[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - เพิ่มผลผลิต
907 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 90 หน้า, หน้าที่ 91 มี 7 รายการ

โรคใบไหม้ (โรคใบจุดตาเสือ) : LEAF BLIGHT DISEASE
โรคใบไหม้ (โรคใบจุดตาเสือ) : LEAF BLIGHT DISEASE
เชื้อสาเหตุ : รา Phythopthora colocasiae Rac ชีววิทยาของเชื้อ : เชื้อสร้างเส้นใยบนอาหารแข็ง CA เป็นเส้นตรง กิ่งก้านแยกออกไปไม่สม่ำเสมอ เส้นใยใสไม่มีสี ไม่มีผนังกั้น ผิวผนังเรียบ ลักษณะโคโลนีคล้ายเส้นใยแมงมุม เชื้อเจริญเต็มจานเลี้ยงเชื้อเมื่ออายุ 3-5 วัน สร้าง sporangia รูปยาว หรือรูปไข่ มีปุมนูนไม่เด่นชัด (semipapillate) บนสปอร์ L:B = 1.6:1 เมื่อสปอร์มีอายุจะหลุดง่าย แพร่กระจายโดยลมและฝน ภายในสปอร์ยังสามารถสร้างสปอร์มีหางจำนวนมาก แล้วปล่อยออกมา เข้าทำลายพืชได้อีกด้วย

ลักษณะอาการ : อาการบนใบเกิดจุดสีน้ำตาลฉ่ำน้ำ ต่อมาจุดแผลเหล่านั้นขยายใหญ่ขึ้น เกิดอาการ ใบไหม้เป็นวงๆ ซ้อนๆ กัน เป็นชั้นๆ ลักษณะคล้ายดวงตา บริเวณขอบแผลที่เกิดจากการเชื่อมต่อกันจะพบ เนื้อเยื่อสีเหลืองล้อมรอบ ในระยะที่รุนแรงแผลขยายติดต่อกัน และทำให้ใบม้วนพับเข้าและแห้งเหี่ยว หรืออาจเน่าเละถ้าอากาศชื้นมีฝนพรำ หากเกิดโรครุนแรง พบอาการบนก้านใบ เกิดแผลฉ่ำน้ำสีน้ำตาลอ่อน แผลขยายใหญ่ขึ้นเป็นวงๆ เช่นกัน ต่อมาจะเน่า แห้ง เป็นสีน้ำตาลหรือสีดำ ก้านต้านทานน้ำหนักใบไม่ได้ จึงหักพับ ทำให้ใบแห้ง ผลผลิตลดลง และเชื้ออาจเข้าทำลายหัวเผือก ทำให้หัวเผือกเน่าเสียหายได้

การแพร่ระบาด : ความชื้นสูงและอุณหภูมิต่ำมีผลต่อการเกิดโรค ทำให้โรคมีการระบาดรุนแรง หากช่วงที่ได้รับเชื้อ มีฝนตกพรำตอนใกล้รุ่ง และตอนเช้าติดต่อกัน มีฝนพรำทั้งวัน และมีลมอ่อนๆ เนื่องจาก สภาพดังกล่าวเหมาะสมต่อการสร้างสปอร์เชื้อรา ซึ่งเชื้อสร้างสปอร์บนใบเผือกได้ดีหากมีความชื้นสูง (90-100%) และอุณหภูมิต่ำ (20-25%) เกษตรกรมักนิยมปลูกเผือกตามคันสวนผักหรือปลูกในที่ลุ่มมีน้ำขังแฉะ ทำให้มี ความชื้นสูง การระบาดของโรคจึงเกิดง่ายตลอดปี

การป้องกันกำจัด :

เก็บเศษซากพืชหรือส่วนที่เป็นโรคออกไปเผาทำลาย ปลูกพืชในพื้นที่ดินที่มีการ ระบายน้ำได้ดี ไม่เป็น ที่น้ำขังและไม่ปลูกแน่นจนเกินไป

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มันสำปะหลังใบไหม้ (Cassava Bacterial Blight : CBB)
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มันสำปะหลังใบไหม้ (Cassava Bacterial Blight : CBB)
เกิดจากเชื้อ Xanthomonas campestris pv. manihotis มีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศบราซิลในปี 2455 หลังจากนั้นมีรายงานการแพร่ระบาดเกือบทุกประเทศที่มีการปลูกมันสำปะหลังทั้งทวีปเอเชียและลาตินอเมริกา ในประเทศไทยพบครั้งแรกที่จังหวัดระยอง เมื่อปี 2518 และต่อมาพบทั่วทุกภาค ระดับความเสียหายเนื่องจากโรคนี้มีตั้งแต่ 30 เปอร์เซ็นต์ เมื่อใช้ท่อนพันธุ์จากต้นที่เป็นโรคถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเกิดโรคและใช้ต้นพันธุ์ที่เป็นโรคติดต่อกัน 3 ถึง 4 ปี โดยไม่มีการป้องกันกำจัด อาจมีความเสียหายถึง 80 เปอร์เซ็นต์ ระดับความเสียหายจะขึ้นอยู่กับเปอร์เซ็นต์การใช้ท่อนพันธุ์ที่มีเชื้อปะปนมา (Contaminated cutting) ปลูกในแปลงและความเสียหายอาจรุนแรงถึง 90 เปอร์เซ็นต์ เมื่อมีเชื้อโรค เช่น เชื้อ Colletrotrichum spp. และ Choanephora cucurbitarum ร่วมเข้าทำลาย นอกจากจะทำความเสียหายกับผลผลิตโดยตรงแล้วยังทำให้ขาดแหล่งโปรตีนและไวตามินที่สำคัญสำหรับประชากรในบางประเทศ เนื่องจากคนเหล่านั้นรับประทานใบมันสำปะหลังแทนผัก ฉะนั้น โรคใบไหม้จึงมีความสำคัญเป็นอันดับ 1 ในแถบอัฟริกา และลาตินอเมริกา สำหรับประเทศทางแถบเอเชีย เช่น ประเทศจีน และประเทศไทย ความเสียหายจัดอยู่ในระดับปานกลาง

ลักษณะอาการเริ่มแรก

แสดงอาการใบจุดเหลี่ยมฉํ่านํ้า ใบไหม้ ใบเหี่ยว ยางไหลจนถึงอากยอดเหี่ยวและแห้งตายลงมา นอกจากนี้ยังทำให้ระบบท่อนํ้าอาหารของลำต้นและรากเน่า

ท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค

แสดงอาการ คือ ยอดที่ผลิตใหม่ เหี่ยว มียางไหล และมีอาการแห้งตายจากยอดอย่างรวดเร็ว และแพร่ระบาดไปยังต้นข้างเคียง ซึ่งมักจะแสดงอาการเป็นจุดชํ้าเล็กที่ต้นแล้วแผลขยายใหญ่เปลี่ยนเป็นสีนํ้าตาลเข้มลุกลามเป็นแผลใหญ่ บางครั้งจะพบวงสีเหลือง (yellow halo) ลามเป็นใบไหม้ และใบร่วง ลำต้นแห้งตาย เมื่อผ่าดูระบบท่อนํ้าและอาหารทั้งของลำต้น และรากจะมีสีคลํ้า เนื่องจากเนื้อเยื่อของส่วนนี้ถูกทำลาย ในบางครั้งจะพบอาการยางไหลบนส่วนลำต้นที่ยังอ่อนหรือก้านใบ และแผลจุดบนใบ พบระบาดมากได้ในช่วงฤดูฝน

การแพร่ระบาดของโรคที่สำคัญ

คือ ติดไปกับท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค แพร่กระจายไปโดยฝนหรือกับดิน หรือกับเครื่องมือที่ใช้ในการเกษตร เช่น มีดที่ใช้ในการตัดท่อนพันธุ์ ในบางประเทศมีรายงานว่า แมลงเป็นตัวการในการแพร่ระบาด เชื้อสาเหตุของโรคสามารถอยู่รอดในดินบนเศษซากพืชได้นานกว่า 2 ปี

การป้องกันกำจัด

1. ใช้พันธุ์ต้านทาน พันธุ์ที่แนะนำในปัจจุบัน มีความต้านทานต่อโรคปานกลาง

2. ใช้ท่อนพันธุ์ที่ปราศจากเชื้อ

3. ปลูกพืชอายุสั้นเป็นพืชหมุนเวียน หรือหลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในแปลงที่ระบาดรุนแรงนาน 6 เดือน

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
การใช้ปูนขาว กำจัด โรคข้าวใบไหม้
การใช้ปูนขาว กำจัด โรคข้าวใบไหม้
กำจัดโดยนำปูนขาว1กก.+ น้ำ5ลิตร หมัก1คืน นำมาผสมกับน้ำ20ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงนาบริเวณที่มีการระบาดของโรค

ช่วงนี้เกษตรกรเริ่มปลูกข้าว ส่วนใหญ่ในทุกพื้นที่จะประสบปัญหาเกี่ยวกับโรคที่เกิดกับข้าวที่ปลูก โดยเฉพาะโรคใบไหม้ที่เกิดขึ้นกับเกษตรกรเกือบทุกพื้นที่ เกษตรกรบางส่วนไม่ทราบถึงวิธีการป้องกันและกำจัดจึงนำสารเคมีมาใช้ในนาข้าวเพื่อกำจัดโรคซึ่งจะทำให้เกิดผลเสียต่างๆมากมายตามมา จึงอยากแนะนำวิธีการป้องกันและกำจัดโรคใบไหม้ในข้าวด้วยวิธีการง่ายๆ ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อม

กรณี คุณเลย อินต๊ะนางแล เกษตรกรผู้ปลูกข้าวทั้งนาปีและนาปรัง แต่มักประสบปัญหาเรื่องโรคใบไหม้ในข้าวอยู่เป็นประจำทุกปี จึงได้สอบถามมายังรายการวิทยุร่วมด้วยช่วยกันจังหวัดเชียงรายถึงสาเหตุของการเกิดโรคและวิธีป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ในข้าว

ทีมงานประสานไปยัง คุณหวัน เรืองเตื้อ เครือข่ายเกษตรกรสำนึกรักบ้านเกิด กิ่ง อ.ภูเพียง จ.น่าน กล่าวว่าลักษณะของโรคนี้ในระยะกล้าจะมีแผลที่ใบข้าวเป็นสีน้ำตาลรูปวงรีคล้ายตา และมีสีเทาอยู่กลางแผล เชื้อของโรคนี้สามารถกระจายไปได้โดยลมและน้ำ นอกจากนี้ยังระบาดทำความเสียหายแก่ต้นข้าวได้ทุกระยะตั้งแต่ระยะกล้า ระยะแตกกอจนถึงระยะออกรวง เชื้อจะระบาดได้รวดเร็วมาก

สาเหตุของโรคใบไหม้ในข้าวมีดังนี้คือ

1.สภาพอากาศโดยทั่วไปมีฝนตกติดต่อกันหลายวัน ความชื้นในอากาศสูงเหมาะแก่การเจริญเติบโตของเชื้อราและไวรัส ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคไหม้ข้าว

2.มีสาเหตุมาจากเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ไม่ต้านทานโรค เพราะฉะนั้นเกษตรกรควรเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าวที่ได้รับการรับรองจากกรมวิชาการเกษตรหรือเลือกเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มาจากแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ที่เชื่อถือได้

3.สาเหตุมาจากเกษตรใส่ใส่ปุ๋ยที่มีธาตุไนโตรเจน (ยูเรีย) มากเกินกว่าที่พืชต้องการ

การใช้ปูนขาวกำจัดโรคข้าวใบไหม้

วิธีการป้องกันและกำจัดโรค

ให้นำปูนขาว 1 กิโลกรัมผสมน้ำ 5 ลิตร หมักไว้ 1 คืน หลังจากนั้นนำมาผสมกับน้ำ 20 ลิตร ใช้ฉีดพ่นในนาข้าวให้ทั่วในบริเวณที่โรคระบาด (ปริมาณที่ใช้ขึ้นอยู่กับการระบาดของโรค)

ในกรณีที่แปลงโรคใบไหม้ระบาดจนทั่วทั้งแปลงนาให้ใช้ปูนขาว 50 กิโลกรัมต่อพื้นที่ 1 ไร่ หว่านให้ทั่วก่อนปลูกข้าว จึงขอเตือนเกษตรกรให้ระมัดระวังเป็นพิเศษ โดยหมั่นสำรวจแปลงกล้า หากพบลักษณะของโรคไหม้เกินร้อยละ 5 ของพื้นที่แปลงกล้า ควรลดปริมาณน้ำในแปลงกล้าจนแห้ง และงดการใส่ปุ๋ยที่มีธาตุไนโตรเจนทันที

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคราน้ำค้างข้าวโพดฝักอ่อน : DOWNY MILDEW DISEASE
โรคราน้ำค้างข้าวโพดฝักอ่อน : DOWNY MILDEW DISEASE
เชื้อสาเหตุ : รา Peronosclerospora sorghi ชีววิทยาของเชื้อ : เชื้อราชนิดนี้มีก้านชูสปอร์ตรงแผ่ขยายออกที่ปลาย สีใส มักแตกแขนงแบบสองแฉก แทงทะลุออกจากใบข้าวโพดแบบเดี่ยวหรือเป็นกลุ่มจากใต้ใบบางครั้งแทงทะลุขึ้นบนใบ สปอร์ใสรูปไข่หรือ ยาวรีติดอยู่บนก้านชูเรียวแหลม

ลักษณะอาการ : โรคราน้ำค้างหรือเรียกอีกอย่างว่าโรคใบลาย ใบข้าวโพดจะมีสีเขียวอ่อนหรือ สีเหลืองอ่อนสลับสีเขียวแก่เป็นทางๆ ตามความยาวของใบจากฐานใบถึงปลายใบ ทางดังกล่าวอาจยาวติดต่อ กันไปหรือขาดเป็นช่วง ในเวลาเช้าที่มีอากาศค่อนข้างเย็นความชื้นสูงจะพบผงสปอร์สีขาวๆ เป็นจำนวนมาก บริเวณใต้ใบ ลักษณะอาการอื่นๆ ของโรคที่อาจพบได้คือดอกตัวผู้จะหงิกงอไม่เจริญเต็มที่ ส่วนดอกตัวเมีย อาจไม่เจริญเติบโตหรือเจริญมากเกินไป บางครั้งพบ 5-6 ฝักต่อต้น การผสมเกสรไม่สมบูรณ์หรือไม่ผสมเลย

การแพร่ระบาด : โรคจะเริ่มระบาดในฤดูฝน เชื้อราสามารถแพร่ระบาดได้โดยลมและฝน นอกจากนี้ เชื้อสามารถติดไปกับเมล็ดพันธุ์

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคราน้ำค้างข้าวโพดฝักอ่อน โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
เทคนิค การปลูกฟักทอง ง่าย ๆ ได้ผลผลิตดีงาม
เทคนิค การปลูกฟักทอง ง่าย ๆ ได้ผลผลิตดีงาม
ฟักทอง ผักสวนครัวพื้นบ้านที่เราทุกคนต่างรู้จักและคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี มีการใช้ฟักทองในการทำอาหารมากมาย ทั้งของคาว ของหวาน และเครื่องดื่ม หรือจะต้มกินเล่น ๆ เป็นอาหารว่าง อาหารลดน้ำหนักก็เยี่ยมไปเลย ปัจจุบันนี้เริ่มมีคนนิยมหันมาปลูกฟักทองไว้กินเองที่บ้าน วันนี้เราเลยจะพามือใหม่หัดปลูกฟักทองมาเตรียมตัวกัน เริ่มตั้งแต่พันธุ์ฟักทองมีอะไรบ้าง การเตรียมตัวก่อนปลูก ขั้นตอนการปลูก ไปจนถึงวิธีการดูแลรักษาต้องทำอย่างไรบ้าง กระปุกดอทคอมได้รวบรวมมาไว้ให้คุณแล้ว ตามไปดูพร้อมกันค่ะ

ฟักทอง จัดอยู่ในกลุ่มพืชตระกูลแตง (Cucurbitaceae) เช่นเดียวกับแตงกวา ฟักแฟง มะระ บวบ และแตงโม เป็นต้น ฟักทองเป็นพืชผักสวนครัว ที่ปลูกได้ง่าย เจริญเติบโตดีในดินทุกชนิด จึงสามารถพบเห็นการปลูกฟักทองอยู่ทั่วประเทศไทย

ถิ่นกำเนิดของฟักทอง
ฟักทองมีถิ่นกำเนิดมาจากทวีปอเมริกาเหนือ ถูกนำมาใช้ปรุงอาหารตั้งแต่ 7_500-5_000 ปี ก่อนคริสตกาลแล้ว ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ทั่วโลกมีการปลูกฟักทองกันอย่างแพร่หลายในเชิงพาณิชย์ ใช้เป็นอาหาร เพื่อความสวยงาม และปลูกเพื่อเป็นงานอดิเรก ได้รับความนิยมต่างกันไปตามแต่ละพื้นที่ และเป็นตัวแทนในวันสำคัญต่าง ๆ มากมาย เช่น

ประเทศแคนาดาและสหรัฐอเมริกา นิยมเอาฟักทองมาทำเป็นพายฟักทองในวันขอบคุณพระเจ้า

ช่วงฮาโลวีน จะถูกนำมาแกะสลักเป็นโคมไฟสำหรับประดับตกแต่งบ้าน

ชาวจีนมีความเชื่อว่า ฟักทองเป็นตัวแทนแห่งความเจริญรุ่งเรือง เหลือกินเหลือใช้ นิยมประดับตกแต่งฟักทองทั้งแบบสดและแบบโมเดลตามโต๊ะหรือหิ้งต่าง ๆ

ประเทศไทย เกษตรกรชาวไทยแทบทุกภาคทั่วประเทศปลูกฟักทองเป็นอาชีพเพื่อสร้างรายได้

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของฟักทอง

ฟักทอง เป็นพืชล้มลุกปีเดียว (มีอายุไม่เกิน 1 ปี) ลำต้นเป็นเถาเลื้อย ยาวตั้งแต่ 3-6 เมตร ลำต้นอ่อนเป็นห้าเหลี่ยมหรือกลม ข้อปลายมีหนวดแยก 3-4 แฉก ใบนิ่ม รูปร่างห้าถึงเจ็ดเหลี่ยม หรือเกือบกลม กว้าง 10-20 เซนติเมตร ยาว 15-30 เซนติเมตร มีขนสาก ๆ ระคายมือ ริมใบมีรอยหยักเว้าลึก 5-7 หยัก ดอกมีเพศผู้และเพศเมียอยู่ในต้นเดียวกัน ผลในแต่ละสายพันธุ์จะมีรูปร่าง ขนาด และรอยหยักของผิวที่แตกต่างกัน มีทั้งแบบกลม แบบแป้น และเนื้อในส่วนใหญ่จะเป็นสีเหลือง เหลืองอมส้ม สีเหลืองอมเขียว และสีส้ม เป็นต้น มีเมล็ดรูปร่างคล้ายไข่แบนอยู่ด้านในสุดจำนวนมาก

สายพันธุ์ของฟักทองยอดนิยม

พันธุ์ฟักทองที่นิยมปลูกจะแบ่งตามขนาดและน้ำหนัก ได้แก่

ฟักทองพันธุ์หนัก

มีขนาดใหญ่ที่สุด ลักษณะผิวด้านนอกขรุขระตะปุ่มตะป่ำ สีเขียวเข้มจนเกือบดำ บางพันธุ์อาจจะมีลวดลายสีเหลือง สีเขียวอ่อน หรือสีขาว แซมอยู่บ้าง ผลใหญ่ น้ำหนักประมาณ 5-8 กิโลกรัม ผลแป้น เป็นพู เนื้อหนาสีเหลือง และสีเหลืองอมเขียว รสชาติหวาน มัน และเหนียว ได้แก่

1. ฟักทองทองอำไพ 342 (เจียไต๋) และฟักทองทองอำไพ 426 (เจียไต๋)

2. ฟักทองทองอำพัน 346 (เจียไต๋)

3. ฟักทองประกายเพชร (ศรแดง)

4. ฟักทองลายข้าวตอกลูกใหญ่ ได้แก่ ฟักทองประกายเงิน (ศรแดง)

5. ฟักทองคางคก ได้แก่ ฟักทองทองเนื้อ 4 (เสือดาว) ฟักทองทองเนื้อ 9 (เสือดาว)

ฟักทองพันธุ์เบา

ผลขนาดกลาง น้ำหนักต่อผลประมาณ 2-3 กิโลกรัม รูปทรงของผลมีลักษณะแป้น เป็นพู เนื้อหนาสีเหลือง และสีเหลืองอมส้ม รสชาติหวาน มัน และเหนียว ได้แก่

1. ฟักทองอัสนี (ศรแดง)

2. ฟักทองศรีเมือง 016 (เจียไต๋)

3. ฟักทองลายข้าวตอกลูกกลาง ได้แก่ ฟักทองทองคำ 443 (เจียไต๋) ฟักทองข้าวตอก 573 (ศรแดง) และฟักทองบัตเตอร์นัท

ฟักทองพันธุ์เล็ก

ขนาดจะเล็กกะทัดรัด น้ำหนักอยู่ที่ประมาณ 0.8-1.5 กิโลกรัม รูปทรงของผลมีลักษณะแป้น เป็นพู เนื้อหนาสีเหลือง

1. ฟักทองบึงกาฬ 021 (เจียไต๋)

2. ฟักทองญี่ปุ่น

ปลูกฟักทอง เตรียมอะไรบ้าง

1. การเตรียมพื้นที่และแปลงปลูกฟักทอง
ฟักทอง มีลำต้นเลื้อยไปตามพื้น มีหนวดเกี่ยวพันไปตามพื้นดิน จึงต้องการพื้นที่ในการปลูกเยอะ โดยให้เว้นระยะห่างระหว่างต้นประมาณ 0.75-1.5 เมตร โดยคำนึงถึงความเหมาะสมของพื้นที่ปลูกเป็นสำคัญ เช่น

พื้นที่ขนาดเล็ก สามารถปลูกระยะ 1.5x1.5 เมตร ข้อดีคือ ได้ผลผลิตต่อพื้นที่เยอะกว่าแบบอื่น แต่อาจจะลำบากต่อการจัดการ เพราะเถาของฟักทองจะกระจายเต็มพื้นที่

การปลูกแถวเดี่ยว ทำแปลงเดี่ยว ความกว้างของแปลงประมาณ 1.8-2 เมตร เว้นระยะห่างระหว่างต้น 1.5 เมตร จะสามารถจัดการเถาฟักทองให้เลื้อยไปตามแนวแปลงได้ง่าย

การปลูกแถวคู่ ยกร่องแปลงเป็น 2 ด้าน ความกว้างของแปลงประมาณ 3.5-5 เมตร เว้นระยะห่างระหว่างต้น 1.5 เมตร จะสามารถจัดการเถาฟักทองให้เลื้อยจรดกันสองด้านพอดี มีร่องทางเดิน ทำให้ทำงานได้สะดวกมากขึ้น

2. การเตรียมดินปลูกฟักทอง

ฟักทองเจริญเติบโตได้ดีในดินร่วนปนทรายที่มีความชื้นในดินที่พอเหมาะ จึงควรใช้ปุ๋ยคอกและปุ๋ยหมักที่สลายตัวดีแล้วในการย่อยดิน เพื่อให้ดินมีความร่วนซุย สามารถระบายน้ำได้ดี หากที่ดินนั้นเคยใช้เพาะปลูกมานาน ควรใส่ปูนขาวเพื่อปรับสภาพความเป็นกรดด้วย และควรไถดินให้ลึกประมาณ 25-30 เซนติเมตร เพราะฟักทองเป็นพืชที่มีระบบรากแบบฝังลึก

3. เลือกช่วงเวลาในการปลูกฟักทอง

ฟักทองชอบอากาศร้อนและแห้ง ต้องการแสงแดดเต็มที่ตลอดทั้งวัน แต่ต้องมีความชื้นในดินที่เพียงพอด้วย อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ที่ประมาณ 30 องศาเซลเซียส ในประเทศไทยสามารถปลูกฟักทองได้ดีที่สุดในช่วงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์

วิธีเลือกเมล็ดพันธุ์ฟักทอง

โดยทั่วไปมีอยู่ 2 แบบที่นิยมใช้ปลูก คือ “เมล็ดพันธุ์แบบผสมเปิด” สามารถเก็บไว้ขยายพันธุ์ต่อได้เอง แต่ในปัจจุบันหาได้ยาก เนื่องจากบริษัทผลิตเมล็ดพันธุ์จะเลือกผลิต “เมล็ดพันธุ์แบบลูกผสม” แทน เพราะให้ผลผลิตสูง ขนาดของต้น ผล และการเจริญเติบโตดี แต่ไม่สามารถนำเมล็ดไปปลูกต่อได้ เกษตรกรจึงต้องมีค่าใช้จ่ายกับเมล็ดพันธุ์ฟักทองในราคาที่สูงขึ้น ดังนั้น จึงควรพิจารณาวิธีการปลูกแทนเพื่อลดต้นทุนในส่วนนี้ลง
วิธีการปลูกฟักทอง

วิธีการปลูกที่นิยมมีอยู่ 2 แบบ ได้แก่

1. การปลูกฟักทองแบบหยอดเมล็ด

ขุดหลุมเล็ก ๆ ลงไปในดินประมาณ 2.5-5 เซนติเมตร รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักที่สลายตัวดีแล้ว

หยอดเมล็ดฟักทองลงไปหลุมละ 3-5 เมล็ด

กลบด้วยดินผสมละเอียด หรือขี้เถ้าแกลบดำ

รดน้ำให้ชุ่ม คลุมด้วยฟางเพื่อรักษาความชุ่มชื้นของผิวหน้าดิน

ภายใน 3-4 วัน ต้นกล้าจะงอกพ้นพื้นดิน มีใบจริง 2-3 ใบ ให้ถอนต้นกล้าที่อ่อนแอทิ้งไป ให้เหลือหลุมละ 1 ต้นเท่านั้น

2. การปลูกฟักทองแบบเพาะกล้า

นำเมล็ดฟักทองล้างน้ำ 1-2 รอบ แช่น้ำทิ้งไว้ประมาณ 20-30 นาที และห่อด้วยผ้าขาวบาง

นำเมล็ดไปบ่มไว้ในกล่องพลาสติกใส 3-5 วัน

เมื่อเมล็ดแตกรากออกมา จึงค่อยย้ายไปเพาะในถาดเพาะกล้า

รดน้ำเป็นประจำ จนต้นกล้ามีใบจริง 1-2 ใบ จึงย้ายไปปลูกในแปลง

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคฟักทอง โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
 โรคใบจุดสีม่วงหอมใหญ่ โรคใบจุดสีม่วงกระเทียม : PURPLE BLOTCH DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคใบจุดสีม่วงหอมใหญ่ โรคใบจุดสีม่วงกระเทียม : PURPLE BLOTCH DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
เชื้อสาเหตุ : รา Alternaria porri (Ell.) Cif ชีววิทยาของเชื้อ : เมื่อราเข้าทำลายพืชจะสร้างสปอร์หรือ conidia สีน้ำตาลทองรูปร่าง clubshape หรือ obclavate คือส่วนโคนใหญ่แล้วค่อยๆ เรียวไปทางปลาย ขนาด 100-300 x 15-20 ไมครอน มีผนังกั้นตามขวาง 8-12 ผนัง ผนังกั้นตามยาวอาจมีหลายผนังหรืออาจไม่มี สปอร์เกิดที่ปลายก้าน ซึ่งชูตั้งมาจากเส้นใยบริเวณ แผลสีม่วงบนใบ เมื่อสปอร์เจริญเต็มที่จะหลุดออกจากก้าน ปลิวไปตกลงบนพืช และสภาพแวดล้อมเหมาะสม จะงอกเส้นใยแทงทะลุผ่านผิวพืชเข้าไปภายในได้ทั้งโดยตรง เข้าทางปากใบหรือรอยแผลจากแมลง แล้วสร้าง สปอร์พร้อมที่จะระบาดต่อไป

ลักษณะอาการ : เริ่มแรกเป็นจุดฉ่ำน้ำ ขนาดเล็ก เมื่อแห้งเปลี่ยนเป็นจุดแผลสีขาว ต่อมาแผลขยายออก รูปกลมรีหรือยาวไปตามใบ ขนาดไม่แน่นอน เนื้อเยื่อยุบตัวลง แผลมีสีม่วงเข้มหรือสีน้ำตาลอมม่วง ตรงกลาง ซีดจางกว่าเล็กน้อย ส่วนรอบนอกมีแถบเซลล์ตายสีขาวหรือสีเหลืองส้มล้อมรอบ เมื่ออากาศชื้น ราจะสร้าง สปอร์สีดำที่บริเวณแผล ใบที่มีแผลขนาดใหญ่หลายแผลติดกัน จะหักพับลงทำให้ใบแห้งตาย เมื่อโรคระบาด รุนแรงใบจะแห้งหมด ต้นตาย เก็บผลผลิตไม่ได้ บางครั้งถ้าสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม พบแผลจุดสีขาว ขนาดเล็กจำนวนมากกระจายทั่วใบ แผลไม่พัฒนาขยายใหญ่เป็นแผลสีม่วง มองเห็นเป็นอาการใบลายใน หอมหัวใหญ่ อาจพบราเข้าทำลายที่ส่วนหัวเมื่อใกล้เก็บเกี่ยว โดยเข้าทำลายที่คอหรือกาบนอกของหัวหอม

การแพร่ระบาด : โรคระบาดโดย สปอร์ของเชื้อแพร่กระจายไปตามลม น้ำ แมลง เครื่องมือการเกษตร และเมล็ดพันธุ์ ราอยู่ข้ามฤดู โดยสปอร์ปนอยู่กับเศษซากพืชในดิน โรคระบาดได้ดีในสภาพอากาศเย็น มีความชื้น สูง จึงพบโรคระบาดในฤดูหนาวที่มีน้ำค้างลงจัดหรือปลายฤดูฝนต่อฤดูหนาว โดยปกติจะพบโรคระบาดในระยะ หอมกระเทียมโตหรือลงหัวแล้ว แต่บางครั้งอาจพบเมื่อต้นยังเล็ก ถ้าปลูกพืชล่าช้า ในขณะที่แปลงข้างเคียง มีโรคระบาดอยู่แล้ว โรคจะระบาดรุนแรงมากถ้ามีเพลี้ยไฟร่วมเข้าทำลาย

การป้องกันกำจัด :

1. ก่อนปลูกพืชควรใส่ปูนขาว ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อปรับสภาพดิน โดยค่า pH ของดินที่เหมาะแก่ การปลูกพืชสกุลหอมกระเทียม คือ 6.5-7.0

2. ใช้ส่วนขยายพันธุ์ที่ปราศจากโรค ก่อนปลูกควรแช่หัวพันธุ์ หรือต้นกล้าด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืช

3. ดูแลแปลงปลูกให้สะอาด ทำลายเศษซากพืชที่เป็นโรค

4. ตรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบโรคพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดโรค

5. ป้องกันกำจัดแมลง โดยเฉพาะเพลี้ยไฟ

6. ปลูกพืชชนิดอื่นที่ไม่ใช่สกุลหอมกระเทียมหมุนเวียน เพื่อลดการระบาดของโรค

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคใบจุดสีม่วงหอมหัวใหญ่ โรคใบจุดสีม่วงกระเทียม โรคหอมเลื้อย โรคแอนแทรคโนสหอมแดง โรคแอนแทรคโนสหอมหัวใหญ่ และพืชตระกูลหอม กระเทียม ต่างๆ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคหอมเลื้อย : ONION TWISTER DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคหอมเลื้อย : ONION TWISTER DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
เชื้อสาเหตุ : รา Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) Sacc. ชีววิทยาของเชื้อ : ลักษณะโคโลนีของเชื้อบนอาหาร PDA เส้นใยเจริญฟู แต่ไม่หนาแน่น สีขาวเทาถึง สีเทา เมื่อเชื้อเจริญเต็มที่จะเห็นสปอร์ (conidia) รวมกันเป็นกลุ่มมีลักษณะคล้ายหยดน้ำข้นๆ สีส้มอมชมพู เจริญเป็นวงซ้อนกันเป็นชั้นๆ ไม่พบ setae แต่พบเม็ดสเคลอโรเทีย สปอร์เกิดเดี่ยวๆ รูปร่างทรงกระบอกตรง แท่งสั้น ปลายทั้งสองข้างมน ใสไม่มีสี ขนาด 7.00-11.00 x 5.00-14 .00 ไมครอน เกิดเดี่ยวๆ ที่ปลายก้าน conidiophore ลักษณะใส ไม่มีสี

ลักษณะอาการ : ต้นแคระแกร็น ไม่ลงหัว หัวลีบยาวบิดโค้งงอ ใบบิดเป็นเกลียว ส่วนคอมักยืดยาว มี ระบบรากสั้นกว่าปกติทำให้รากขาดหลุดจากดินได้ง่าย ทำให้เน่าก่อนถึงเวลาเก็บเกี่ยวบนต้นที่เป็นโรค มักพบ แผลรูปรี เนื้อแผลยุบต่ำกว่าเดิมเล็กน้อย บนแผลมีหยดของเหลวสีชมพูอมส้ม เมื่อแห้งจะเห็นเป็นตุ่มเล็กๆ สีน้ำตาลดำ เรียงเป็นวงรีซ้อนกันหลายชั้นที่บริเวณใบ โคนกาบใบ คอ หรือส่วนหัว

การแพร่ระบาด : โรคแพร่ระบาด โดยสปอร์ของเชื้อรา แพร่ไปกับลม ฝน น้ำ แมลงเครื่องมือการเกษตร เมล็ดพันธุ์ หรือหัวพันธุ์ในแหล่งปลูก ที่มีการปลูกพืชซ้ำที่เดิมทุกปี และไม่ดูแลความสะอาดของแปลง โรคระบาดรุนแรงและรวดเร็วเมื่อมีความชื้นสูง

การป้องกันกำจัด :

1. ก่อนปลูกพืชควรไถตากดิน 2-3 ครั้ง เพื่อลดปริมาณเชื้อรา ให้ใส่ปูนขาวและปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อปรับสภาพดิน โดย pH ของดินที่เหมาะแก่การปลูกพืชสกุลหอมกระเทียมคือ 6.5-7.0

2. ใช้ส่วนขยายพันธุ์ที่ปราศจากโรค สำหรับหอมหัวใหญ่ซึ่งปลูกโดยการย้ายกล้า ควรดูแลแปลงกล้า ไม่ให้เกิดโรค ไม่บำรุงต้นกล้าด้วยปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไป จะทำให้อ่อนแอต่อโรค ป้องกันโรคโดยแช่ต้นกล้า

3. การปลูกหอมในฤดูฝนควรยกร่องสูงเพื่อให้มีการระบายน้ำดี หากน้ำท่วมขังควรรีบระบายน้ำออก ให้หมด

4. ช่วงฤดูฝน ไม่ควรใส่ปุ๋ยเคมี โดยเฉพาะปุ๋ยไนโตรเจน เพราะจะทำให้ต้นพืชสมบูรณ์มากเกินไป พืชอ่อนแอต่อโรค ควรทิ้งระยะให้ดินแห้งก่อน แล้วจึงใส่ปุ๋ยบำรุง

5. หมั่นตรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ หากพบโรค ทำลายต้นพืชที่เป็นโรค โดยการถอนไปเผาทิ้งแล้ว พ่นต้นที่เหลือด้วยสารป้องกันกำจัดโรคแอนแทรคโนส

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคหอมเลื้อย โรคแอนแทรคโนสหอมแดง โรคแอนแทรคโนสหอมหัวใหญ่ และพืชตระกูลหอม กระเทียม ต่างๆ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคแอนแทรคโนสหอมแดง โรคแอนแทรคโนสหอมหัวใหญ่ : ANTHRACNOSE DISEASE [ไอเอส+FK-1]
โรคแอนแทรคโนสหอมแดง โรคแอนแทรคโนสหอมหัวใหญ่ : ANTHRACNOSE DISEASE [ไอเอส+FK-1]
เชื้อสาเหตุ : รา Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) Sacc. ชีววิทยาของเชื้อ : ลักษณะโคโลนีของเชื้อบนอาหาร PDA เส้นใยเจริญฟู แต่ไม่หนาแน่น สีขาวเทาถึง สีเทา เมื่อเชื้อเจริญเต็มที่จะเห็นสปอร์ (conidia) รวมกันเป็นกลุ่มมีลักษณะคล้ายหยดน้ำข้นๆ สีส้มอมชมพู เจริญเป็นวงซ้อนกันเป็นชั้นๆ ไม่พบ setae แต่พบเม็ดสเคลอโรเทีย สปอร์เกิดเดี่ยวๆ รูปร่างทรงกระบอกตรง แท่งสั้น ปลายทั้งสองข้างมน ใสไม่มีสี ขนาด 7.00-11.00 x 5.00-14 .00 ไมครอน เกิดเดี่ยวๆ ที่ปลายก้าน conidiophore ลักษณะใส ไม่มีสี

ลักษณะอาการ : ระยะแรกเกิดจุดช้ำฉ่ำน้ำขนาดเล็ก ต่อมาจะขยายใหญ่เป็นแผลรูปกลมหรือรี เนื้อแผล ยุบต่ำกว่าเดิมเล็กน้อย บนแผลมีหยดของเหลวสีชมพูอมส้ม เมื่อแห้งจะเห็นเป็นตุ่มเล็กๆ สีน้ำตาลดำ เรียง เป็นวงรีซ้อนกันหลายชั้น ถ้าแผลขยายใหญ่หรือหลายแผลมาชนกันจะทำให้ใบหักพับ แห้งตาย หรือเน่าตายทั้งต้น

การแพร่ระบาด : โรคแพร่ระบาด โดยสปอร์ของเชื้อรา แพร่ไปกับลม ฝน น้ำ แมลง เครื่องมือการเกษตร เมล็ดพันธุ์ หรือหัวพันธุ์ โรคระบาดรุนแรงและรวดเร็วเมื่อมีความชื้นสูง

การป้องกันกำจัด :

1. ก่อนปลูกพืชควรไถตากดิน 2-3 ครั้ง เพื่อลดปริมาณเชื้อรา ให้ใส่ปูนขาวและปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อปรับสภาพดิน โดย pH ของดินที่เหมาะแก่การปลูกพืชสกุลหอมกระเทียมคือ 6.5-7.0

2. ใช้ส่วนขยายพันธุ์ที่ปราศจากโรค สำหรับหอมหัวใหญ่ซึ่งปลูกโดยการย้ายกล้า ควรดูแลแปลงกล้า ไม่ให้เกิดโรค ไม่บำรุงต้นกล้าด้วยปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไป จะทำให้อ่อนแอต่อโรค

3. การปลูกหอมในฤดูฝนควรยกร่องสูงเพื่อให้มีการระบายน้ำดี หากน้ำท่วมขังควรรีบระบายน้ำออก ให้หมด

4. ช่วงฤดูฝน ไม่ควรใส่ปุ๋ยเคมี โดยเฉพาะปุ๋ยไนโตรเจน เพราะจะทำให้ต้นพืชสมบูรณ์มากเกินไป พืชอ่อนแอต่อโรค ควรทิ้งระยะให้ดินแห้งก่อน แล้วจึงใส่ปุ๋ยบำรุง

5. หมั่นตรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ หากพบโรค ทำลายต้นพืชที่เป็นโรค โดยการถอนไปเผาทิ้งแล้ว พ่นต้นที่เหลือด้วยสารป้องกันกำจัดโรคแอนแทรคโนส

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคแอนแทรคโนสหอมแดง โรคแอนแทรคโนสหอมหัวใหญ่ และพืชตระกูลหอม กระเทียม ต่างๆ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคแอนแทรคโนสหน่อไม้ฝรั่ง : ANTHRACNOSE DISEASE
โรคแอนแทรคโนสหน่อไม้ฝรั่ง : ANTHRACNOSE DISEASE
เชื้อสาเหตุ : รา Colletotrichum gloeosporioides Penz. ลักษณะอาการ : ลำต้นเป็นแผลสีน้ำตาล เห็นได้ชัดเจนบนลำต้นที่ไม่อ่อนหรือแก่จนเกินไป ลักษณะ แผลจะยุบตัวลงตามความยาวของลำต้น เมื่อแผลลุกลามจะขยายขนาดไปตามลำต้นทำให้ลีบแห้ง และจะพบ สปอร์ของเชื้อเรียงตัวซ้อนกันเป็นวงสีส้มหรือสีด

การแพร่ระบาด : พบโรคระบาดในช่วงที่อากาศมีความชื้นสูง โดยสปอร์ของเชื้อจะปลิวไปกับน้ำฝนหรือ ระบบการให้น้ำแบบสปริงเกอร์ได้

การป้องกันกำจัด :

1. รักษาความสะอาดในแปลงปลูก ถอนต้นที่เป็นโรคออกจากแปลง และเผาทำลาย

2. เมื่อพบการระบาดของโรคให้พ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืช

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคแอนแทรคโนสหน่อไม้ฝรั่ง โรคหน่อไม้ฝรั่งกิ่งไหม้ โรคหน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ โรคหน่อไม้ฝรั่งต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคหน่อไม้ฝรั่งกิ่งไหม้ หรือ โรคใบเทียมร่วง : CERCOSPORA LEAF BLIGHT DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคหน่อไม้ฝรั่งกิ่งไหม้ หรือ โรคใบเทียมร่วง : CERCOSPORA LEAF BLIGHT DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
เชื้อสาเหตุของ โรคหน่อไม้ฝรั่งกิ่งไหม้ : รา Cercospora asparagi ลักษณะอาการ : กิ่ง ก้าน ใบเทียม เป็นแผลลักษณะกลม สีม่วงอมน้ำตาล หรือม่วงแดง ที่ตรงกลาง แผลมีสีขาวขุ่นหรือสีเทา ขอบแผลเป็นสีน้ำตาล อาการรุนแรงทำให้กิ่งก้านและใบเทียมร่วงได้ สามารถเข้า ทำลายได้ทุกระยะการเจริญเติบโต

การแพร่ระบาด : พบโรคระบาดในช่วงที่อากาศมีความชื้นสูง โดยสปอร์ของเชื้อจะปลิวไปกับน้ำฝน หรือระบบการให้น้ำแบบสปริงเกอร์ได้

การป้องกันกำจัด :

1. รักษาความสะอาดในแปลงปลูก ตัดแต่ง กิ่ง ก้านที่เป็นโรคออกจากแปลง และเผาทำลาย

2. เมื่อพบการระบาดของโรคให้พ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืช

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคหน่อไม้ฝรั่งกิ่งไหม้ โรคหน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ โรคหน่อไม้ฝรั่งต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
907 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 90 หน้า, หน้าที่ 91 มี 7 รายการ
|-Page 86 of 91-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสนิม ในกัญชา กัญชง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/21 12:16:40 - Views: 3614
การดูแลรักษามะม่วง และเก็บเกี่ยว
Update: 2564/05/28 08:42:32 - Views: 3823
คาดการณ์ ราคา และ ปริมาณการส่งออก ยางพารา ปี 2568
Update: 2567/11/23 08:26:02 - Views: 50
การดูแลมะพร้าวให้โตไว สมบูรณ์ และมีผลผลิตดีด้วยฮิวมิคFK และปุ๋ยทางใบ FK-1
Update: 2567/11/11 09:54:59 - Views: 143
เมทาแล็กซิล: สารป้องกันกำจัดโรคพืชที่เป็นเชื้อราในสับปะรด
Update: 2566/11/17 14:51:39 - Views: 3511
มารู้จักแต่ละชนิด!! ดอกทานตะวันมีสายพันธุ์อะไรบ้าง? พร้อมวิธีดูแลอย่างง่าย ๆ
Update: 2565/11/14 13:15:47 - Views: 3562
งานวิจัยฝ้ายในรอบทศวรรษ
Update: 2564/08/12 00:16:33 - Views: 3418
การจัดการโรคเชื้อราในแตงโมอย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2566/05/04 09:42:38 - Views: 3408
ยาแก้กะเพราใบไหม้ ยารักษาโรคกะเพราใบจุด โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/10/10 00:19:53 - Views: 3612
การจัดการดินและระบบการปลูกมันสำปะหลัง
Update: 2553/02/20 10:47:38 - Views: 3703
🔥โรคมันสำปะหลังใบไหม้ และ โรคแอนแทรคโนสมันสำปะหลัง ใช้ ไอเอส ยับยั้ง FK-1 บำรุง
Update: 2564/07/05 09:08:40 - Views: 3572
การจัดการและป้องกันการระบาดของเพลี้ยในต้นดอกกล้วยไม้: วิธีการแก้ไขปัญหาแมลงในสวน
Update: 2566/11/23 13:09:27 - Views: 3494
การป้องกันและรักษาโรคเชื้อราในต้นพริก
Update: 2566/05/01 14:48:42 - Views: 3538
ดินมีปัญหา ไม่เหมาะกับการเพาะปลูก รู้ปัญหา แก้ได้ ตรวจดินกับ iLab
Update: 2565/08/05 19:05:52 - Views: 3475
ยาฆ่าเชื้อรา สาเหตุของโรคต่างๆ ใน พืชทุกชนิด เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/03/20 13:47:08 - Views: 3495
การปลูกอินทผาลัม: คู่มือฉบับสมบูรณ์
Update: 2566/04/28 13:51:14 - Views: 3703
ผสมปุ๋ย สูตร เร่งดอก เร่งผล สูตร 9-25-25 หรือ 8-24-24 ใช้เองง่ายๆ ใช้แอพผสมปุ๋ยช่วยคำนวณส่วนผสม
Update: 2566/01/31 09:26:28 - Views: 4015
วิธีปลูกทุเรียนอย่างละเอียด ตั้งแต่การคัดเลือกพันธุ์ ไปจนถึงการเก็บเกี่ยว
Update: 2564/05/31 08:12:06 - Views: 4774
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค: การปลดปล่อยธาตุอาหารแบบธรรมชาติเพื่อฟื้นระบบรากและปรับปรุงดิน สำหรับต้นชมพู่
Update: 2567/02/13 09:51:06 - Views: 3426
การปลูกเสาวรส
Update: 2564/06/27 08:30:25 - Views: 3530
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022