค จากศักยภาพของพันธุ์ สามารถที่จะก่อให้เกิดการพัฒนาต่อเนื่องในการผลิตฝ้ายอินทรีย์ เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิต และรองรับกระแสความต้องการของผู้บริโภคที่มีกำลังซื้อสูง (niche market)

คำแนะนำการจัดการปุ๋ย ในการผลิตฝ้ายพันธุ์ตากฟ้า 7 ที่ปลูกในดินร่วนเหนียวชุดดินวังไฮ ควรใช้อัตราประชากร 3_200 ต้นต่อไร่ (ระยะระหว่างแถว 1.0 เมตร ระหว่างต้น 0.5 เมตร) หรือ อัตราประชากร 1_828 ต้นต่อไร่ (ระยะระหว่างแถว 1.75 เมตร ระหว่างต้น 0.5 เมตร) ใส่ปุ๋ยรองพื้นสูตร 8-24-24 อัตรา 33 กิโลกรัมต่อไร่ และใส่ปุ๋ย 21-0-0 อัตรา 7 กิโลกรัมต่อไร่เมื่อฝ้ายอายุ 30 วัน

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น FK-1 เพื่อ บำรุง ส่งเสริมการเจริญเติบโต ของ ฝ้าย
การกำจัดวัชพืชในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
การกำจัดวัชพืชในข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
วัชพืชที่ขึ้นในแปลงข้าวโพดมีทั้งวัชพืชฤดูเดียวและวัชพืชข้ามปี

วัชพืชฤดูเดียว เป็นวัชพืชที่ครบวงจรชีวิตภายในฤดูเดียว ส่วนมากขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด

ประเภทใบแคบ เช่น หญ้าตีนกา หญ้านกสีชมพู หญ้าตีนนก หญ้าปากควาย หญ้าขจรจบดอกใหญ่ หญ้าขจรจบดอกเล็ก หญ้าโขย่ง และหญ้าดอกขาว เป็นต้น
ประเภทใบกว้าง เช่น ผักโขม ผักบุ้งยาง ผักเบี้ยหิน ผักเบี้ยใหญ่ สะอึก เทียนนา และกะเม็ง เป็นต้น
ประเภทกก เช่น กกทราย
วัชพืชข้ามปี เป็นวัชพืชที่ส่วนมากขยายพันธุ์ด้วยต้น ราก เหง้า หัว และไหล ได้ดีกว่าขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด

ประเภทใบแคบ เช่น หญ้าตีนติด หญ้าแพรก และหญ้าชันกาด เป็นต้น
ประเภทใบกว้าง เช่น สาบเสือ และเถาตอเชือก เป็นต้น
ประเภทกก เช่น แห้วหมู
การป้องกันกำจัด
– ไถ 1 ครั้ง ตากดิน 7-10 วัน พรวน 1 ครั้ง แล้วคราดเก็บเศษซาก ราก เหง้า หัวและไหลของวัชพืชข้ามปี ออกจากแปลง
– กำจัดวัชพืชระหว่างแถวปลูกด้วยแรงงานหรือเครื่องจักรกล เมื่อข้าวโพดอายุ 20-25 วันก่อนใส่ปุ๋ย
– ในกรณีที่กำจัดวัชพืชด้วยแรงงานหรือเครื่องจักรกลไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอควรใช้สารกำจัดวัชพืช

ที่มา http://www.farmkaset..link..
ยาป้องกัน กำจัด หนอน ออกฤทธิ์กับหนอนทุกชนิด ใช้ได้ทุกพืช ไอกี้-บีที + FK ธรรมชาตินิยม บำรุง ฟื้นตัว แข็งแรง ออกดอก ติดผล
ยาป้องกัน กำจัด หนอน ออกฤทธิ์กับหนอนทุกชนิด ใช้ได้ทุกพืช ไอกี้-บีที + FK ธรรมชาตินิยม บำรุง ฟื้นตัว แข็งแรง ออกดอก ติดผล
หนอนตายใน 24-48 ชม. ปลอดภัยต่อคน และสัตว์เลี้ยง หนอนตาย เพราะ ปรับตัวไม่ทัน เมื่อพบกับชีวภัณฑ์ แบคทีเรียสองสายพันธุ์ Kustaki และ Aizawai ออกฤทธิ์ทำลายหนอนพร้อมกัน ทำให้ตายใน 24-48 ชั่วโมง ตายช้ากว่ายาเคมี แต่ตายยกรัง เนื่องจากหนอนที่รับ บีที เข้าไป กลับไปตายรัง และพวกเดียวกันกินกินซาก จึงตายต่อกัน เนื่องจาก บีที เป็น ชีวภัณฑ์ ที่ขยายตัวตกผลึกในท้องหนอน และออกฤทธิ์เฉพาะกับหนอนเท่านั้น

กำจัดหนอน ด้วย ไอกี้-บีที ปลอดภัยแน่นอน เพราะ บีที ไม่ออกฤทธิ์ กับ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม คนและสัตว์เลี้ยง จึงปลอดภัย 100%

#ยาฆ่าหนอน #ยากำจัดหนอน #หนอนแดง #หนอนชมพู่ #หนอนฝรั่ง #หนอนพุทรา #หนอนเจาะสมอฝ้าย #ยาอินทรีย์ฆ่าหนอน #ยาอินทรีย์กำจัดหนอน #ยาฆ่าหนอนชอนใบ #หนอนชอนใบ #หนอนชอนใบส้ม #หนอนชอนใบมะนาว

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอกี้-บีที + FK ธรรมชาตินิยม : http://www.farmkaset..link..
ไอกี้-บีที อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK ธรรมชาตินิยม อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอกี้-บีที + FK ธรรมชาตินิยม : http://www.farmkaset..link..
ไอกี้-บีที อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

FK ธรรมชาตินิยม http://www.farmkaset..link..

ข้อมูลและอัตราผสมใช้

🐛 ไอกี้-บีที อัตตราส่วน 30-50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🌿 FK ธรรมชาตินิยม อัตราส่วน 30-50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอกี้-บีที ได้เลย

🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🐛 ข้อมูลจำเพาะ ไอกี้-บีที

ใช้แก้ปัญหา : โรคหนอนกออ้อย หนอนกอในนาข้าว หนอนห่อใบข้าว หนอนม้วนใบ หนอนทรายในสวนยางพารา หนอนชักใยปาล์มน้ำมัน หนอนปลอกใหญ่ หนอนเจาะฝักข้าวโพด หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด

ประกอบด้วยจุลินทรีย์สายพันธ์ บีที (BT) ที่มีประสิทธิภาพสูง คือ Bacillus thuringiensis var. aizawai และ Bacillus thuringi
ฆ่าหนอน กำจัดหนอน ปลอดสารพิษ

ไอกี้-บีที บีที
ชื่อสามัญ : บาซิลลัส ทูริงเยนซิส [ Bacillus truringiensis ] กลุ่มสารเคมี : Bacterium
สารสำคัญ : Bacillus thuringiensis var. kurstaki

นำหนักสุทธิ : 500 กรัม

ฆ่าหนอน กำจัดหนอนแมลงศัตรูพืชด้วยสารชีวินทรีย์ประสิทธิภาพสูง เอนไซม์สกัด บีที เพิ่มศักยภาพในการกำจัดแมลงศัตรูพืชให้กับเกษตรกร โดยการรวมประสิทธิภาพการกำจัดแมลงของเชื้อ Bacillus thuringiensis 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ Kustaki และ Aizawai เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อเพิ่มการปลดปล่อยสารพิษในการทำลายแมลงศัตรูพืช ด้วยการสร้างสารพิษผลึกโปรตีน delta-endotoxins ที่มีอยู่ในเชื้อ Bacillus thuringiensis เมื่อแมลงศัตรูพืชได้รับสารพิษนี้เข้าไป จะทำให้เกิดพิษในกระเพาะอาหารเป็นอัมพาต ลำตัวเหี่ยวแห้ง และตายภายในเวลา 24-48 ชั่วโมง โดยไม่เป็นอันตราต่อสิ่งแวดล้อม แมลงศัตูธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ รวมทั้งปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK ธรรมชาตินิยม

FK ธรรมชาตินิยม ฟื้นฟู โตไว แข็งแรง ออกดอก ติดผล ใช้ได้ในที่พักอาศัย ปลอดภัย ไม้ดอก ไม้ประดับ พืชผักสวนครัว พืชไร่ พืชสวน

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน
ยาแก้โรคสนิมขาว โรคราขาวในผักบุ้ง ยากำจัดหนอนผักบุ้ง ยากำจัดเพลี้ยผักบุ้ง และปุ๋ยเร่งโต สำหรับผักบุ้ง
ยาแก้โรคสนิมขาว โรคราขาวในผักบุ้ง ยากำจัดหนอนผักบุ้ง ยากำจัดเพลี้ยผักบุ้ง และปุ๋ยเร่งโต สำหรับผักบุ้ง
เพลี้ยอ่อนผักบุ้ง

ชื่อวิทยาศาสตร์ Aphis gossypii (Aphidiae) เพลี้ยอ่อนจะเข้าดูดกินน้ำเลี้ยง ทำให้ผลผลิตผักบุ้งเสียหาย ตัวอ่อนมีสีเขียวเข้ม บางครั้งพบตัวอ่อนสีเหลืองซีด หากพบใต้ใบหนาแน่น

ป้องกัน กำจัดเพลี้ยอ่อนผักบุ้ง ด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนผีเสื้อหัวกะโหลก

ชื่อวิทยาศาสตร์ Acherontia lachesis (Sphingidae) หนอนผีเสื้อจะกัดกินใบผักบุ้ง จนเกิดความเสียหาย ลักษณะตัวหนอน จมีสีเขียวแถบเหลือง ของฟ้า โตเต็มวัย ยาวประมาณ 10-12 ซม.

ป้องกัน กำจัดหนอนในผักบุ้ง กำจัดหนอนต่างๆ ด้วย ไอกี้-บีที

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

โรคราสนิมขาว ในผักบุ้ง

โรคราสนิมขาว สร้างความเสียหายให้กับผักบุ้ง ทั้งผักบุ้งไทย และผักบุ้งจีน สามารถพบโรคนี้ได้ทั่วไป

อาการของโรคราสนิมขาว จะเกิดจุดเหลืองซีด บริเวณใบผักบุ้ง หลังจากนั้นจะเริ่มเป็นแผลสีขาว อยู่รวมกันเป็นกระจุก ส่งผลให้ผักบุ้งโตช้า ได้ผลผลิตน้อย และดูไม่สวยงาม ไม่น่าทาน ทำให้ขายยาก ราคาตก

สาเหตุของโรคราสนิมขาว

เกิดจากเชื้อรา Albugo ipomoeae-aquaticae ซึ่งสามารถเจริญเติบโตได้ดี หรือลุกลามเข้าทำลายได้มาก ในช่วงอุณหภูมิ 10-35 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภมิทั่วไปของไทย

ป้องกัน กำจัดโรคราสนิมขาว ในผักบุ้ง ยับยั้งโรคผักบุ้งต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ด้วย ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งโต ฉีดพ่นด้วย FK-1 ช่วยให้พืชโตไว ได้ผลผลิตสูงขึ้น

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

มันสำปะหลังผลผลิตต่ำ! เพราะขาดธาตุ สังกะสี เพราะเกี่ยวข้องกับการสร้าง คลอโรฟิลล์ สังเคราะห์โปรตีน ส่งเสริมการใช้ฟอสฟอรัส และไนโตรเจน ฯลฯ
มันสำปะหลังผลผลิตต่ำ! เพราะขาดธาตุ สังกะสี เพราะเกี่ยวข้องกับการสร้าง คลอโรฟิลล์ สังเคราะห์โปรตีน ส่งเสริมการใช้ฟอสฟอรัส และไนโตรเจน ฯลฯ
มันสำปะหลังผลผลิตต่ำ! เพราะขาดธาตุ สังกะสี เพราะเกี่ยวข้องกับการสร้าง คลอโรฟิลล์ สังเคราะห์โปรตีน ส่งเสริมการใช้ฟอสฟอรัส และไนโตรเจน ฯลฯ
ปัญหาผลผลิตมันสำปะหลังต่ำ เนื่องจากขาดจุลธาตุสังกะสี

ธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช มีอยู่ 16 ธาตุ แต่มีเพียง 7 ธาตุ เท่านั้นที่พืชต้องการใช้ในปริมาณน้อยมาก และเราเรียกธาตุเหล่านี้ว่า จุลธาตุ (Micronutrient) ได้แก่ เหล็ก (Fe) แมงกานีส (Mn) สังกะสี (Zn) ทองแดง (Cu) โบรอน (B) โมลิดินัม (Mo) คลอรีน (Cl) แม้ว่าพืชต้องการธาตุเหล่านี้น้อย แต่ก็มีความจำเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขาดสังกะสีในมันสำปะหลัง ซึ่งในปัจจุบันเป็นปัญหาของเกษตรกรจำนวนมาก

ความสำคัญของธาตุสังกะสี

เป็นส่วนประกอบที่จำเป็นของเอนไซม์หลายชนิด รวมทั้งออกซิเจนและฮอร์โมนในพืช เกี่ยวข้องกับกระบวนการสร้างกรดอินโดลอะเซติก (LAA) เป็นธาตุที่จำเป็นต่อการสร้างคลอโรฟิลล์ และการสร้างเมล็ดพืช ตลอดจนมีบทบาทในการสังเคราะห์โปรตีน ช่วยส่งเสริมการใช้ประโยชน์ของธาตุฟอสฟอรัสและไนโตรเจนในพืช

ลักษณะอาการขาดธาตุสังกะสีในมันสำปะหลัง

พบเห็นโดยทั่วไปในดินด่าง จะมีลักษณะการยืดต้นช้า พบจุดหรือแถบสีขาว หรือเหลือง บนใบอ่อน ใบอาจย่นหรือเปลี่ยนรูปร่าง อาจพบจุดแผลเซลล์ตายในใบล่างและอาจรุนแรงทำให้ต้นตาย ส่งผลถึงความอยู่รอดและผลผลิตมันสำปะหลัง

สาเหตุ

- พื้นที่มีการชะล้างพังทลายของหน้าดิน ความอุดมสมบูรณ์ต่ำ

- ปลูกมันสำปะหลังในที่เดิมเป็นเวลานาน ไม่มีการปลูกพืชหมุนเวียน

- ดินมีความเป็นด่างสูง (pH สูง) หรือดินที่มีแคลเซียม (Ca) สูง

- เกษตรกรใส่ปุ๋ยธาตุอาหารหลักอย่างเดียว


ข้อแนะนำ

1. ชุบท่อนพันธุ์ด้วยปุ๋ยสังกะสี (ซิงค์ ซัลเฟต) ละลายน้ำในอัตรา 0.4 กก. ต่อน้ำ 20 ลิตร เป็นเวลา 15 นาทีก่อนปลูก

2. ปุ๋ยสังกะสี (ซิงค์ ซัลเฟต) ละลายน้ำอัตรา 0.8 กก. ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบที่อายุ 1_2 และ 3 เดือนหลังปลูก หรือเมื่อต้นมันสำปะหลังแสดงอาการขาดธาตุสังกะสี

อ้างอิง
มูลนิธิสถาบัน พัฒนามันสำปะหลัง แห่งประเทศไทย
kubotasolutions.com/ knowledge/cassava/detail/348

สินค้าแนะนำจากฟาร์มเกษตร

กู๊ดโซค น้ำยาแช่ท่อนพันธุมันสำปะหลัง เร่งราก ป้องกันโรค สะสมอาหารไว้ในท่อนพันธุ์ เพื่อใช้ในระยะงอก อัตราส่วนการใช้ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ใช้ จุ่มท่อนพันธุ์มันสำปะหลังก่อนปลูก

FK-1 (มีธาตุ สังกะสีและอื่นๆ) ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
ยาป้องกัน กำจัด หนอนพุทรา หนอนชมพู่ หนอนฝรั่ง หนอนทุกชนิด ใช้ได้ทุกพืช ไอกี้-บีที + FK-1 บำรุง ฟื้นตัว สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
ยาป้องกัน กำจัด หนอนพุทรา หนอนชมพู่ หนอนฝรั่ง หนอนทุกชนิด ใช้ได้ทุกพืช ไอกี้-บีที + FK-1 บำรุง ฟื้นตัว สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
หนอนตาย เพราะ ปรับตัวไม่ทัน เมื่อพบกับชีวภัณฑ์ แบคทีเรียสองสายพันธุ์ Kustaki และ Aizawai ออกฤทธิ์ทำลายหนอนพร้อมกัน ทำให้ตายใน 24-48 ชั่วโมง ตายช้ากว่ายาเคมี แต่ตายยกรัง เนื่องจากหนอนที่รับ บีที เข้าไป กลับไปตายรัง และพวกเดียวกันกินกินซาก จึงตายต่อกัน เนื่องจาก บีที เป็น ชีวภัณฑ์ ที่ขยายตัวตกผลึกในท้องหนอน และออกฤทธิ์เฉพาะกับหนอนเท่านั้น

หนอนแดง (Fruit boring caterpillar; Meridarchis scyrodes Meyrich)

เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็ก วางไข่บนดอก และผล ของ ชมพู่ พุทรา ฝรั่ง หนอนแดง เจาะกินดอกและผล ทำให้ดอกร่วง ติดผลน้อย หรือไม่ติดผลเลย หากเข้าทำลายในระยะผล จะทำให้ผลร่วงก่อนเก็บเกี่ยว หนอนจะกัดกินเนื้อภายในผล และขับถ่ายไว้เป็นเม็ดดำกลมๆ ทำให้ผลเน่าได้

หนอนแดง (Fruit boring caterpillar) เป็นศัตรูสำคัญของผลไม้หลายชนิด หนอนแดงชมพู่ หนอนแดงฝรั่ง หนอนแดงพุทรา

กำจัดหนอน ด้วย ไอกี้-บีที ปลอดภัยแน่นอน เพราะ บีที ไม่ออกฤทธิ์ กับ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม คนและสัตว์เลี้ยง จึงปลอดภัย 100%

#ยาฆ่าหนอน #ยากำจัดหนอน #หนอนแดง #หนอนชมพู่ #หนอนฝรั่ง #หนอนพุทรา #หนอนเจาะสมอฝ้าย #ยาอินทรีย์ฆ่าหนอน #ยาอินทรีย์กำจัดหนอน #ยาฆ่าหนอนชอนใบ #หนอนชอนใบ #หนอนชอนใบส้ม #หนอนชอนใบมะนาว

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอกี้-บีที และ FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอกี้-บีที อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอกี้-บีที และ FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอกี้-บีที อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..


ข้อมูลและอัตราผสมใช้

🐛 ไอกี้-บีที อัตตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 1ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอกี้-บีที ได้เลย

🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🐛 ข้อมูลจำเพาะ ไอกี้-บีที

ใช้แก้ปัญหา : โรคหนอนกออ้อย หนอนกอในนาข้าว หนอนห่อใบข้าว หนอนม้วนใบ หนอนทรายในสวนยางพารา หนอนชักใยปาล์มน้ำมัน หนอนปลอกใหญ่ หนอนเจาะฝักข้าวโพด หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด

ประกอบด้วยจุลินทรีย์สายพันธ์ บีที (BT) ที่มีประสิทธิภาพสูง คือ Bacillus thuringiensis var. aizawai และ Bacillus thuringi
ฆ่าหนอน กำจัดหนอน ปลอดสารพิษ

ไอกี้-บีที บีที
ชื่อสามัญ : บาซิลลัส ทูริงเยนซิส [ Bacillus truringiensis ] กลุ่มสารเคมี : Bacterium
สารสำคัญ : Bacillus thuringiensis var. kurstaki

นำหนักสุทธิ : 500 กรัม

ฆ่าหนอน กำจัดหนอนแมลงศัตรูพืชด้วยสารชีวินทรีย์ประสิทธิภาพสูง เอนไซม์สกัด บีที เพิ่มศักยภาพในการกำจัดแมลงศัตรูพืชให้กับเกษตรกร โดยการรวมประสิทธิภาพการกำจัดแมลงของเชื้อ Bacillus thuringiensis 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ Kustaki และ Aizawai เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อเพิ่มการปลดปล่อยสารพิษในการทำลายแมลงศัตรูพืช ด้วยการสร้างสารพิษผลึกโปรตีน delta-endotoxins ที่มีอยู่ในเชื้อ Bacillus thuringiensis เมื่อแมลงศัตรูพืชได้รับสารพิษนี้เข้าไป จะทำให้เกิดพิษในกระเพาะอาหารเป็นอัมพาต ลำตัวเหี่ยวแห้ง และตายภายในเวลา 24-48 ชั่วโมง โดยไม่เป็นอันตราต่อสิ่งแวดล้อม แมลงศัตูธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ รวมทั้งปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
ยาป้องกัน กำจัด หนอน หนอนทุกชนิด ใช้ได้ทุกพืช ไอกี้-บีที + FK-1 บำรุง ฟื้นตัว สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
ยาป้องกัน กำจัด หนอน หนอนทุกชนิด ใช้ได้ทุกพืช ไอกี้-บีที + FK-1 บำรุง ฟื้นตัว สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
หนอนตาย เพราะ ปรับตัวไม่ทัน เมื่อพบกับชีวภัณฑ์ แบคทีเรียสองสายพันธุ์ Kustaki และ Aizawai ออกฤทธิ์ทำลายหนอนพร้อมกัน ทำให้ตายใน 24-48 ชั่วโมง ตายช้ากว่ายาเคมี แต่ตายยกรัง เนื่องจากหนอนที่รับ บีที เข้าไป กลับไปตายรัง และพวกเดียวกันกินกินซาก จึงตายต่อกัน เนื่องจาก บีที เป็น ชีวภัณฑ์ ที่ขยายตัวตกผลึกในท้องหนอน และออกฤทธิ์เฉพาะกับหนอนเท่านั้น

หนอนชอนใบ เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืน มีขนาดเล็กมาก ลำตัวสีหม่น ปีกขาวนวล เพศเมียจะวางไข่หลังผสมพันธุ์ใน 24 ชั่วโมง ที่เส้นใต้ใบพืช ในเวลาไม่เกิน 3 วัน หลังจากฟักออก จะเป็นตัวหนอน กัดกิน ชอนไชอยู่ระหว่างผิวใบพืช รอยการทำลายจะอยู่ด้านใต้ใบ มากกว่าด้านบนใบ สังเกตุได้ง่าย จะเห็นใบพืช เป็นลาย เป็นเส้นทางคดเคี้ยวไปมา

หากระบาดมาก หนอนจะเจาะเข้าทำลายกิ่งอ่อน และผลอ่อนของพืชด้วย

กำจัดหนอน ด้วย ไอกี้-บีที ปลอดภัยแน่นอน เพราะ บีที ไม่ออกฤทธิ์ กับ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม คนและสัตว์เลี้ยง จึงปลอดภัย 100%

#ยาฆ่าหนอน #ยากำจัดหนอน #หนอนเจาะสมอฝ้าย #ยาอินทรีย์ฆ่าหนอน #ยาอินทรีย์กำจัดหนอน #ยาฆ่าหนอนชอนใบ #หนอนชอนใบ #หนอนชอนใบส้ม #หนอนชอนใบมะนาว

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอกี้-บีที และ FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอกี้-บีที อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอกี้-บีที และ FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอกี้-บีที อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..


ข้อมูลและอัตราผสมใช้

🐛 ไอกี้-บีที อัตตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 1ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอกี้-บีที ได้เลย

🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🐛 ข้อมูลจำเพาะ ไอกี้-บีที

ใช้แก้ปัญหา : โรคหนอนกออ้อย หนอนกอในนาข้าว หนอนห่อใบข้าว หนอนม้วนใบ หนอนทรายในสวนยางพารา หนอนชักใยปาล์มน้ำมัน หนอนปลอกใหญ่ หนอนเจาะฝักข้าวโพด หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด

ประกอบด้วยจุลินทรีย์สายพันธ์ บีที (BT) ที่มีประสิทธิภาพสูง คือ Bacillus thuringiensis var. aizawai และ Bacillus thuringi
ฆ่าหนอน กำจัดหนอน ปลอดสารพิษ

ไอกี้-บีที บีที
ชื่อสามัญ : บาซิลลัส ทูริงเยนซิส [ Bacillus truringiensis ] กลุ่มสารเคมี : Bacterium
สารสำคัญ : Bacillus thuringiensis var. kurstaki

นำหนักสุทธิ : 500 กรัม

ฆ่าหนอน กำจัดหนอนแมลงศัตรูพืชด้วยสารชีวินทรีย์ประสิทธิภาพสูง เอนไซม์สกัด บีที เพิ่มศักยภาพในการกำจัดแมลงศัตรูพืชให้กับเกษตรกร โดยการรวมประสิทธิภาพการกำจัดแมลงของเชื้อ Bacillus thuringiensis 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ Kustaki และ Aizawai เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อเพิ่มการปลดปล่อยสารพิษในการทำลายแมลงศัตรูพืช ด้วยการสร้างสารพิษผลึกโปรตีน delta-endotoxins ที่มีอยู่ในเชื้อ Bacillus thuringiensis เมื่อแมลงศัตรูพืชได้รับสารพิษนี้เข้าไป จะทำให้เกิดพิษในกระเพาะอาหารเป็นอัมพาต ลำตัวเหี่ยวแห้ง และตายภายในเวลา 24-48 ชั่วโมง โดยไม่เป็นอันตราต่อสิ่งแวดล้อม แมลงศัตูธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ รวมทั้งปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
ธาตุอาหารพืช
ธาตุอาหารพืช
พืชเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวที่สามารถสร้างอาหารได้เอง คนและสัตว์ และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ต้องกินพืชเป็นอาหาร ถ้าปราศจากพืช สิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ ไม่สามารถอยู่ได้

พืชมีความต้องการธาตุอาหารเพื่อดำรงชีวิต เช่นเดียวกับมนุษย์และสัตว์ พืชสร้างอาหารโดยการนำธาตุต่างๆ ที่มีอยู่ในน้ำ อากาศ และในดิน มาผ่านกระบวนการสังเคราะห์แสงที่ใบจะได้น้ำตาล แล้วพืชจะนำไปรวมกับแร่ธาตุชนิดอื่น ๆ ที่ดูดขึ้นมาจากดิน เพื่อสร้างแป้ง โปรตีน ไขมัน เอนไซม์ ฮอร์โมน ฯลฯ สำหรับใช้ในการเจริญเติบโตต่อไป (สมกับคำที่ว่าชีวิตเกิดจากดิน น้ำ ลม ไฟ)

จากการที่พืชดูดใช้ธาตุอาหารทั้งที่อยู่ในอากาศ ในน้ำ และในดิน เมื่อนำเนื้อเยื่อพืชไปวิเคราะห์ พบธาตุชนิดต่าง ๆ ถึง 92 ชนิด แต่มีความสำคัญและจำเป็นเพียง 17 ชนิด ที่ถูกจัดเป็นธาตุอาหารพืช จากคุณสมบัติที่สำคัญ ดังนี้ 1) พืชจะขาดไม่ได้ ถ้าขาดพืชจะตาย หรือเจริญไม่ครบชีพจักร 2) แต่ละธาตุทำหน้าที่เฉพาะในการเจริญเติบโตของพืช 3) แต่ละธาตุไม่สามารถทำหน้าที่ทดแทนกันได้

ธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชมี 17 ชนิด โดย 3 ชนิด พืชได้รับมาจากน้ำ และอากาศ ประกอบด้วยคาร์บอน (C) พืชได้จากคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ ไฮโดรเจน (H) และ ออกซิเจน (O) พืชได้จากน้ำ ส่วนที่เหลืออีก 14 ชนิด เป็นแร่ธาตุที่อยู่ในดิน แบ่งตามความต้องการของพืชได้ดังนี้

1) ธาตุอาหารหลัก เป็นธาตุที่พืชต้องการในปริมาณมาก และดินมักจะขาด หรือมีไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช ประกอบด้วย ไนโตรเจน (N_ เอ็น) ฟอสฟอรัส (P_ พี) โพแทสเซียม (K_ เค) ในการปลูกพืชถ้าดินขาด เราต้องเติมธาตุอาหารในรูปของปุ๋ย ซึ่งประกอบด้วยธาตุอาหาร 3 ตัวนี้เป็นหลัก

2) ธาตุอาหารรอง เป็นธาตุที่พืชใช้ในปริมาณน้อยกว่าธาตุอาหารหลัก ประกอบด้วย แคลเซ๊ยม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) กำมะถัน (S) ดินส่วนใหญ่ยังไม่ขาด

3) จุลธาตุ เป็นธาตุอาหารที่พืชต้องการในปริมาณน้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับธาตุอาหารหลัก และธาตุอาหารรอง แต่พืชจะขาดไม่ได้เช่นกัน ประกอบด้วย เหล็ก (Fe) แมงกานีส (Mn) สังกะสี (Zn) ทองแดง (Cu) คลอรีน (Cl) โบรอน โมลิบดินัม (Mo) และนิเกิล (Ni)

เมื่อนำชิ้นส่วนของพืชไปวิเคราะห์ พบว่า 95 % ของน้ำหนักแห้ง ประกอบด้วย คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ซึ่งพืชได้รับมาฟรีๆ จากน้ำและอากาศ ส่วนที่เหลืออีกเพียง 5 % เป็นแร่ธาตุที่เหลือ 14 ชนิด ที่ได้มาจากดิน ยกตัวอย่างเช่น ในผลผลิตข้าว 1_000 กก./ไร่ พบว่า เป็นส่วนของคาร์บอน ออกซิเจน และ ไฮโดรเจน ถึง 950 กก. ที่เหลืออีกเพียง 50 กก. ที่เป็นส่วนของแร่ธาตุที่อยู่ในดิน ซึ่งถ้าดินขาด เราจะเติมให้พืชในรูปของปุ๋ย (ให้สังเกตพืชที่โตในป่า บนเขา ตามข้างถนน ไม่เคยถูกใส่ปุ๋ย แต่ทำไมพืชเจริญเติบโตได้ดี เพราะ 95 % มาจากน้ำและอากาศ 5 % มาจากดิน พืชดูดขึ้นไปใช้ ใบแก่ร่วงลงดิน แล้วย่อยสลายกลับมาเป็นอาหารพืชใหม่ แต่ข้าวในนาธาตุอาหารติดออกไปกับเมล็ด และสูญเสียไปกับการเผาฟาง)

ในส่วนของธาตุอาหารที่พืชดูดใช้จากดิน (5 %) เมื่อนำชิ้นส่วนพืชไปวิเคราะห์ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นธาตุไนโตรเจน 1.5 % ฟอสฟอรัส 0.1-0.4 % โพแทสเซียม 1-5 % กำมะถัน 0.1-0.4 % แคลเซียม 0.2-1 % และแมกนีเซียม 0.1-0.4 % ส่วนที่เหลือ คือ เหล็ก โบรอน แมงกานีส สังกะสี ทองแดง โมลิบดินัม คลอรีน และนิเกิล พืชมีความต้องการน้อยมาก (แต่ขาดไม่ได้) เช่น ความต้องการไนโตรเจนกับโมลิบดินัมต่างกัน 10_000 เท่า พืชต้องการแมกนีเซียมมากกว่าเหล็ก 40 เท่า เป็นต้น ดังนั้นคำแนะนำปุ๋ยในปัจจุบันจึงเน้นให้ใส่เฉพาะไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมก่อน เพราะพืชต้องการมากและมีผลกระทบต่อผลผลิตมากกว่าตัวอื่น (ในบรรดาธาตุอาหารที่ได้จากดิน) และดินส่วนใหญ่มักจะขาด ส่วนธาตุอาหารชนิดอื่น ๆ พืชต้องการน้อย และดินส่วนใหญ่ยังไม่ขาด (แต่หลายพื้นที่เริ่มขาดแล้ว)

จะเห็นได้ว่าในการปลูกพืช เราต้องใส่ธาตุอาหารให้พืชอย่างมากที่สุดเพียง 5 % จากที่พืชต้องใช้ทั้งหมด แต่ปัจจุบันเราใส่ปุ๋ยตามความต้องการของพืช หรือว่า ใส่ตามความต้องการของเราเอง ?

โดย วีรวัฒน์ นิลรัตนคุณ
อดีตผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการผลิตพืชที่เหมาะสมกับพื้นที่ ภาคเหนือตอน​ล่าง
สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 กรมวิชาการเกษตร

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุอาหารพืชโดยตรง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม สารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช เสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรค และแมลง
2122 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 212 หน้า, หน้าที่ 213 มี 2 รายการ
|-Page 197 of 213-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 | 118 | 119 | 120 | 121 | 122 | 123 | 124 | 125 | 126 | 127 | 128 | 129 | 130 | 131 | 132 | 133 | 134 | 135 | 136 | 137 | 138 | 139 | 140 | 141 | 142 | 143 | 144 | 145 | 146 | 147 | 148 | 149 | 150 | 151 | 152 | 153 | 154 | 155 | 156 | 157 | 158 | 159 | 160 | 161 | 162 | 163 | 164 | 165 | 166 | 167 | 168 | 169 | 170 | 171 | 172 | 173 | 174 | 175 | 176 | 177 | 178 | 179 | 180 | 181 | 182 | 183 | 184 | 185 | 186 | 187 | 188 | 189 | 190 | 191 | 192 | 193 | 194 | 195 | 196 | 197 | 198 | 199 | 200 | 201 | 202 | 203 | 204 | 205 | 206 | 207 | 208 | 209 | 210 | 211 | 212 | 213 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดเพลี้ย มาคา แก้ปัญหา เพลี้ย และแมลงปากดูดต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/03/07 12:32:03 - Views: 5435
ปุ๋ยบำรุง ขนุน โตไว รากแข็งแรง ติดดอก ออกผลผลิตสูง FK-1 มี สารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์, N,P,K,Mg,Zn
Update: 2564/11/11 12:53:04 - Views: 2968
การต่อสู้กับโรคราน้ำค้าง: การใช้สารประกอบอินทรีย์เพื่อป้องกันและกำจัดโรคพืชจากเชื้อราในแตงโม
Update: 2566/05/15 10:27:34 - Views: 3097
โรคใบด่างมะละกอ เชื้อไวรัสในมะละกอ ต้องกำจัดเพลี้ยอ่อน ซึ่งเป็นพาหะนำโรค และมีดตอนกิ่งที่ไม่สะอาดก็มีส่วน
Update: 2563/06/10 16:16:45 - Views: 4412
กำจัดเพลี้ย เพลี้ยอ่อน เพลี้ยแป้ง เพลี้ยไฟ เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยต่างๆ ฯลฯ มาคา สารอัลคาลอยด์สกัดจากธรรมชาติ โดย FK
Update: 2566/06/24 09:39:24 - Views: 4604
มะยงชิดใบไหม้ มะปรางใบไหม้ ใบจุด ราสนิม แอนแทรคโนส โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู โตไว ผลผลิตดี
Update: 2564/09/15 23:25:03 - Views: 3418
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน องุ่น เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/24 14:25:09 - Views: 2962
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มันสำปะหลังใบไหม้ ฉีดพ่นด้วยไอเอส และบำรุงให้ฟื้นตัวได้รวดเร็ว ด้วย FK-1
Update: 2563/06/08 08:49:24 - Views: 2961
ชมพู่แดง ชมพู่ทับทิมจันทร์ เร่งโต เพิ่มผลผลิต ป้องกันโรค และแมลง และหนอน
Update: 2564/04/22 11:28:26 - Views: 3365
โรคกิ่งเน่า ลำต้นเน่า โคนเน่า ในมังคุด: วิธีป้องกันและกำจัดด้วยสารอินทรีย์
Update: 2566/01/13 07:58:38 - Views: 3065
อุตสาหกรรมมันเส้น และการผลิตมันเส้น
Update: 2555/04/11 14:56:21 - Views: 3216
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยแป้ง ในฝรั่ง และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/06 12:00:28 - Views: 3157
ประสิทธิภาพในการป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในมะกรูด
Update: 2566/05/04 11:56:57 - Views: 3153
ดาวเรือง ดอกเน่า ใบจุด ราแป้ง กำจัดโรคดาวเรือง จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/15 11:46:16 - Views: 3003
โรคราสนิมแคคตัส โรคแคคตัส โรคจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส หยุดโรค (1ขวด ผสมน้ำได้ 400ลิตร)
Update: 2564/08/16 07:37:52 - Views: 3096
การป้องกันและกำจัด โรคราน้ำค้างในเมล่อน ด้วยสารอินทรีย์ และเทคนิคการควบคุมไอออน
Update: 2566/01/11 19:51:02 - Views: 3197
มะยงชิดใบไหม้ โรครามะปรางหวาน ใบจุดสีน้ำตาล ใบเหี่ยว แก้ด้วย ไอเอส
Update: 2564/04/26 00:48:24 - Views: 4314
โรคเปลือกแตก ยางไหล กิ่งแห้ง ที่เกิดกับไม้ยืนต้นต่างๆ แก้ได้ด้วย ไอเอส
Update: 2564/05/05 03:12:57 - Views: 3778
คู่มือป้องกันกำจัดโรคเชื้อราต่างๆในดาวเรือง ดาวเรืองใบไหม้ ดอกไหม้ ดอกเป็นจุด ราแป้ง ฯลฯ
Update: 2566/05/01 10:27:34 - Views: 17082
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น กล้วย ผลใหญ่ หวีใหญ่ เต็มเครือ ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/02/28 14:21:42 - Views: 3031
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022