[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - ราน้ำค้าง
531 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 53 หน้า, หน้าที่ 54 มี 1 รายการ

โรคราน้ำค้างในฟักแม้ว
โรคราน้ำค้างในฟักแม้ว
กรมวิชาการเกษตร เพื่อเกษตรกร ในช่วงที่มีอากาศหนาว มีน้ำค้างลงจัด และมีความชื้นในอากาศสูงเช่นนี้ กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกฟักแม้ว (ชาโยเต้ หรือ มะระหวาน) ให้หมั่นสังเกตอาการของโรคราน้ำค้างที่สามารถพบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต มักพบอาการของโรคบนใบที่อยู่บริเวณด้านล่างของต้นก่อน ต่อมาขยายลุกลามไปยังใบที่อยู่ด้านบน เริ่มแรกพบแผลเหลี่ยมเล็กฉ่ำน้ำตามกรอบของเส้นใบย่อย ต่อมาแผลเปลี่ยนเป็นสีเหลือง

กรณีที่ในตอนเช้ามีความชื้นสูง จะพบเส้นใยเชื้อราเป็นขุยสีขาวเทาตรงแผลใต้ใบ จากนั้น แผลจะขยายใหญ่ติดต่อกัน และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มหรือเทาดำ หากอาการรุนแรง จะทำให้ใบเหลืองและแห้งตายทั้งต้น และต้นที่เป็นโรคจะติดผลน้อย ผลมีขนาดเล็ก คุณภาพของผลจะลดลง กรณีเป็นโรคในระยะผลอ่อน จะทำให้ผลลีบเล็ก และบิดเบี้ยว

สำหรับพื้นที่ที่พบอาการของโรคราน้ำค้าง เกษตรกรควรหมั่นตรวจและกำจัดวัชพืชในแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ และตัดแต่งใบที่อยู่ด้านล่างของต้นออกบางส่วน เพื่อให้แปลงปลูกมีอากาศถ่ายเทสะดวก ลดการสะสมเชื้อราสาเหตุโรค และทำลายแหล่งอาศัยของด้วงเต่าแตง อีกทั้งควรปลูกพืชชนิดอื่นหมุนเวียนที่ไม่ใช่พืชตระกูลแตง

ภายหลังเก็บเกี่ยวผลผลิตเรียบร้อยแล้ว ให้เกษตรกรเก็บเศษซากพืชส่วนที่เหลือนำไปเผาทำลายนอกแปลงปลูกทันที และให้เลือกใช้ผลหรือกิ่งพันธุ์คุณภาพดีจากแหล่งปลอดโรค หลีกเลี่ยงการปลูกพืชแน่นจนเกินไป เพราะจะทำให้เกิดความชื้นสูง อากาศไม่ถ่ายเท และโรคระบาดได้รวดเร็ว ส่วนแปลงที่เป็นโรค ควรงดการให้น้ำในช่วงเย็น กรณีพบด้วงเต่าแตงที่เป็นพาหนะเชื้อราสาเหตุโรค

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น ไอเอส เพื่อป้องกัน รักษาโรคราน้ำค้าในฟักแม้ว ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟู บำรุงฟักแม้ว เสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรคและแมลง ส่งเสริมการเจริญเติบโต และเพิ่มผลผลิต
รับมือ โรคราน้ำค้างในข้าวโพด
รับมือ โรคราน้ำค้างในข้าวโพด
ในระยะนี้จะมีอากาศร้อนและมีฟ้าหลัวตอนกลางวัน และมีฝนฟ้าคะนองกับมีลมกระโชกแรงบางแห่ง กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดให้หมั่นสังเกตอาการของโรคราน้ำค้าง มักพบแสดงอาการในระยะที่เริ่มเพาะปลูกจนถึงระยะที่ต้นข้าวโพดมีอายุประมาณ 30 วัน ซึ่งในระยะนี้ต้นข้าวโพดจะอ่อนแอต่อโรคนี้มาก โดยอาการของโรคจะพบได้ตั้งแต่ข้าวโพดเริ่มงอก เริ่มแรกจะพบจุดเล็กสีเขียวฉ่ำน้ำบนใบอ่อน ต่อมาใบข้าวโพดบริเวณยอดมีสีเหลืองซีด หรือใบลายเป็นทางสีเขียวอ่อนสลับเขียวแก่ ในเวลาเช้าที่มีอากาศค่อนข้างเย็นและมีความชื้นสูง ด้านใต้ใบมักพบส่วนขยายพันธุ์ของเชื้อราเป็นผงสีขาวจำนวนมาก บางครั้งพบยอดข้าวโพดแตกเป็นพุ่ม ต้นแคระแกร็น เตี้ย ข้อถี่ ไม่มีฝักหรือมีฝักขนาดเล็ก ก้านฝักมีความยาวมากหรือมีจำนวนฝักมากกว่าปกติ แต่ฝักจะไม่สมบูรณ์ เช่น มีจำนวนเมล็ดน้อย หรือไม่มีเมล็ดเลย

กรณีเริ่มพบการระบาดของโรค ให้เกษตรกรถอนต้นกล้าข้าวโพดที่แสดงลักษณะอาการของโรคไปเผาทำลายนอกแปลงปลูกทันที เนื่องจากเชื้อสาเหตุโรค สามารถเข้าทำลายต้นข้าวโพดได้ตั้งแต่ในระยะที่ข้าวโพดเริ่มงอก ซึ่งการพ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืชหลังจากต้นข้าวโพดอายุ 20 วันขึ้นไป จะไม่สามารถป้องกันกำจัดโรคนี้ได้ สำหรับพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคควรปลูกพืชชนิดอื่นหมุนเวียน ในส่วนของข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่มีพื้นที่ปลูกเป็นบริเวณกว้าง ให้เน้นการป้องกันกำจัดโดยใช้วิธีการคลุกเมล็ดพันธุ์

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น ไอเอส เพื่อป้องกัน รักษาโรคราน้ำค้างในข้าวโพด ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟูข้าวโพด บำรุง เสริมสร้างภูมิต้านทานโรคราน้ำค้าง รวมถึงส่งเสริมการเจริญเติบโต ตลอดจนเพิ่มผลผลิต
โรคราน้ำค้าง (Downy mildew) ขององุ่น
โรคราน้ำค้าง (Downy mildew) ขององุ่น
ลักษณะอาการของโรค/การเข้าทำลาย เข้าทำลายในใบ ช่อดอก กิ่งอ่อนและมือจับ แต่จะพบมากที่สุดบนใบและช่อดอก อาการบนใบจะเห็นเป็นจุดเหลืองเล็กๆ ทางด้านบนใบ และจะขยายโตขึ้น บริเวณใต้ใบจะพบราสีขาวเป็นกระจุก ใบที่ถูกทำลายมากจะมีสีน้ำตาลและแห้งตายไปในที่สุด อาการบนช่อดอกพบในระยะดอกใกล้บาน พบแผลสีเขียวปนเหลือง และจะเห็นเชื้อราขาวฟูบนดอก เมื่ออาการรุนแรงจะเป็นสีน้ำตาลแก่ และแห้งตายติดกับเถาไม่ร่วง บนกิ่งอ่อนจะพบแถบสีน้ำตาลอ่อนตามแนวยาวของกิ่ง และเห็นเชื้อราสีขาว ยอดชะงักการเจริญเติบโต โรคนี้มีความรุนแรงกับองุ่นมาก

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด​ โรคราน้ำค้างองุ่น ฉีดพ่น ไอเอส เพื่อป้องกัน กำจัด รักษา และ ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟู บำรุง เสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรคและแมลง ส่งเสริมผลผลิต ทั้งปริมาณ และคุณภาพ
โรคราน้ำค้าง
โรคราน้ำค้าง
การดูแลรักษาต้นพืชให้ห่างไกลจากโรคพืชนับว่าเป็นสิ่งสำคัญในการปลูกพืช โดยโรคพืชนั้นแต่ละฤดูกาลก็เกิดโรคแตกต่างกันไป แต่โรคที่สามารถระบาดได้ง่ายในช่วงฤดูฝน คือโรคที่เกิดจากเชื้อรา เนื่องจากภูมิอากาศเย็นขึ้นและมีความชื้นสูง ทำให้เหมาะแก่การเติบโตของเชื้อราบางชนิด โดยเฉพาะโรคราน้ำค้าง ซึ่งเป็นโรคที่สามารถแพร่ระบาดได้ง่ายในต้นพืช และยังแฝงตัวอยู่ในใบพืชรวมทั้งเมล็ดพันธุ์ของพืชได้อีกด้วยครับ

โรคราน้ำค้างจะเกิดจากเชื้อราชนิดหนึ่งที่สามารถแพร่กระจายได้ด้วยลมและฝน ที่พัดพาเชื้อราของโรคราน้ำค้างไปติดต้นพืชชนิดอื่น และสัตว์ขนาดเล็กที่อาศัยอยู่บริเวณพืชพันธุ์ที่เพาะปลูกยังสามารถนำพาเชื้อราดังกล่าวไปติดต้นพืชต้นอื่นได้อีกด้วยครับ เพื่อนๆ เกษตรกรจึงควรดูแลไม่ให้โรคราน้ำค้างระบาดในแปลงพืชเพราะอาจไปทำลายผลผลิตที่เพาะปลูกให้เสียหายและเสียราคาได้ครับ

โรคราน้ำค้างจะเกิดในต้นพืชได้ทั้งบริเวณใบ ดอก เมล็ดและลำต้น แต่ส่วนใหญ่จะพบว่าเกิดบริเวณใบ โดยใบจะมีลักษณะเป็นจุดสีเทาขาวก่อนที่จะกลายเป็นแผลสีเหลืองปนน้ำตาลเป็นจุดๆ กระจายเป็นวงกว้างและติดไปยังใบอื่น เชื้อราของโรคราน้ำค้างมักจะติดต่อในใบพืชที่อยู่ด้านล่างก่อนจะติดสู่ใบพืชปลายยอดและระบาดในแปลงพืชได้ เมื่อพืชเป็นโรคราน้ำค้างรุนแรงจะทำให้พืชเหี่ยวเฉาและตายในที่สุด หากพบโรคราน้ำค้างในต้นกล้าจะส่งผลให้ต้นกล้าตายได้มากกว่าต้นพืชที่เจริญแล้ว เพราะพืชที่เจริญเติบโตจะมีภูมิคุ้มกันดีกว่าต้นกล้าครับ

วิธีการป้องกันโรคราน้ำค้างนั้นต้องเริ่มจากการคัดเลือกเมล็ดที่ไม่มีประวัติโรคหรือเชื้อรามาเพาะปลูกลงแปลง และเพื่อให้แน่ใจควรนำเมล็ดที่จะเพาะปลูกไปแช่ในน้ำร้อนอุณหภูมิ 50 องศาประมาณ 20-30 นาทีก่อนปลูกเพื่อฆ่าเชื้อโรคต่างๆ ที่ติดมากับเมล็ด และควรปลูกผักโดยเว้นระยะห่างระหว่างต้นพอประมาณเพื่อให้อากาศสามารถถ่ายเทได้ดี แสงแดดส่องถึงลำต้นและใบอย่างทั่วถึง พุ่มใบของแต่ละต้นมีระยะห่างจากกัน เพื่อป้องกันโรคติดต่อระหว่างพืชได้ และควรปลูกพืชหมุนเวียน เพื่อป้องกันการติดโรคในแปลงผัก แปลงนา ต่างๆ และควรหมั่นสังเกตต้นพืชในแปลงของเราสม่ำเสมอ หากพบพืชที่มีอาการเป็นโรคน้ำค้างควรใช้สารป้องกันและกำจัดฉีดพ่นบริเวณต้นพืช

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น ไอเอส เพื่อป้องกัน รักษาโรคราน้ำค้าง และ ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟูพืช บำรุง สร้างภูมต้านทาน และส่งเสริมผลผลิต
ปลูกองุ่น ระวังการระบาด ของโรคราน้ำค้าง
ปลูกองุ่น ระวังการระบาด ของโรคราน้ำค้าง
กรมวิชาการเกษตร แจ้งว่าช่วงนี้อากาศเย็น และมีน้ำค้างในตอนเช้า ส่วนช่วงกลางวัน แดดจัดและมีอากาศร้อน แนะเกษตรกรผู้ปลูกองุ่นให้เฝ้าสังเกตอาการระบาดของโรคราน้ำค้าง มักพบในระยะใบอ่อนเปลี่ยนเป็นใบแก่ อาการที่ใบ เนื้อเยื่อบนใบเกิดแผลสีเหลืองอ่อน หากสภาพอากาศในตอนเช้ามีความชื้นสูง ที่ใต้ใบด้านตรงข้ามแผลจะพบเชื้อราสาเหตุโรคสีขาวขึ้นฟู ต่อมาแผลเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล ถ้าโรคระบาดรุนแรง ก้านใบมีแผลช้ำ ใบจะเหลือง แห้ง และหลุดร่วง อาการที่ยอด เถาอ่อน และมือเกาะ มักพบเชื้อราสีขาวขึ้นฟูเป็นกลุ่มปกคลุม ยอดหดสั้น เถาและมือเกาะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลและแห้ง อาการที่ช่อดอกและผลอ่อน จะพบเชื้อราสีขาวขึ้นฟูปกคลุม ทำให้ดอกร่วง ช่อดอกเน่า และผลอ่อนร่วง

หากพบโรคเริ่มระบาดให้เกษตรกรหมั่นตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ ตัดแต่งทรงพุ่มให้โปร่ง มีอากาศถ่ายเทสะดวก และให้เก็บส่วนที่เป็นโรคออกจากแปลงไปเผาทำลายนอกแปลงปลูก เพื่อลดการสะสมของเชื้อสาเหตุโรค หลีกเลี่ยงการตัดแต่งกิ่งในช่วงฤดูหนาวที่สภาพอากาศมีความชื้นสูง หรือช่วงที่ฝนตกชุก เพราะโรคจะระบาดรวดเร็วและรุนแรง อีกทั้งไม่ควรใส่ปุ๋ยที่มีค่าไนโตรเจนสูงเกินไป เพราะจะทำให้พืชอ่อนแอต่อการเกิดโรค กรณีพบโรคเริ่มระบาด ให้เกษตรกรตัดแต่งส่วนที่เป็นโรคนำออกไปเผาทำลายนอกแปลงปลูก

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ เพื่อป้องกันกำจัด โรคราน้ำค้างองุ่น และ ฉีดพ่น FK-1 เพื่อฟื้นฟู บำรุง สร้างภูมิต้านทาน ส่งเสริมผลผลิต
โรคบวบ ราน้ำค้างบวบ ราแป้งบวบ บวบใบไหม้ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
โรคบวบ ราน้ำค้างบวบ ราแป้งบวบ บวบใบไหม้ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
บวบหอม บวบเหลี่ยม บวบขม บวบงู ซูกินี่ เป็นพืชระสั้น ได้ผลผลิตเร็ว สามารถปลูกหลังการปลูกข้าวโพด หรือหลังการทำนาได้ บวบ ก็มีปัญหาทางด้าน โรคและแมลงอยู่บ้าง ที่สามารถป้องกัน กำจัดได้ หากเข้าใจพื้นฐาน ของโรคพืช และแมลงศัตรูพืช

โรคราน้ำค้างของบวบ เป็นโรคประจำชนิดหนึ่งที่มักพบเสมอๆ เกิดจากราชั้นต่ำที่มีชื่อว่า ซูโดเพอเรอโนสปอร่า อาการมักแสดงบนใบ มีแผลเหลี่ยมเล็ก สีเหลือง บางครั้งเป็นแผลสีขาว หรือสีเทา ต่อมา ใบเหลือง แห้ง แผลจะเกิดในขอบเขตเส้นใบ เช่นเดียวกับแตงกวา

โรคราต่างๆนี้ ส่งผลให้ บวบ ติดผลน้อย ผลเล็ก ความหวานลดลง หากโรคราเหล่านี้ระบาดเร็ว จะส่งผลให้ใบเหลืองแห้งตายทั้งต้น เถาตายก่อนเก็บเกี่ยว

โรคราน้ำค้าง (downy mildew of grapes) มี Plasmopara viticola เป็นเชื้อราสาเหตุของโรค โรคราน้ำค้าง และแสดงอาการเป็นขุยสีขาวที่ใต้ใบ ด้านบนใบจะเป็นเป็นสีเหลืองจ้ำๆ ช่อดอก และผลอ่อนจะเหี่ยวแห้ง และมีอาการใบไหม้ โรคราน้ำค้าง ระบมาดมากในช่วงที่มีความชื้นสูง เช่น ฤดูฝน

โรคราแป้ง (เชื้อรา Oidium sp.) พบเชื้อราคล้ายผงแป้งสีขาวเกิดเป็นหย่อมๆ บนใบมักพบที่ใบส่วนล่างของต้นก่อน ถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมอาการโรคจะกระจายทั่วทั้งใบ และลุกลามขึ้นไปยังใบส่วนบนของต้น เห็นเชื้อราคล้ายผงแป้งสีขาวปกคลุมใบเกือบทั้งต้น ต่อมาใบค่อยๆซีดเหลืองและแห้ง หากโรคระบาดรุนแรงจะลุกลามไปยังทุกส่วนของพืช ทำให้ต้นแห้งตายในที่สุด ถ้าพืชเป็นโรคในระยะติดผลอ่อน จะทำให้ผลแกร็น บิดเบี้ยว ผวขรุขระ เป็นตุ่ม หรือแผลที่เปลือก

การป้องกันกำจัด โรคราต่างๆ
1. หมั่นตรวจสอบแปลงและป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มพบโรค
2. กำจัดวัชพืชในโรงเรือนและรอบโรงเรือน
3. งดให้น้ำในช่วงเย็น
4. ฉีดพ่น ไอเอส และ FK-1 ในอัตราส่วนที่แนะนำ สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้

ไอเอส ใช้ได้กับพืชทุกชนิด ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล กิ่งแห้ง โรคใบติด โรคราน้ำค้าง ราสนิม แอนแทรคโนส ไฟธอปโทร่า หรือ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ไอเอส หยุดโรค และ FK-1 ธาตุหลัก N-P-K ธาตุรอง ธาตุเสริม Ca_ Mg_ Zn สำหรับบำรุงให้แข็งแรง โตไว ผลผลิตดี สร้างภูมิคุ้มกันโรค

ตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ
#ราน้ำค้างบวบ #ราแป้งบวบ #ราแป้งซูกินี่ #ราน้ำค้างซูกินี่ #ราน้ำค้างองุ่น #ราแป้งองุ่น #แอนแทรคโนสองุ่น #ราน้ำค้างแคลตาลูป #ราน้ำค้างเมล่อน #ราน้ำค้างข้าวโพด #ราน้ำค้างถั่วเหลือง #ราน้ำค้างกะหล่ำปลี #ราน้ำค้างฟักแม้ว #ราน้ำค้างฟักเขียว #ราน้ำค้างแตงกวา #ราน้ำค้างมะระจีน #ราน้ำค้างฟักทอง #ข้าวไหม้คอรวง #ข้าวเน่าคอรวง #ข้าวขาดคอรวง #โรคข้าว #แตงโมเถาเหี่ยว #ราน้ำค้างแตงโม #แตงโมใบไหม้ #โรคพืช #โรคใบไหม้ #โรคราสนิม #โรคใบติด #ทุเรียนใบติด #โรคราน้ำค้าง #แอนแทรคโนส #ไฟธอปโทร่า #โรคกุ้งแห้ง #โรคใบจุด #ราแป้ง #โรคเหี่ยว

ตัวอย่างเชื้อรา สาเหตุโรคพืชต่างๆ
#Pyricularia_oryzae สาเหตุ โรคไหม้คอรวง ข้าวเน่าคอรวง
#Phytophthora_spp. #Sclerotium_spp. สาเหตุ โรครากเน่า โคนเน่า
#Capnodium_sp. #Meliola_sp. สาเหตุ โรคราดำ
#Maravaria_pterocarpi (ราสนิมพะยูง)
#Olivea_teetonae (ราสนิมสัก)
#Cercospora_sp. #Macrophoma_sp. สาเหตุ โรคใบจุด
#Alternaria_sp. #Phyllachora_sp. สาเหตุ โรคใบจุดนูนดำ
#Pestalotropsis_sp. สาเหตุ โรคใบไหม้
#Oidium_sp. #Uncinula_tectonas สาเหตุ โรคราแป้ง
#Verticillium_sp. #Fumsarium_spp. #Selerotium_sp. สาเหตุ โรคเหี่ยว

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง (เลือกแยกซื้อได้)

http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

ข้อมูลและอัตราผสมใช้
🍂 ไอเอส อัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)
🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส ได้เลย
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🍂ข้อมูลจำเพาะ ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค
*การใช้ ไอเอส ในช่วงรักษาโรคพืชจากเชื้อรา กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
การปลูกมะระ
การปลูกมะระ
มะระ (Bitter Gourd) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Momordica charantia

มะระเป็นพืชที่อยู่ในตระกูลแตง (Cucurbitaceae) เป็นพืชเมืองร้อน มักเจริญเติบโตได้ดีในสภาพภูมิอากาศเขตร้อนชื้น และดินแดนแทบทุกชนิดแต่เจริญเติบโตได้ดีในดินร่อนปนทรายที่มีการระบายน้ำดี pH ระหว่าง 5.5-7.2 มะระเป็นพืชฤดูเดียว มีการเจริญแบบเลื้อย มีลำต้นเป็นเถา มีมือเกาะช่วยพยุงลำต้น เมื่อปลูกจึงต้องทำค้างมีดอกตัวผู้และตัวเมียอยู่ในต้นเดียวกัน เป็นพืชที่ต้องการความเอาใจใส่มาก เพราะมีแมลงหลายชนิดคอยรบกวน หากขาดความเอาใจใส่เรื่องการป้องกันกำจัดแมลง การปลูกมะระจะไม่ได้ผล ไม่คุ้มกับการลงทุน

มะระสามารถแบ่งได้ 2 ประเภทดังนี้
1. มะระจีน ผลยาวใหญ่ เนื้อหนา ส่วนใหญ่มีน้ำตาทางยาวสลับน้ำตาละเอียด
2. มะระขี้นก ผลเล็ก น้ำตาแหลม เนื้อบาง

การเพาะกล้า
เตรียมวัสดุเพาะกล้า แล้วนำเมล็ดที่รากงอกแล้วไปเพาะในหลังจากต้นกล้างอก รดน้ำให้ชุ่ม
ควรทำหลังคาพลาสติกป้องกันฝน ถ้าต้นกล้าไม่สมบูรณ์ให้รดด้วยปุ๋ย 21-0-0 อัตรา 50 กรัม/น้ำ 20 ลิตรแล้วรดน้ำล้างใบ ควรรดน้ำให้ชุ่มอยู่เสมอ

การเตรียมแปลง
ถ้าดินมีสภาพเป็นกรดควรใส่ปูนขาวอัตรา 100-200 กิโลกรัมต่อไร่ ก่อนการไถพรวน การไถครั้งแรกควรเป็นการไถพลิกดิน แล้วตากทิ้งไว้ประมาณ 1 สัปดาห์ เพื่อเป็นการลดปริมารณวัชพืช ทำการหว่านปุ๋ยตรากระต่าย 15-15-15 อัตรา 50-80 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่ปุ๋ยคอก 1 ตันต่อไร่ แล้วใช้จอบหมุนพรวนกลบ (ไม่ควรไถพรวนดินจนแตกย่อย เพราะจะทำให้ดินแน่นในภายหลัง รากพืชจะไม่สามารถหยั่งได้ลึกเพียงพอ) ยกแปลงเป็นแปลงคู่ระยะระหว่างแปลงกว้าง 2-3 เมตร ร่องน้ำ 0.5 เมตร ปลูกแปลงละ 1 แถวระยะระหว่างต้น 100 cm.(เหมือนบวบ) รองก้นหลุมด้วยปุ๋ย 15-15-15

การย้ายกล้า
เมื่อต้นกล้ามีอายุประมาณ 2 สัปดาห์ ควรย้ายปลูกในเวลาเย็น เมื่อปลูกเสร็จควรรดน้ำทันทีช่วงแรกควรรดน้ำให้ชุ่มชื้นอยู่เสมอ

การห่อผล
เมื่อมะระออกดอกและติดผลขนาดโตยาวประมาณ 3 นิ้ว ควรใช้กระดาษทำเป็นถุง ขนาด 15 x 30 ซม. ปากถุงเปิดทั้งสองด้าน นำถุงที่ได้สวมผลมะระแล้วใช้ไม้กลัดๆปากถุงให้แขวนอยู่บนก้านของผล การห่อผลนี้จะช่วยไม่ถูกรบกรวนจากแมลงศัตรูพืชและยังทำให้ผลมีสีเขียวอ่อนน่ารับประทาน

การให้น้ำ
มะระเป็นพืชที่ต้องการน้ำมาก ต้องให้น้ำเช้า-เย็นทุกวัน ยกเว้นที่ฝนตก ต้นมะระยิ่งโตยิ่งต้องการน้ำมาก การให้น้ำต้องให้โดนยอดและโดยใบ โดยเฉพาะในช่วงติดผล ซึ่งอายุประมาณ 35-40 วัน มะระจะขาดน้ำไม่ได้เลย เพราะถ้าขาดน้ำลูกจะคดงอเหี่ยวไม่สมบูรณ์ มะระต้องการน้ำก็จริง แต่ไม่ควรให้น้ำขังแฉะในแปลง เพราะจะทำให้เน่าตายได้ ฉะนั้นในแปลงปลูกจึงควรมีทางระบายน้ำด้วย

การให้ปุ๋ย
การใส่ปุ๋ยแยกใส่ระยะตามความต้องการของมะระ คือ
· ปุ๋ยรองพื้น ปุ๋ยคอก 1 ตัน/ไร่ และปุ๋ยตรากระต่ายสูตร 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่
· อายุ 15-20 วัน หลังจากย้ายกล้าปลูก ใช้ปุ๋ยตรากระต่ายสูตร 15-15-15 อัตรา 30 กิโลกรัม/ไร่ โดยรอบโคน
· เริ่มติดลูกชุดแรก อายุประมาณ 40-45 วัน ใช้ปุ๋ยตรากระต่ายสูตร 15-15-15 อัตรา 20 กิโลกรัม/ไร่
· เก็บเกี่ยวผลผลิต 2-3 ครั้ง อายุประมาณ 65-70 วัน ใช้ปุ๋ยตรากระต่าย สูตร 15-15-15

การเก็บเกี่ยว
อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 45-50 วันหลังหยอดเมล็ดและแล้วแต่สายพันธุ์

โรคราน้ำค้าง
เกิดจากเชื้อรา Pseudoperospoa cubensis ระบาดในช่วงอุณหภูมิต่ำและความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศสูง ในระยะแรกแผลเป็นสีน้ำตาล ช้ำน้ำระหว่างเส้นใบ แผลเป็นเหลี่ยม ในระยะการระบาด เมื่อพลิกใบจะเห็นสปอร์สีดำและเส้นใยสีขาวในบริเวณแผล เมื่อระบาดหนักใบจะแห้งกรอบบริเวณขอบใบ ทำให้พืชไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้ ถ้าเป็นมากใบ เถาจะแห้งและตายในที่สุด ทำให้ผลผลิตลดลง

โรคราแป้ง
เกิดจากเชื้อรา Oidium ซึ่งสร้างสปอร์สีขาวคล้ายผงแป้งเคลือบอยู่บนใบและหลุดปลิวแพร่ระบาดไปในอากาศได้ง่าย เกิดเส้นใยสีขาวคล้ายผลแป้งโดยเฉพาะด้านบนใบและตามผล แผลมีลักษณะเป็นจุดกลมสีขาว ซึ่งจะขยายออกไปจนคลุมเต็มใบ ทำให้ใบแห้งกรอบเป็นสีน้ำตาล ซึ่งเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและทำให้ใบแห้งหมดทั้งเถา โรคนี้มักพบบนใบแก่ระบาดมากปลายฤดูฝนต่อกับต้นฤดูหนาว

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกัน กำจัด โรคราน้ำค้างมะระ และ โรคราแป้งมะระ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน กำจัดโรคเชื้อราต่างๆในพืช

บำรุงมะระ ให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งการเจริญเติบโต เพิ่มผลิต ฉีดพ่น FK-1
มะระขี้นก
มะระขี้นก
มีข้อมูลว่ามะระขี้นกเป็นสมุนไพรที่ใช้กันมานานนับพันปี ในเอเชีย อาฟริกา และละตินอเมริกา ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าวรวมกับข้อมูลการค้นคว้าถิ่นกำเนิดของมะระขี้นกที่ได้มีการค้นคว้ากันมากในอดีตพอจะสรุปได้ว่า ถิ่นกำเนิดของมะระขี้นกนั้นอยู่ในเขตร้อนของเอเชียและทางตอนเหนือของแอฟริกาเขตร้อน ซึ่งอาจรวมไปถึงเขตร้อนในอเมริกาใต้หรือแถบประเทศลาตินอเมริกาอีกด้วย เพราะในปัจจุบันนั้นมะระขี้นกสามารถเพาะปลูกหรือมีให้เห็นได้ในประเทศเขตร้อนชื้น เช่น ประเทศในแถบอเมริกาใต้ เช่น บราซิล _ อาร์เจนตินา _ ปารกวัย ฯลฯ แอฟริกาตะวันออก เช่น เคนยา _ แทนซาเนีย _ อูกานดา ฯลฯ และเอเชีย เช่น พม่า _ ไทย _ ลาว _ กัมพูชา เป็นต้น

ชื่ออื่น ๆ / ชื่อท้องถิ่น มะไห่ _ มะห่อย _ ผักไห่ _ ผักไซ (ภาคเหนือ) _ มะระหนู _ มะร้อยรู (ภาคกลาง) _ ผักสะไล _ ผักไส่ (ภาคอีสาน) _ ระ (ภาคใต้) _ ผักไห (นครศรีธรรมราช) _ ผักเหย (สงขลา) _ สุพะซู _ สุพะซู _ สุพะเด (กะเหรี่ยง - มะฮ่องสอน) _ โกควยเกี๋ย _ โคงกวย (จีน)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Momordica charantin Linn
ชื่อสามัญ Bitter cucumber_ Balsam pear_ Balsam apple_ Bitter melon_ Bitter gourd_ Carilla fruit
วงศ์ Cucurbitaceae

ประโยชน์สรรพคุณของมะระขี้นก
แก้ท่อน้ำดีอักเสบ
ช่วยทำให้เจริญอาหาร
ช่วยแก้ไข แก้ตัวร้อน ดับพิษร้อน แก้ปากเปื่อย เป็นขุม
แก้พิษฝี
บำรุงน้ำดี แก้ตับม้ามพิการ
แก้อักเสบฟกบวม แก้ปวดเนื่องจากลมคั่งในข้อ
แก้หอบหืด
ช่วยบำรุงร่างกาย บำรุงโลหิตระดู
แก้ตับม้ามอักเสบ
ช่วยขับพยาธิ
แก้เจ็บปวดจากพิษต่างๆ
เป็นยาระบายอ่อนๆ
แก้เบาหวาน
แก้ไข้หวัด
ช่วยต้านไวรัสเอดส์ ต้านมะเร็ง
ใบช่วยสมานแผล
ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด และเป็นยาระบาย
ช่วยป้องกันและรักษาโรคมาลาเรีย
รักษาอาการอาการกรดไหลย้อนหรือแผลในกระเพาะอาหาร
ลดการสร้างน้ำตาลจากตับ เสริมการเผาผลาญน้ำตาล


มะระขี้นกสามารถนำมารับประทาน หรือนำมาประกอบเป็นอาหารได้ เช่น ใบอ่อน ยอดอ่อน และผลอ่อน นึ่งหรือลวกให้สุก รับประทานเป็นผักจิ้มน้ำพริกปลาร้า น้ำพริกปลาทู น้ำพริกตาแดง และยังสามารถใช้เป็นส่วนผสมของแกงแค และคั่วแคได้มะระขี้นกมีรสขมมากกว่ามะระจีน จึงนิยมกินในหมู่ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ผลอ่อนนำไปต้มหรือเผากินได้ทั้งลูก ผลแก่ต้องนำมาผ่ากลาง คว้านเมล็ดออกเสียก่อน การลดความขมของมะระขี้นกนั้นทำได้โดยต้มน้ำให้เดือดจัด ใส่เกลือสักหยิบมือ ลวกมะระในน้ำเดือดสักครู่ แต่มะระจะยังคงมีผลสีเขียวสด การปรุงแกงจืดมะระขี้นกยัดไส้หมูสับ ต้องต้มนานหน่อยให้ความขมจางลง หรือปรุงอาหารเผ็ด เช่น พะแนงมะระขี้นกยัดไส้ หรือเป็นแกงเผ็ดก็ได้ ถ้าจะนำไปปรุงอาหารผัด เช่น ผัดกับไข่ ให้ต้มน้ำแล้วเททิ้งหนึ่งครั้ง หรือคั้นกับน้ำเกลือแล้วล้างออกเพื่อลดความขมก็ได้ อีกทั้งสมัยโบราณมีการนำมะระขี้นกมาปรุงเป็นกับข้าวต้มเค็มกินด้วย

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ไอเอส สารอินทรีย์ ฉีดพ่นเพื่อป้องกันกำจัด โรคมะระขี้นก ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น มะระขี้นกใบไหม้ โรคราแป้งมะระขี้นก โรคราน้ำค้างมะระขี้นก

FK-1 ฉีดพ่นมะระขี้นก เพื่อ บำรุง เร่งการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิต เสริมสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคและแมลง
โรคซูกินี่ (Zucchini) ราแป้งซูกินี่ ราน้ำค้างซูกินี่ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
โรคซูกินี่ (Zucchini) ราแป้งซูกินี่ ราน้ำค้างซูกินี่ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
โรคราน้ำค้าง (downy mildew of grapes) มี Plasmopara viticola เป็นเชื้อราสาเหตุของโรค โรคราน้ำค้าง และแสดงอาการเป็นขุยสีขาวที่ใต้ใบ ด้านบนใบจะเป็นเป็นสีเหลืองจ้ำๆ ช่อดอก และผลอ่อนจะเหี่ยวแห้ง และมีอาการใบไหม้ โรคราน้ำค้าง ระบมาดมากในช่วงที่มีความชื้นสูง เช่น ฤดูฝน

โรคราแป้งในพืชตระกูลแตง (เชื้อรา Oidium sp.) พบเชื้อราคล้ายผงแป้งสีขาวเกิดเป็นหย่อมๆ บนใบมักพบที่ใบส่วนล่างของต้นก่อน ถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมอาการโรคจะกระจายทั่วทั้งใบ และลุกลามขึ้นไปยังใบส่วนบนของต้น เห็นเชื้อราคล้ายผงแป้งสีขาวปกคลุมใบเกือบทั้งต้น ต่อมาใบค่อยๆซีดเหลืองและแห้ง หากโรคระบาดรุนแรงจะลุกลามไปยังทุกส่วนของพืช ทำให้ต้นแห้งตายในที่สุด ถ้าพืชเป็นโรคในระยะติดผลอ่อน จะทำให้ผลแกร็น บิดเบี้ยว ผวขรุขระ เป็นตุ่ม หรือแผลที่เปลือก

การป้องกันกำจัด โรคราน้ำค้าง
1. หมั่นตรวจสอบแปลงและป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มพบโรค
2. กำจัดวัชพืชในโรงเรือนและรอบโรงเรือน
3. งดให้น้ำในช่วงเย็น
4. ฉีดพ่น ไอเอส และ FK-1 ในอัตราส่วนที่แนะนำ

ไอเอส ใช้ได้กับพืชทุกชนิด ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล กิ่งแห้ง โรคใบติด โรคราน้ำค้าง ราสนิม แอนแทรคโนส ไฟธอปโทร่า หรือ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ไอเอส หยุดโรค และ FK-1 ธาตุหลัก N-P-K ธาตุรอง ธาตุเสริม Ca_ Mg_ Zn สำหรับบำรุงให้แข็งแรง โตไว ผลผลิตดี สร้างภูมิคุ้มกันโรค

ตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ
#ราแป้งซูกินี่ #ราน้ำค้างซูกินี่ #ราน้ำค้างองุ่น #ราแป้งองุ่น #แอนแทรคโนสองุ่น #ราน้ำค้างแคลตาลูป #ราน้ำค้างเมล่อน #ราน้ำค้างข้าวโพด #ราน้ำค้างถั่วเหลือง #ราน้ำค้างบวบ #ราน้ำค้างกะหล่ำปลี #ราน้ำค้างฟักแม้ว #ราน้ำค้างฟักเขียว #ราน้ำค้างแตงกวา #ราน้ำค้างมะระจีน #ราน้ำค้างฟักทอง #ข้าวไหม้คอรวง #ข้าวเน่าคอรวง #ข้าวขาดคอรวง #โรคข้าว #แตงโมเถาเหี่ยว #ราน้ำค้างแตงโม #แตงโมใบไหม้ #โรคพืช #โรคใบไหม้ #โรคราสนิม #โรคใบติด #ทุเรียนใบติด #โรคราน้ำค้าง #แอนแทรคโนส #ไฟธอปโทร่า #โรคกุ้งแห้ง #โรคใบจุด #ราแป้ง #โรคเหี่ยว

ตัวอย่างเชื้อรา สาเหตุโรคพืชต่างๆ
#Pyricularia_oryzae สาเหตุ โรคไหม้คอรวง ข้าวเน่าคอรวง
#Phytophthora_spp. #Sclerotium_spp. สาเหตุ โรครากเน่า โคนเน่า
#Capnodium_sp. #Meliola_sp. สาเหตุ โรคราดำ
#Maravaria_pterocarpi (ราสนิมพะยูง)
#Olivea_teetonae (ราสนิมสัก)
#Cercospora_sp. #Macrophoma_sp. สาเหตุ โรคใบจุด
#Alternaria_sp. #Phyllachora_sp. สาเหตุ โรคใบจุดนูนดำ
#Pestalotropsis_sp. สาเหตุ โรคใบไหม้
#Oidium_sp. #Uncinula_tectonas สาเหตุ โรคราแป้ง
#Verticillium_sp. #Fumsarium_spp. #Selerotium_sp. สาเหตุ โรคเหี่ยว

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง (เลือกแยกซื้อได้)

http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

ข้อมูลและอัตราผสมใช้
🍂 ไอเอส อัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)
🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส ได้เลย
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🍂ข้อมูลจำเพาะ ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค
*การใช้ ไอเอส ในช่วงรักษาโรคพืชจากเชื้อรา กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
ซูกินี่ (Zucchini)
ซูกินี่ (Zucchini)
ซูกินี่ (Zucchini) เป็นพืชตระกูลแตง รสหวานกรอบ มีกลิ่นเฉพาะตัว ทานสด หรือปรุงทานก็ได้ ดีต่อสุขภาพ รักษาโรคหอบหืด บำรุงผิวพรรณ ลดความดันเลือด

หากพูดถึงผักเพื่อสุขภาพที่ควรหามารับประทาน ซูกินี่ หรือ ซุกินี (Zucchini) ก็กำลังได้รับความนิยมไม่แพ้ผักชนิดอื่นๆ เรามีข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์ของซูกินีที่ดีต่อสุขภาพมาแนะนำดังต่อไปนี้

ซูกินี คืออะไร

ซูกินี เป็นพืชตระกูลแตง มีถิ่นกำเนิดอยู่แถบเม็กซิโก มีรสชาติหวานกรอบ จะมีกลิ่นเฉพาะตัว นิยมนำมารับประทานกันแบบสดหรือปรุงเป็นอาหารชนิดต่างๆ ใช้แทนบวบหรือแตงในอาหารชนิดต่างๆ เช่น ผัด แกงจืด แกงเลียง ต้มจิ้มน้ำพริก หรือใช้เป็นผักสด สามารถนำไปดองได้ด้วย อีกทั้งยังเป็นผักที่มีแคลอรี่ต่ำ ไม่มีไขมัน เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการควมคุบน้ำหนักเป็นอย่างมาก
ซูกินี เป็นผักที่อุดมไปด้วยวิตามินต่างๆ เช่น วิตามินซี วิตามินเอ วิตามินบี1 วิตามินบี2 วิตามินบี6 วิตามินเค เบตาแคโรทีน แคลเซียมและแมกนีเซียม โปแทสเซียม คอปเปอร์ โฟเลต ฟอสฟอรัส และแมงกานีส omega-3

สำหรับสรรพคุณของซูกินีนั้นจะช่วยช่วยรักษาโรคหอบหืด บำรุงสุขภาพของดวงตา ป้องกันต้อกระจก ลดความดันเลือด ลดความเสี่ยงของโรคภูมิต้านทานบกพร่อง ช่วยบำรุงผิวพรรณ ช่วยบำรุงประสาท และช่วยเพิ่มความจำได้ดีมากๆ

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ไอเอส ใช้ป้องกัน กำจัด โรคราน้ำค้างซูกินี่ โรคราแป้งซูกินี่

FK-1 ฉีดพ่น บำรุง เสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรค ให้กับซูกินี่ ส่งเสริมการเจริญเติบโตได้เป็นอย่างดี เพิ่มผลผลิต ทั้งด้านปริมาณ คุณภาพ ช่วยให้ผลโต มีน้ำหนักดี คุณภาพดี
531 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 53 หน้า, หน้าที่ 54 มี 1 รายการ
|-Page 48 of 54-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
เร่งโต ระเบิดราก เพิ่มผลผลิต ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 ฟื้นฟูพืช โตไว แข็งแรง จึงต้านทานต่อโรค
Update: 2564/03/07 12:42:20 - Views: 3415
ผลกระทบต่อสุขภาพ จากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
Update: 2564/08/12 22:06:31 - Views: 4196
กำจัดโรคแอนแทรคโนส โรคที่เกิดจากเชื้อรา ศัตรูพืชในทุเรียน ไอเอส และ FK-T ธรรมชาตินิยม ฟื้นฟูจากการทำลายของเชื้อรา
Update: 2566/05/26 15:43:29 - Views: 3417
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในมะปรางอย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2566/05/04 09:39:28 - Views: 3400
ยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง ปุ๋ยเร่งโตมันสำปะหลัง ปุ๋ยเร่งหัวมันสำปะหลัง ปุ๋ยน้ำฉีดมันสำปะหลัง FK
Update: 2564/08/27 23:33:50 - Views: 3596
โรคราใน ฟัก โรคราน้ำค้างในฟัก โรคราในพืชตะกูลฟัก โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู โตไว ผลผลิตดี
Update: 2564/10/02 04:54:52 - Views: 3400
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร: การดูแลอะโวคาโด้ในทุกช่วงอายุ เร่งโต ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ผลใหญ่ ผลดก เพิ่มผลผลิต
Update: 2567/02/12 14:58:12 - Views: 3536
โรคใบติด ป้องกันและกำจัดโรคใบติ ในทุเรียน โรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อราสกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติ
Update: 2566/05/20 15:22:15 - Views: 3388
ผักบุ้งทะเล แก้แผลเรื้อรัง แก้พิษฝีบวม แก้งูสวัด ถอนพิษ จากแมลงกัดต่อย พิษสัตว์ทะเล แมงกระพรุน
Update: 2563/05/23 13:58:08 - Views: 3641
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยหอย ในพืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/24 12:09:50 - Views: 3428
ปุ๋ยมันสำปะหลัง ทดแทนปุ๋ยเม็ด คุณภาพสูง ยาฯมันสำปะหลัง ครบจบที่เดียว แก้ มันสำปะหลังใบไหม้ เพลี้ยมันสำปะหลัง ราต่างๆ ยาแช่ท่อนพันธุ์
Update: 2565/05/19 08:18:47 - Views: 3439
มะเขือรากเน่า ต้นเหี่ยว ผลเน่า กำจัดโรคมะเขือ จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/22 10:10:39 - Views: 3433
การป้องกัน กำจัดเพลี้ย กำจัดแมลงศัตรูพืช ด้วย ชีวภัณฑ์ บิวเวอเรีย และ เมธาไรเซียม ได้ผลดี และปลอดภัย
Update: 2566/11/10 06:26:57 - Views: 9499
คู่มือป้องกันกำจัดโรคเชื้อราต่างๆในดาวเรือง ดาวเรืองใบไหม้ ดอกไหม้ ดอกเป็นจุด ราแป้ง ฯลฯ
Update: 2566/05/01 10:27:34 - Views: 10335
การควบคุมโรคเชื้อราในกล้วยไม้อย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2566/05/11 10:29:53 - Views: 3511
การป้องกันและกำจัดโรคโคนเน่าในถั่วลิสง
Update: 2566/05/17 11:21:08 - Views: 3420
โรคใบหงิก (โรคจู๋) ข้าวใบหงิก ข้าวใบม้วน (Rice Ragged Stunt Disease)
Update: 2564/08/27 02:49:38 - Views: 3511
โรคเชื้อราในต้นดอกมะลิ: แนวทางในการป้องกันและรักษา
Update: 2566/11/11 09:28:09 - Views: 3514
ต้นหอม รากเน่า!! ใบไหม้ ใบจุด ใบเหลือง โรคแอนแทรคโนส โรคหอมเลื้อย โรคราต่างๆป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และ ฟื้นฟู ด้วย FK-T
Update: 2567/03/22 10:52:43 - Views: 3579
โรคพืช
Update: 2564/03/10 12:22:48 - Views: 3735
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022