[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - FK-1
898 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 89 หน้า, หน้าที่ 90 มี 8 รายการ

ยาป้องกัน กำจัด หนอนพุทรา หนอนชมพู่ หนอนฝรั่ง หนอนทุกชนิด ใช้ได้ทุกพืช ไอกี้-บีที + FK-1 บำรุง ฟื้นตัว สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
ยาป้องกัน กำจัด หนอนพุทรา หนอนชมพู่ หนอนฝรั่ง หนอนทุกชนิด ใช้ได้ทุกพืช ไอกี้-บีที + FK-1 บำรุง ฟื้นตัว สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
หนอนตาย เพราะ ปรับตัวไม่ทัน เมื่อพบกับชีวภัณฑ์ แบคทีเรียสองสายพันธุ์ Kustaki และ Aizawai ออกฤทธิ์ทำลายหนอนพร้อมกัน ทำให้ตายใน 24-48 ชั่วโมง ตายช้ากว่ายาเคมี แต่ตายยกรัง เนื่องจากหนอนที่รับ บีที เข้าไป กลับไปตายรัง และพวกเดียวกันกินกินซาก จึงตายต่อกัน เนื่องจาก บีที เป็น ชีวภัณฑ์ ที่ขยายตัวตกผลึกในท้องหนอน และออกฤทธิ์เฉพาะกับหนอนเท่านั้น

หนอนแดง (Fruit boring caterpillar; Meridarchis scyrodes Meyrich)

เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็ก วางไข่บนดอก และผล ของ ชมพู่ พุทรา ฝรั่ง หนอนแดง เจาะกินดอกและผล ทำให้ดอกร่วง ติดผลน้อย หรือไม่ติดผลเลย หากเข้าทำลายในระยะผล จะทำให้ผลร่วงก่อนเก็บเกี่ยว หนอนจะกัดกินเนื้อภายในผล และขับถ่ายไว้เป็นเม็ดดำกลมๆ ทำให้ผลเน่าได้

หนอนแดง (Fruit boring caterpillar) เป็นศัตรูสำคัญของผลไม้หลายชนิด หนอนแดงชมพู่ หนอนแดงฝรั่ง หนอนแดงพุทรา

กำจัดหนอน ด้วย ไอกี้-บีที ปลอดภัยแน่นอน เพราะ บีที ไม่ออกฤทธิ์ กับ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม คนและสัตว์เลี้ยง จึงปลอดภัย 100%

#ยาฆ่าหนอน #ยากำจัดหนอน #หนอนแดง #หนอนชมพู่ #หนอนฝรั่ง #หนอนพุทรา #หนอนเจาะสมอฝ้าย #ยาอินทรีย์ฆ่าหนอน #ยาอินทรีย์กำจัดหนอน #ยาฆ่าหนอนชอนใบ #หนอนชอนใบ #หนอนชอนใบส้ม #หนอนชอนใบมะนาว

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอกี้-บีที และ FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอกี้-บีที อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอกี้-บีที และ FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอกี้-บีที อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..


ข้อมูลและอัตราผสมใช้

🐛 ไอกี้-บีที อัตตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 1ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอกี้-บีที ได้เลย

🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🐛 ข้อมูลจำเพาะ ไอกี้-บีที

ใช้แก้ปัญหา : โรคหนอนกออ้อย หนอนกอในนาข้าว หนอนห่อใบข้าว หนอนม้วนใบ หนอนทรายในสวนยางพารา หนอนชักใยปาล์มน้ำมัน หนอนปลอกใหญ่ หนอนเจาะฝักข้าวโพด หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด

ประกอบด้วยจุลินทรีย์สายพันธ์ บีที (BT) ที่มีประสิทธิภาพสูง คือ Bacillus thuringiensis var. aizawai และ Bacillus thuringi
ฆ่าหนอน กำจัดหนอน ปลอดสารพิษ

ไอกี้-บีที บีที
ชื่อสามัญ : บาซิลลัส ทูริงเยนซิส [ Bacillus truringiensis ] กลุ่มสารเคมี : Bacterium
สารสำคัญ : Bacillus thuringiensis var. kurstaki

นำหนักสุทธิ : 500 กรัม

ฆ่าหนอน กำจัดหนอนแมลงศัตรูพืชด้วยสารชีวินทรีย์ประสิทธิภาพสูง เอนไซม์สกัด บีที เพิ่มศักยภาพในการกำจัดแมลงศัตรูพืชให้กับเกษตรกร โดยการรวมประสิทธิภาพการกำจัดแมลงของเชื้อ Bacillus thuringiensis 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ Kustaki และ Aizawai เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อเพิ่มการปลดปล่อยสารพิษในการทำลายแมลงศัตรูพืช ด้วยการสร้างสารพิษผลึกโปรตีน delta-endotoxins ที่มีอยู่ในเชื้อ Bacillus thuringiensis เมื่อแมลงศัตรูพืชได้รับสารพิษนี้เข้าไป จะทำให้เกิดพิษในกระเพาะอาหารเป็นอัมพาต ลำตัวเหี่ยวแห้ง และตายภายในเวลา 24-48 ชั่วโมง โดยไม่เป็นอันตราต่อสิ่งแวดล้อม แมลงศัตูธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ รวมทั้งปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
ยาป้องกัน กำจัด หนอน หนอนทุกชนิด ใช้ได้ทุกพืช ไอกี้-บีที + FK-1 บำรุง ฟื้นตัว สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
ยาป้องกัน กำจัด หนอน หนอนทุกชนิด ใช้ได้ทุกพืช ไอกี้-บีที + FK-1 บำรุง ฟื้นตัว สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
หนอนตาย เพราะ ปรับตัวไม่ทัน เมื่อพบกับชีวภัณฑ์ แบคทีเรียสองสายพันธุ์ Kustaki และ Aizawai ออกฤทธิ์ทำลายหนอนพร้อมกัน ทำให้ตายใน 24-48 ชั่วโมง ตายช้ากว่ายาเคมี แต่ตายยกรัง เนื่องจากหนอนที่รับ บีที เข้าไป กลับไปตายรัง และพวกเดียวกันกินกินซาก จึงตายต่อกัน เนื่องจาก บีที เป็น ชีวภัณฑ์ ที่ขยายตัวตกผลึกในท้องหนอน และออกฤทธิ์เฉพาะกับหนอนเท่านั้น

หนอนชอนใบ เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืน มีขนาดเล็กมาก ลำตัวสีหม่น ปีกขาวนวล เพศเมียจะวางไข่หลังผสมพันธุ์ใน 24 ชั่วโมง ที่เส้นใต้ใบพืช ในเวลาไม่เกิน 3 วัน หลังจากฟักออก จะเป็นตัวหนอน กัดกิน ชอนไชอยู่ระหว่างผิวใบพืช รอยการทำลายจะอยู่ด้านใต้ใบ มากกว่าด้านบนใบ สังเกตุได้ง่าย จะเห็นใบพืช เป็นลาย เป็นเส้นทางคดเคี้ยวไปมา

หากระบาดมาก หนอนจะเจาะเข้าทำลายกิ่งอ่อน และผลอ่อนของพืชด้วย

กำจัดหนอน ด้วย ไอกี้-บีที ปลอดภัยแน่นอน เพราะ บีที ไม่ออกฤทธิ์ กับ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม คนและสัตว์เลี้ยง จึงปลอดภัย 100%

#ยาฆ่าหนอน #ยากำจัดหนอน #หนอนเจาะสมอฝ้าย #ยาอินทรีย์ฆ่าหนอน #ยาอินทรีย์กำจัดหนอน #ยาฆ่าหนอนชอนใบ #หนอนชอนใบ #หนอนชอนใบส้ม #หนอนชอนใบมะนาว

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอกี้-บีที และ FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอกี้-บีที อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอกี้-บีที และ FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอกี้-บีที อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..


ข้อมูลและอัตราผสมใช้

🐛 ไอกี้-บีที อัตตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 1ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอกี้-บีที ได้เลย

🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🐛 ข้อมูลจำเพาะ ไอกี้-บีที

ใช้แก้ปัญหา : โรคหนอนกออ้อย หนอนกอในนาข้าว หนอนห่อใบข้าว หนอนม้วนใบ หนอนทรายในสวนยางพารา หนอนชักใยปาล์มน้ำมัน หนอนปลอกใหญ่ หนอนเจาะฝักข้าวโพด หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด

ประกอบด้วยจุลินทรีย์สายพันธ์ บีที (BT) ที่มีประสิทธิภาพสูง คือ Bacillus thuringiensis var. aizawai และ Bacillus thuringi
ฆ่าหนอน กำจัดหนอน ปลอดสารพิษ

ไอกี้-บีที บีที
ชื่อสามัญ : บาซิลลัส ทูริงเยนซิส [ Bacillus truringiensis ] กลุ่มสารเคมี : Bacterium
สารสำคัญ : Bacillus thuringiensis var. kurstaki

นำหนักสุทธิ : 500 กรัม

ฆ่าหนอน กำจัดหนอนแมลงศัตรูพืชด้วยสารชีวินทรีย์ประสิทธิภาพสูง เอนไซม์สกัด บีที เพิ่มศักยภาพในการกำจัดแมลงศัตรูพืชให้กับเกษตรกร โดยการรวมประสิทธิภาพการกำจัดแมลงของเชื้อ Bacillus thuringiensis 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ Kustaki และ Aizawai เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อเพิ่มการปลดปล่อยสารพิษในการทำลายแมลงศัตรูพืช ด้วยการสร้างสารพิษผลึกโปรตีน delta-endotoxins ที่มีอยู่ในเชื้อ Bacillus thuringiensis เมื่อแมลงศัตรูพืชได้รับสารพิษนี้เข้าไป จะทำให้เกิดพิษในกระเพาะอาหารเป็นอัมพาต ลำตัวเหี่ยวแห้ง และตายภายในเวลา 24-48 ชั่วโมง โดยไม่เป็นอันตราต่อสิ่งแวดล้อม แมลงศัตูธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ รวมทั้งปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
🔥เจอหนอนใช้ ไอกี้ เจอเพลี้ยตัวดีใช้ มาคา พบโรคราใช้ ไอเอส ปลอดสารพิษจ้า..

https://www.youtube.com/watch?v=Dk1PSd92BJE&feature=youtu.be
ยาฆ่าหนอน ใช้ ไอกี้ ยาฆ่าเพลี้ย ตัวดีใช้ มาคา ยากำจัดโรคเชื้อรา ใช้ ไอเอส ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้บริโภคค่ะ
ไอกี้ 490 บาท มาคา 470 บาท ไอเอส 450 บาท ช่วยพืชฟื้นตัวเร็วด้วย FK-1 890 บาท
จัดส่งฟรีถึงบ้านทั่วไทย ชำระเงินปลายทางจ้า..

โทรสั่งซื้อ 090-592-8614 ไลน์ไอดี FarmKaset
ธาตุอาหารพืช
ธาตุอาหารพืช
พืชเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวที่สามารถสร้างอาหารได้เอง คนและสัตว์ และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ต้องกินพืชเป็นอาหาร ถ้าปราศจากพืช สิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ ไม่สามารถอยู่ได้

พืชมีความต้องการธาตุอาหารเพื่อดำรงชีวิต เช่นเดียวกับมนุษย์และสัตว์ พืชสร้างอาหารโดยการนำธาตุต่างๆ ที่มีอยู่ในน้ำ อากาศ และในดิน มาผ่านกระบวนการสังเคราะห์แสงที่ใบจะได้น้ำตาล แล้วพืชจะนำไปรวมกับแร่ธาตุชนิดอื่น ๆ ที่ดูดขึ้นมาจากดิน เพื่อสร้างแป้ง โปรตีน ไขมัน เอนไซม์ ฮอร์โมน ฯลฯ สำหรับใช้ในการเจริญเติบโตต่อไป (สมกับคำที่ว่าชีวิตเกิดจากดิน น้ำ ลม ไฟ)

จากการที่พืชดูดใช้ธาตุอาหารทั้งที่อยู่ในอากาศ ในน้ำ และในดิน เมื่อนำเนื้อเยื่อพืชไปวิเคราะห์ พบธาตุชนิดต่าง ๆ ถึง 92 ชนิด แต่มีความสำคัญและจำเป็นเพียง 17 ชนิด ที่ถูกจัดเป็นธาตุอาหารพืช จากคุณสมบัติที่สำคัญ ดังนี้ 1) พืชจะขาดไม่ได้ ถ้าขาดพืชจะตาย หรือเจริญไม่ครบชีพจักร 2) แต่ละธาตุทำหน้าที่เฉพาะในการเจริญเติบโตของพืช 3) แต่ละธาตุไม่สามารถทำหน้าที่ทดแทนกันได้

ธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืชมี 17 ชนิด โดย 3 ชนิด พืชได้รับมาจากน้ำ และอากาศ ประกอบด้วยคาร์บอน (C) พืชได้จากคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศ ไฮโดรเจน (H) และ ออกซิเจน (O) พืชได้จากน้ำ ส่วนที่เหลืออีก 14 ชนิด เป็นแร่ธาตุที่อยู่ในดิน แบ่งตามความต้องการของพืชได้ดังนี้

1) ธาตุอาหารหลัก เป็นธาตุที่พืชต้องการในปริมาณมาก และดินมักจะขาด หรือมีไม่เพียงพอต่อความต้องการของพืช ประกอบด้วย ไนโตรเจน (N_ เอ็น) ฟอสฟอรัส (P_ พี) โพแทสเซียม (K_ เค) ในการปลูกพืชถ้าดินขาด เราต้องเติมธาตุอาหารในรูปของปุ๋ย ซึ่งประกอบด้วยธาตุอาหาร 3 ตัวนี้เป็นหลัก

2) ธาตุอาหารรอง เป็นธาตุที่พืชใช้ในปริมาณน้อยกว่าธาตุอาหารหลัก ประกอบด้วย แคลเซ๊ยม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) กำมะถัน (S) ดินส่วนใหญ่ยังไม่ขาด

3) จุลธาตุ เป็นธาตุอาหารที่พืชต้องการในปริมาณน้อยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับธาตุอาหารหลัก และธาตุอาหารรอง แต่พืชจะขาดไม่ได้เช่นกัน ประกอบด้วย เหล็ก (Fe) แมงกานีส (Mn) สังกะสี (Zn) ทองแดง (Cu) คลอรีน (Cl) โบรอน โมลิบดินัม (Mo) และนิเกิล (Ni)

เมื่อนำชิ้นส่วนของพืชไปวิเคราะห์ พบว่า 95 % ของน้ำหนักแห้ง ประกอบด้วย คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน ซึ่งพืชได้รับมาฟรีๆ จากน้ำและอากาศ ส่วนที่เหลืออีกเพียง 5 % เป็นแร่ธาตุที่เหลือ 14 ชนิด ที่ได้มาจากดิน ยกตัวอย่างเช่น ในผลผลิตข้าว 1_000 กก./ไร่ พบว่า เป็นส่วนของคาร์บอน ออกซิเจน และ ไฮโดรเจน ถึง 950 กก. ที่เหลืออีกเพียง 50 กก. ที่เป็นส่วนของแร่ธาตุที่อยู่ในดิน ซึ่งถ้าดินขาด เราจะเติมให้พืชในรูปของปุ๋ย (ให้สังเกตพืชที่โตในป่า บนเขา ตามข้างถนน ไม่เคยถูกใส่ปุ๋ย แต่ทำไมพืชเจริญเติบโตได้ดี เพราะ 95 % มาจากน้ำและอากาศ 5 % มาจากดิน พืชดูดขึ้นไปใช้ ใบแก่ร่วงลงดิน แล้วย่อยสลายกลับมาเป็นอาหารพืชใหม่ แต่ข้าวในนาธาตุอาหารติดออกไปกับเมล็ด และสูญเสียไปกับการเผาฟาง)

ในส่วนของธาตุอาหารที่พืชดูดใช้จากดิน (5 %) เมื่อนำชิ้นส่วนพืชไปวิเคราะห์ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นธาตุไนโตรเจน 1.5 % ฟอสฟอรัส 0.1-0.4 % โพแทสเซียม 1-5 % กำมะถัน 0.1-0.4 % แคลเซียม 0.2-1 % และแมกนีเซียม 0.1-0.4 % ส่วนที่เหลือ คือ เหล็ก โบรอน แมงกานีส สังกะสี ทองแดง โมลิบดินัม คลอรีน และนิเกิล พืชมีความต้องการน้อยมาก (แต่ขาดไม่ได้) เช่น ความต้องการไนโตรเจนกับโมลิบดินัมต่างกัน 10_000 เท่า พืชต้องการแมกนีเซียมมากกว่าเหล็ก 40 เท่า เป็นต้น ดังนั้นคำแนะนำปุ๋ยในปัจจุบันจึงเน้นให้ใส่เฉพาะไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมก่อน เพราะพืชต้องการมากและมีผลกระทบต่อผลผลิตมากกว่าตัวอื่น (ในบรรดาธาตุอาหารที่ได้จากดิน) และดินส่วนใหญ่มักจะขาด ส่วนธาตุอาหารชนิดอื่น ๆ พืชต้องการน้อย และดินส่วนใหญ่ยังไม่ขาด (แต่หลายพื้นที่เริ่มขาดแล้ว)

จะเห็นได้ว่าในการปลูกพืช เราต้องใส่ธาตุอาหารให้พืชอย่างมากที่สุดเพียง 5 % จากที่พืชต้องใช้ทั้งหมด แต่ปัจจุบันเราใส่ปุ๋ยตามความต้องการของพืช หรือว่า ใส่ตามความต้องการของเราเอง ?

โดย วีรวัฒน์ นิลรัตนคุณ
อดีตผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการผลิตพืชที่เหมาะสมกับพื้นที่ ภาคเหนือตอน​ล่าง
สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 2 กรมวิชาการเกษตร

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุอาหารพืชโดยตรง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม สารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ เพื่อส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช เสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรค และแมลง
ไรศัตรูอ้อย
ไรศัตรูอ้อย
ช่วงสภาพอากาศแห้งแล้ง หรือฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานาน เกษตรกรชาวไร่อ้อย ระวังการระบาดของไรแมงมุมอ้อย (Sugarcane spider mite : Oligonychus simus Baker and Pritchard)

ไรแมงมุมอ้อย มักจะระบาดทำความเสียหายแก่อ้อยในระยะเริ่มปลูกจนถึงอายุประมาณ 4-5 เดือน โดยจะพบระบาดมากในช่วงสภาพอากาศแห้งแล้ง หรือฝนทิ้งช่วงติดต่อกันเป็นเวลานาน การระบาดอาจเกิดขึ้นได้โดยลม การสัมผัสกันของใบอ้อยที่อยู่ติดกัน นก แมลง หรือมนุษย์พาไป

ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของไรแมงมุม จะดูดกินน้ำเลี้ยงอยู่ที่บริเวณใต้ใบ และมักจะอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม สร้างเส้นใยเป็นเส้นบางๆ ขึ้นปกคลุมผิวใบบริเวณที่ไรดูดทำลายอยู่ ใบอ้อยที่ถูกทำลายในระยะแรกจะมีลักษณะเป็นจุดประสีขาวเล็กๆ กระจายอยู่ตามแนวเส้นกลางใบ ต่อมาแผลบริเวณดังกล่าวนี้จะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง หากการทำลายยังคงดำเนินต่อไปอย่างรุนแรง และต่อเนื่อง รอยแผลก็จะขยายใหญ่ขึ้น และใบอ้อยจะมีอาการแห้งตลอดทั่วทั้งใบ ซึ่งอาจมีผลทำให้ต้นอ้อยชะงักการเจริญเติบโตได้

วงจรชีวิตของไรแมงมุมอ้อย

ไรแมงมุมอ้อยเพศเมียสามารถเจริญเติบโต จากระยะไข่จนถึงระยะตัวเต็มวัยได้ภายใน 7 วัน โดยมีระยะไข่ 3 วัน ตัวอ่อนเมื่อฝักออกจากไข่จะเจริญเติบโตโดยมีการลอกคราบ 3 ครั้ง ตัวอ่อนระยะที่ 1_ 2 และ 3 ใช้เวลาในการเจริญนาน 2_ 1.1 และ 1 วัน ตามลำดับ ตัวเต็มวัยเพศเมียมีชีวิตอยู่ได้นานประมาณ 14 วัน และสามารถวางไข่ได้ตลอดชั่วอายุขัย เฉลี่ยสูงถึง 55 ฟอง สำหรับไรตัวผู้สามารถเจริญเติบโตนับจากระยะไข่จนถึงตัวเต็มวัยได้ภายในเวลา 8 วัน โดยมีระยะไข่ 3 วัน ตัวอ่อนเมื่อฝักออกจากไข่ จะเจริญเติบโตโดยมีการลอกคราบ 3 ครั้ง เช่นเดียวกัน ตัวอ่อนระยะที่ 1_ 2 และ 3 ใช้เวลาในการเจริญนาน 1.7_ 1.4 และ 1.6 วัน ตามลำดับ ตัวเต็มวัยตัวผู้ มีชีวิตอยู่ได้นาน 18 วัน ตัวเมียสามารถแพร่ขยายพันธุ์ได้โดยไม่ต้องได้รับการผสมพันธุ์จากไรเพศผู้ แต่ลูกที่เกิดจากตัวเมียที่ไม่ได้รับการผสมพันธุ์จะเจริญเป็นไรเพศผู้ทั้งหมด ส่วนตัวเมียที่ได้รับการผสมพันธุ์จะได้ลูกทั้งเพศผู้และเพศเมียในอัตราส่วน 5 :1

ศัตรูธรรมชาติ

ด้วงตัวห้ำ Stethorus pauperculus Weise เป็นตัวห้ำทั้งระยะตัวอ่อนและตัวเต็มวัย นอกจากนี้ยังพบไรตัวห้ำในวงศ์ Phytoseiidae ที่เป็นตัวห้ำของไรแมงมุมอ้อย

แหล่งข้อมูล : ไรศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด กลุ่มงานวิจัยไรและแมงมุม กองกีฏและสัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร. 2543.

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น มาคา เพื่อป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟูบำรุง เสริมสร้างภูมิคุ้มกันจากโรคพืช และแมลงศัตรูพืช และส่งเสริมการเจริญเติบโต
โรคใบด่างข้าวโพด
โรคใบด่างข้าวโพด
โรคใบด่างในข้าวโพด เกิดจากเชื้อไวรัส Maize dwarf mosaic virus วงศ์ Potyviridae เป็น subgroup ของเชื้อ sugarcane mosaic virus (SCMV-MDB)

การแพร่ระบาด อาศัยเพลี้ยอ่อนข้าวโพดเป็นพาหะ (Corn leaf aphid : Rhopalosiphum maidis Fitch) ปริมาณการแพร่ระบาดของเพลี้ยอ่อนข้าวโพดมีผลต่อการแพร่ระบาดของโรค นอกจากนี้ยังแพร่ระบาดโดยการสัมผัส การติดไปกับเครื่องมือทางการเกษตร และสามารถถ่ายทอดไปกับเมล็ดพันธุ์

ที่มา http://www.farmkaset..link..

โรคใบด่างข้าวโพด ยังไม่มียารักษาโดยตรง ทำได้โดยการป้องกันกำจัด แมลงพาหะของโรค เช่น เพลี้ยอ่อนข้าวโพด และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา เพลี้ยป้องกันกำจัดแมลงพาหะ และ FK-1 เพื่อ ฟื้นฟู บำรุง สร้างภูมิต้านทานต่อโรคและแมลง ส่งเสริมการเจริญเติบโต
อาการผิดปกติของมันสำปะหลังที่เกิดจากสารกำจัดวัชพืช
อาการผิดปกติของมันสำปะหลังที่เกิดจากสารกำจัดวัชพืช
มันสำปะหลังมักได้รับผลกระทบจากสารกำจัดวัชพืชที่ใช้พ่นเพื่อกำจัดวัชพืชในแปลงที่อยู่ใกล้เคียง ทำให้มีการปลิวของละอองสาร (spray drift) มาสู่แปลงปลูกมันสำปะหลัง นอกจากนี้ยังเกิดขึ้นได้จากเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังเอง มีการใช้สารไม่ถูกต้อง เช่น พ่นไดยูรอนเพื่อควบคุมวัชพืช หลังจากที่มันสำปะหลังงอกแล้ว ทำให้เกิดความผิดปกติ

สารกำจัดวัชพืชชนิดที่เป็นปัญหาต่อมันสำปะหลังที่พบบ่อยครั้ง ได้แก่ 2_4 ดี อามีทริน อาทราซีน ไกลโฟเสท ไดยูรอน และพาราควอท ทำให้มันสำปะหลังแสดงอาการผิดปกติในรูปแบบต่างๆ ขึ้นอยู่กับชนิดของสารและกลไกในการทำลายของสารนั้นๆ

2_4-ดี (2_4-D)

อาการผิดปกติขึ้นกับปริมาณสารที่ได้รับ เช่น ใบยอดไม่คลี่ ใบผิดรูป ยอดโค้งงอ ก้านใบลู่ลง
ใบบิดหงายขึ้น ใบเหลือง ใบไหม้ ยอดไหม้ ก้านใบและลำต้นบวม เห็นรอยสีขาว หากได้รับสารปริมาณมากทำให้ใบไหม้ ยอดไหม้

อามีทริน (ametryn)

ทำให้มันสำปะหลังมีอาการใบเหลือง ใบไหม้ หากได้รับสารในปริมาณมากทำให้ยอดไหม้
กิ่งแห้งตาย

อาทราซีน (atrazine)
ทำให้มันสำปะหลังมีอาการใบเหลือง ใบไหม้ หากได้รับสารในปริมาณมาก ทำให้ยอดไหม้
กิ่งแห้งตาย

ไดยูรอน (diuron)
ทำให้ใบเหลือง ใบไหม้ หากรากมันสำปะหลังดูดสารจากทางดิน ทำให้เส้นใบเป็นรอยไหม้สีน้ำตาลอ่อน และต่อมาใบไหม้

ไกลโฟเสท (glyphosate)
ทำให้ใบมันสำปะหลังมีขนาดเล็ก แผ่นใบแต่ละหยักแคบเรียวเล็กเป็นเส้น ต้นแคระแกร็น

พาราควอท (paraquart)
ทำให้ใบไหม้เป็นจุดหรือลามติดกันแล้วแต่ขนาดละอองสารที่ได้รับ ในมันสำปะหลังบางพันธุ์เมื่อสารสัมผัสโดนส่วนเนื้อเยื่อเจริญขณะต้นเล็ก ทำให้มีการแตกกิ่ง ใบมีแค่ 1-2 หยัก

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟู บำรุง เร่งการแตกยอดใบไหม้ ส่งเสริมการเจริญเติบโต และสร้างภูมิต้านทานต่อโรคและแมลง
รับมือ โรคราน้ำค้าง ในพืชผักตระกูลกะหล่ำและผักกาด
รับมือ โรคราน้ำค้าง ในพืชผักตระกูลกะหล่ำและผักกาด
อากาศเย็นมีความชื้นสูงในตอนเช้า และอากาศร้อนในเวลากลางวันช่วงนี้ กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรผู้ปลูกพืชผักตระกูลกะหล่ำและผักกาด อาทิ กวางตุ้ง กะหล่ำปลี กะหล่ำดอก คะน้า ผักกาดขาว ผักกาดหอม และบรอกโคลี ให้เตรียมรับมือการระบาดของโรคราน้ำค้าง ที่สามารถพบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโตของพืช จะพบอาการของโรคบนใบที่อยู่บริเวณด้านล่างของต้นก่อน จากนั้นแผลจะขยายลุกลามไปยังใบที่อยู่ด้านบนของต้นพืช โดยมีอาการเริ่มแรกบริเวณด้านบนใบเป็นจุดแผลสีเหลือง หรืออาจเป็นปื้นสีเหลือง

เมื่อสภาพอากาศมีความชื้นสูงในตอนเช้า มักพบเส้นใยเชื้อราเป็นขุยสีขาวถึงเทาตรงแผลด้านใต้ใบ หากพบโรคระบาดรุนแรง แผลจะลามขยายใหญ่ทำให้เนื้อใบเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ต่อมาใบจะเหลืองและแห้งตาย กรณีพบโรคในระยะต้นกล้า ใบเลี้ยงจะเกิดจุดแผลสีน้ำตาล ทำให้ต้นแคระแกร็นและตายในที่สุด ส่วนในกะหล่ำดอกและบรอกโคลี ถ้าพบเชื้อราเข้าทำลายรุนแรง ก้านดอกจะยืดและดอกอาจจะบิดเบี้ยวเสียรูปทรงได้

เกษตรกรควรเลือกใช้เมล็ดพันธุ์สะอาดที่มีคุณภาพดีจากแหล่งปลอดโรค และก่อนปลูกควรแช่เมล็ดพันธุ์ในน้ำอุ่นอุณหภูมิประมาณ 50 องศาเซลเซียส (ต้มน้ำจนเดือดแล้วเติมน้ำอุณหภูมิปกติลงไปผสมอีก 1 เท่า) นาน 20-30 นาที หรือคลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืชเมทาแลกซิล 35% ดีเอส อัตรา 10 กรัมต่อเมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม จากนั้น เกษตรกรควรปลูกพืชให้มีระยะห่างกันพอสมควร ไม่เบียดแน่นจนเกินไป เพราะจะทำให้เกิดความชื้นสูง อากาศไม่ถ่ายเท และโรคระบาดได้รวดเร็ว

หลังการเก็บเกี่ยวผลผลิตเรียบร้อยแล้ว เกษตรกรควรเก็บเศษซากพืชส่วนที่หลงเหลือในแปลง และหมั่นกำจัดวัชพืชในแปลงนำไปทำลายนอกแปลงปลูกทันที เพื่อลดการสะสมเชื้อราสาเหตุโรค หลีกเลี่ยง การปลูกพืชชนิดเดียวกันซ้ำในพื้นที่แปลงเดิม ควรปลูกพืชชนิดอื่นหมุนเวียน และควรทำความสะอาดเครื่องมืออุปกรณ์ทางการเกษตรที่ใช้กับต้นเป็นโรคก่อนนำกลับมาใช้ใหม่กับต้นปกติทุกครั้ง

หากพบโรคเริ่มระบาด ให้เกษตรกรพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืชไดเมโทมอร์ฟ 50% ดับเบิ้ลยูพี อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือสารเมทาแลกซิล 25% ดับเบิ้ลยูพี อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือสารแมนโคเซบ 80% ดับเบิ้ลยูพี อัตรา 50 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือสารแมนโคเซบ+เมทาแลกซิล-เอ็ม 64%+4% ดับเบิ้ลยูจี อัตรา 80 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือสารฟอสอีทิล-อะลูมิเนียม 80% ดับเบิ้ลยูพี อัตรา 50 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร โดยพ่นให้ทั่วทั้งด้านบนใบและใต้ใบ ทุก 5-7 วัน

อังคณา ว่องประสพสุข : ข่าว

กรมวิชาการเกษตร

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น ไอเอส เพื่อป้องกันกำจัด โรคราน้ำค้าง ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟู บำรุง สร้างภูมิต้านทาน และส่งเสริมผลผลิต
กรมวิชาการเกษตร เเนะเกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลแตงให้ระวัง โรคราน้ำค้าง
กรมวิชาการเกษตร เเนะเกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลแตงให้ระวัง โรคราน้ำค้าง
ในระยะที่มีลมแรงและอากาศเย็นลงช่วงนี้ กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลแตง อาทิ แตงกวา แตงร้าน แตงโม แตงไทย เมล่อน แคนตาลูป ซูกินี ฟักเขียว ฟักทอง ฟักแม้ว มะระจีน และบวบ ให้หมั่นสังเกตการระบาดของ “โรคราน้ำค้าง” ที่สามารถพบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโตของพืช มักพบแสดงอาการเริ่มแรกของโรคบนใบที่อยู่บริเวณด้านล่างของต้นมีแผลฉ่ำน้ำ ต่อมาแผลจะขยายลุกลามไปยังใบที่อยู่ด้านบนตามกรอบของเส้นใบย่อย ทำให้เห็นแผลเหลี่ยมเล็กเปลี่ยนเป็นสีเหลือง

กรณีที่มีความชื้นสูงในตอนเช้า จะพบเส้นใยของเชื้อราเป็นขุยสีขาวถึงเทาตรงแผลใต้ใบ จากนั้นแผลจะขยายติดต่อกันเป็นแผลขนาดใหญ่ และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มหรือเทาดำ หากอาการรุนแรงจะทำให้ใบเหลืองและแห้งตายทั้งต้น ต้นพืชที่เป็นโรคจะติดผลน้อย ผลมีขนาดเล็ก คุณภาพของผลและความหวานจะลดลง ถ้าต้นพืชเป็นโรคในระยะมีผลอ่อน จะทำให้ผลลีบเล็กและบิดเบี้ยว

สำหรับพื้นที่ที่พบอาการของโรคนี้ หลังจากการเก็บเกี่ยวผลผลิตเรียบร้อยแล้ว ให้เกษตรกรเก็บเศษซากพืชส่วนที่หลงเหลือและหมั่นกำจัดวัชพืชในแปลงนำไปทำลายนอกแปลงปลูกทันที เพื่อลดการสะสมเชื้อราสาเหตุโรค อากาศถ่ายเทได้สะดวก และทำลายแหล่งอาศัยของด้วงเต่าแตง อีกทั้ง ควรปลูกพืชชนิดอื่นหมุนเวียนที่ไม่ใช่พืชตระกูลแตง และไม่ควรปลูกพืชแน่นจนเกินไป เพราะในแปลงปลูกจะเกิดความชื้นสูง

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น ไอเอส เพื่อป้องกัน กำจัดโรคราน้ำค้าง ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟู บำรุ่ง เสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรคและแมลง ส่งเสริมการเจริญเติบโตและผลผลิต
สวนเงาะเฝ้าระวังการเกิด โรคราดำเงาะ มักพบได้ในระยะที่ต้นเงาะเริ่มติดผลอ่อน
สวนเงาะเฝ้าระวังการเกิด โรคราดำเงาะ มักพบได้ในระยะที่ต้นเงาะเริ่มติดผลอ่อน
อากาศร้อน มีลมกระโชกแรง และมีฝนตกในบางพื้นที่ระยะนี้ กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรชาวสวนเงาะเฝ้าระวังการเกิดโรคราดำ มักพบได้ในระยะที่ต้นเงาะเริ่มติดผลอ่อน เริ่มแรกจะพบคราบราสีดำติดตามส่วนต่างๆ ของต้นเงาะ เช่น ใบ กิ่ง ก้านดอก ช่อดอก ขั้วผล และร่องขน หากมีคราบราดำที่บนใบ จะส่งผลให้พืชรับแสงได้ไม่เพียงพอ กรณีพบราดำขึ้นปกคลุมช่อดอก จะทำให้ไม่สามารถผสมเกสรได้ และมีดอกร่วง ถ้ามีราดำขึ้นปกคลุมผล จะทำให้ผิวผลไม่สวย ผลดูสกปรก จำหน่ายไม่ได้ราคา

สำหรับแนวทางในการป้องกันโรคราดำ หากพบโรคให้เกษตรกรพ่นด้วยน้ำเปล่าล้างคราบราดำที่ติดตามส่วนต่างๆ ของต้นเงาะ เพื่อลดปริมาณเชื้อสาเหตุโรค จากนั้น ให้เกษตรกรหมั่นตรวจและกำจัดวัชพืชในแปลงปลูกนำไปเผาทำลายนอกแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ เพื่อลดความชื้นสะสม ไม่ให้มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการระบาดของโรค และทำลายแหล่งอาศัยของแมลงปากดูด

นอกจากนี้ มักพบเชื้อราสาเหตุโรคเจริญบนสารเหนียวที่แมลงปากดูดขับถ่ายไว้ในช่วงที่มีการระบาดของเพลี้ยแป้ง โดยเพลี้ยแป้งบางชนิดอาจอาศัยอยู่ในดินบริเวณโคนต้นพืชหรือรากวัชพืช ซึ่งมีมดเป็นตัวพาหนะช่วยเคลื่อนย้ายตัวอ่อนของแมลงนำพาไปยังส่วนต่างๆ ของพืช ให้เกษตรกรตัดแต่งกิ่งเงาะเพื่อลดปริมาณมด จากนั้น ให้ใช้เศษผ้าชุบน้ำมันเครื่องผูกรอบโคนต้น เพื่อป้องกันมดและเพลี้ยแป้งที่อาศัยอยู่ในดินไต่ขึ้นมาบนต้นเงาะ ส่วนเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการเกษตรเมื่อใช้ในแปลงที่มีการระบาดแล้ว เกษตรกรควรนำเครื่องมือมาทำความสะอาดด้วยการล้างและผึ่งแดดให้แห้งก่อนนำกลับไปใช้ในแปลงทุกครั้ง

ที่มา http://www.farmkaset..link..

มาคา ป้องกันกำจัดเพลี้ยต่างๆ แมลงพาหะของโรค
ไอเอส ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
FK-1 ฟื้นฟู บำรุง เสริมสร้างภูมิต้านทาน ส่งเสริมการเจริญเติบโตและ ผลผลิต
898 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 89 หน้า, หน้าที่ 90 มี 8 รายการ
|-Page 68 of 90-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
กำจัดเพลี้ย ใน น้อยหน่า เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/11 15:59:11 - Views: 3398
โรคข้าว: โรคกาบใบแห้ง (Sheath blight Disease) ป้องกัน ยับยั้งด้วย ไอเอส บำรุงด้วย FK-1
Update: 2564/01/28 10:56:01 - Views: 3449
การเลือกซื้อ ดาบ คาตานะ ดาบซามูไร ให้ได้คุณภาพดี ในราคาไม่แพง
Update: 2566/10/28 12:32:08 - Views: 9678
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร: ให้พลังแก่ต้นพริกหยวกทุกช่วงอายุ โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก เมล็ดใหญ่ ดกเต็มต้น
Update: 2567/02/12 14:48:27 - Views: 3448
แนวทางการป้องกันและควบคุมเพลี้ยในต้นกล้วย
Update: 2566/11/20 10:50:46 - Views: 3441
เมล่อน แคนตาลูป โรคราน้ำค้างแคนตาลูป โรคใบจุดในแคนตาลูป โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/09/23 21:05:07 - Views: 3464
ยาอินทรีย์ ยับยั้งโรคสลัด ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ผักสลัดใบจุด ผักสลัดใบไหม้ ยาแก้เพลี้ยสลัด
Update: 2563/06/30 08:05:20 - Views: 3554
โรคมะพร้าวใบจุด โรคมะพร้าวยอดเน่า โรคมะพร้าวผลร่วง เป็นโรคมะพร้าว ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
Update: 2564/08/19 05:40:02 - Views: 3609
โรคสับปะรด ที่เกิดจากเชื้อราต่างๆ ทำให้เกิดอาการสับปะรดยอดเน่า รากเน่า ใบไหม้ ยกตัวอย่างได้ดังต่อไปนี้
Update: 2566/11/08 06:16:07 - Views: 10031
ฮิวมิค FK สารอินทรีย์เข้มข้น ช่วยให้มะพร้าวเจริญเติบโตแข็งแรง ผลผลิตดก และยังใช้ได้กับพืชทุกชนิด!
Update: 2567/10/22 09:34:42 - Views: 134
การป้องกัน กำจัดเพลี้ย กำจัดแมลงศัตรูพืช ด้วย ชีวภัณฑ์ บิวเวอเรีย และ เมธาไรเซียม ได้ผลดี และปลอดภัย
Update: 2566/11/10 06:26:57 - Views: 9504
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรครากขาว รากแดง รากน้ำตาล ใน ยางพารา ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/18 08:51:41 - Views: 3410
คุณสามารถที่จะเอาร้องเท้าใส่เข้าไปในไมโครเวฟได้ แต่มันจะไม่มีทางออกมาเป็นคุ๊กกี้
Update: 2556/05/06 22:46:53 - Views: 3431
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสนิม ในแก้วมังกร ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/03 13:30:50 - Views: 3693
คู่มือป้องกันกำจัดโรคเชื้อราต่างๆในดาวเรือง ดาวเรืองใบไหม้ ดอกไหม้ ดอกเป็นจุด ราแป้ง ฯลฯ
Update: 2566/05/01 10:27:34 - Views: 10341
โรคแอนแทรคโนสในทุเรียน
Update: 2564/04/27 12:41:00 - Views: 3470
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในถั่วเขียวอย่างได้ผล
Update: 2566/05/13 10:26:44 - Views: 3432
มะเขือใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ใบเหลือง ใบแห้ง โรคราต่างๆในมะเขือ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/07 22:48:49 - Views: 3733
หนอนมะม่วง หนอนเจาะผลมะม่วง หนอนเจาะลำต้นมะม่วง หนอนต่างๆ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
Update: 2564/09/19 23:13:53 - Views: 3574
คู่มือป้องกันกำจัดโรคราต่างๆในแมคคาเดเมีย แมคคาเดเมียใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ราต่างๆ
Update: 2566/05/01 15:18:59 - Views: 10121
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022