[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - โรคราแป้ง
442 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 44 หน้า, หน้าที่ 45 มี 2 รายการ

 โรคใบจุดสีม่วงหอมใหญ่ โรคใบจุดสีม่วงกระเทียม : PURPLE BLOTCH DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคใบจุดสีม่วงหอมใหญ่ โรคใบจุดสีม่วงกระเทียม : PURPLE BLOTCH DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
เชื้อสาเหตุ : รา Alternaria porri (Ell.) Cif ชีววิทยาของเชื้อ : เมื่อราเข้าทำลายพืชจะสร้างสปอร์หรือ conidia สีน้ำตาลทองรูปร่าง clubshape หรือ obclavate คือส่วนโคนใหญ่แล้วค่อยๆ เรียวไปทางปลาย ขนาด 100-300 x 15-20 ไมครอน มีผนังกั้นตามขวาง 8-12 ผนัง ผนังกั้นตามยาวอาจมีหลายผนังหรืออาจไม่มี สปอร์เกิดที่ปลายก้าน ซึ่งชูตั้งมาจากเส้นใยบริเวณ แผลสีม่วงบนใบ เมื่อสปอร์เจริญเต็มที่จะหลุดออกจากก้าน ปลิวไปตกลงบนพืช และสภาพแวดล้อมเหมาะสม จะงอกเส้นใยแทงทะลุผ่านผิวพืชเข้าไปภายในได้ทั้งโดยตรง เข้าทางปากใบหรือรอยแผลจากแมลง แล้วสร้าง สปอร์พร้อมที่จะระบาดต่อไป

ลักษณะอาการ : เริ่มแรกเป็นจุดฉ่ำน้ำ ขนาดเล็ก เมื่อแห้งเปลี่ยนเป็นจุดแผลสีขาว ต่อมาแผลขยายออก รูปกลมรีหรือยาวไปตามใบ ขนาดไม่แน่นอน เนื้อเยื่อยุบตัวลง แผลมีสีม่วงเข้มหรือสีน้ำตาลอมม่วง ตรงกลาง ซีดจางกว่าเล็กน้อย ส่วนรอบนอกมีแถบเซลล์ตายสีขาวหรือสีเหลืองส้มล้อมรอบ เมื่ออากาศชื้น ราจะสร้าง สปอร์สีดำที่บริเวณแผล ใบที่มีแผลขนาดใหญ่หลายแผลติดกัน จะหักพับลงทำให้ใบแห้งตาย เมื่อโรคระบาด รุนแรงใบจะแห้งหมด ต้นตาย เก็บผลผลิตไม่ได้ บางครั้งถ้าสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม พบแผลจุดสีขาว ขนาดเล็กจำนวนมากกระจายทั่วใบ แผลไม่พัฒนาขยายใหญ่เป็นแผลสีม่วง มองเห็นเป็นอาการใบลายใน หอมหัวใหญ่ อาจพบราเข้าทำลายที่ส่วนหัวเมื่อใกล้เก็บเกี่ยว โดยเข้าทำลายที่คอหรือกาบนอกของหัวหอม

การแพร่ระบาด : โรคระบาดโดย สปอร์ของเชื้อแพร่กระจายไปตามลม น้ำ แมลง เครื่องมือการเกษตร และเมล็ดพันธุ์ ราอยู่ข้ามฤดู โดยสปอร์ปนอยู่กับเศษซากพืชในดิน โรคระบาดได้ดีในสภาพอากาศเย็น มีความชื้น สูง จึงพบโรคระบาดในฤดูหนาวที่มีน้ำค้างลงจัดหรือปลายฤดูฝนต่อฤดูหนาว โดยปกติจะพบโรคระบาดในระยะ หอมกระเทียมโตหรือลงหัวแล้ว แต่บางครั้งอาจพบเมื่อต้นยังเล็ก ถ้าปลูกพืชล่าช้า ในขณะที่แปลงข้างเคียง มีโรคระบาดอยู่แล้ว โรคจะระบาดรุนแรงมากถ้ามีเพลี้ยไฟร่วมเข้าทำลาย

การป้องกันกำจัด :

1. ก่อนปลูกพืชควรใส่ปูนขาว ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อปรับสภาพดิน โดยค่า pH ของดินที่เหมาะแก่ การปลูกพืชสกุลหอมกระเทียม คือ 6.5-7.0

2. ใช้ส่วนขยายพันธุ์ที่ปราศจากโรค ก่อนปลูกควรแช่หัวพันธุ์ หรือต้นกล้าด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืช

3. ดูแลแปลงปลูกให้สะอาด ทำลายเศษซากพืชที่เป็นโรค

4. ตรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบโรคพ่นด้วยสารป้องกันกำจัดโรค

5. ป้องกันกำจัดแมลง โดยเฉพาะเพลี้ยไฟ

6. ปลูกพืชชนิดอื่นที่ไม่ใช่สกุลหอมกระเทียมหมุนเวียน เพื่อลดการระบาดของโรค

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคใบจุดสีม่วงหอมหัวใหญ่ โรคใบจุดสีม่วงกระเทียม โรคหอมเลื้อย โรคแอนแทรคโนสหอมแดง โรคแอนแทรคโนสหอมหัวใหญ่ และพืชตระกูลหอม กระเทียม ต่างๆ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคหอมเลื้อย : ONION TWISTER DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคหอมเลื้อย : ONION TWISTER DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
เชื้อสาเหตุ : รา Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) Sacc. ชีววิทยาของเชื้อ : ลักษณะโคโลนีของเชื้อบนอาหาร PDA เส้นใยเจริญฟู แต่ไม่หนาแน่น สีขาวเทาถึง สีเทา เมื่อเชื้อเจริญเต็มที่จะเห็นสปอร์ (conidia) รวมกันเป็นกลุ่มมีลักษณะคล้ายหยดน้ำข้นๆ สีส้มอมชมพู เจริญเป็นวงซ้อนกันเป็นชั้นๆ ไม่พบ setae แต่พบเม็ดสเคลอโรเทีย สปอร์เกิดเดี่ยวๆ รูปร่างทรงกระบอกตรง แท่งสั้น ปลายทั้งสองข้างมน ใสไม่มีสี ขนาด 7.00-11.00 x 5.00-14 .00 ไมครอน เกิดเดี่ยวๆ ที่ปลายก้าน conidiophore ลักษณะใส ไม่มีสี

ลักษณะอาการ : ต้นแคระแกร็น ไม่ลงหัว หัวลีบยาวบิดโค้งงอ ใบบิดเป็นเกลียว ส่วนคอมักยืดยาว มี ระบบรากสั้นกว่าปกติทำให้รากขาดหลุดจากดินได้ง่าย ทำให้เน่าก่อนถึงเวลาเก็บเกี่ยวบนต้นที่เป็นโรค มักพบ แผลรูปรี เนื้อแผลยุบต่ำกว่าเดิมเล็กน้อย บนแผลมีหยดของเหลวสีชมพูอมส้ม เมื่อแห้งจะเห็นเป็นตุ่มเล็กๆ สีน้ำตาลดำ เรียงเป็นวงรีซ้อนกันหลายชั้นที่บริเวณใบ โคนกาบใบ คอ หรือส่วนหัว

การแพร่ระบาด : โรคแพร่ระบาด โดยสปอร์ของเชื้อรา แพร่ไปกับลม ฝน น้ำ แมลงเครื่องมือการเกษตร เมล็ดพันธุ์ หรือหัวพันธุ์ในแหล่งปลูก ที่มีการปลูกพืชซ้ำที่เดิมทุกปี และไม่ดูแลความสะอาดของแปลง โรคระบาดรุนแรงและรวดเร็วเมื่อมีความชื้นสูง

การป้องกันกำจัด :

1. ก่อนปลูกพืชควรไถตากดิน 2-3 ครั้ง เพื่อลดปริมาณเชื้อรา ให้ใส่ปูนขาวและปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อปรับสภาพดิน โดย pH ของดินที่เหมาะแก่การปลูกพืชสกุลหอมกระเทียมคือ 6.5-7.0

2. ใช้ส่วนขยายพันธุ์ที่ปราศจากโรค สำหรับหอมหัวใหญ่ซึ่งปลูกโดยการย้ายกล้า ควรดูแลแปลงกล้า ไม่ให้เกิดโรค ไม่บำรุงต้นกล้าด้วยปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไป จะทำให้อ่อนแอต่อโรค ป้องกันโรคโดยแช่ต้นกล้า

3. การปลูกหอมในฤดูฝนควรยกร่องสูงเพื่อให้มีการระบายน้ำดี หากน้ำท่วมขังควรรีบระบายน้ำออก ให้หมด

4. ช่วงฤดูฝน ไม่ควรใส่ปุ๋ยเคมี โดยเฉพาะปุ๋ยไนโตรเจน เพราะจะทำให้ต้นพืชสมบูรณ์มากเกินไป พืชอ่อนแอต่อโรค ควรทิ้งระยะให้ดินแห้งก่อน แล้วจึงใส่ปุ๋ยบำรุง

5. หมั่นตรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ หากพบโรค ทำลายต้นพืชที่เป็นโรค โดยการถอนไปเผาทิ้งแล้ว พ่นต้นที่เหลือด้วยสารป้องกันกำจัดโรคแอนแทรคโนส

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคหอมเลื้อย โรคแอนแทรคโนสหอมแดง โรคแอนแทรคโนสหอมหัวใหญ่ และพืชตระกูลหอม กระเทียม ต่างๆ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคแอนแทรคโนสหอมแดง โรคแอนแทรคโนสหอมหัวใหญ่ : ANTHRACNOSE DISEASE [ไอเอส+FK-1]
โรคแอนแทรคโนสหอมแดง โรคแอนแทรคโนสหอมหัวใหญ่ : ANTHRACNOSE DISEASE [ไอเอส+FK-1]
เชื้อสาเหตุ : รา Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) Sacc. ชีววิทยาของเชื้อ : ลักษณะโคโลนีของเชื้อบนอาหาร PDA เส้นใยเจริญฟู แต่ไม่หนาแน่น สีขาวเทาถึง สีเทา เมื่อเชื้อเจริญเต็มที่จะเห็นสปอร์ (conidia) รวมกันเป็นกลุ่มมีลักษณะคล้ายหยดน้ำข้นๆ สีส้มอมชมพู เจริญเป็นวงซ้อนกันเป็นชั้นๆ ไม่พบ setae แต่พบเม็ดสเคลอโรเทีย สปอร์เกิดเดี่ยวๆ รูปร่างทรงกระบอกตรง แท่งสั้น ปลายทั้งสองข้างมน ใสไม่มีสี ขนาด 7.00-11.00 x 5.00-14 .00 ไมครอน เกิดเดี่ยวๆ ที่ปลายก้าน conidiophore ลักษณะใส ไม่มีสี

ลักษณะอาการ : ระยะแรกเกิดจุดช้ำฉ่ำน้ำขนาดเล็ก ต่อมาจะขยายใหญ่เป็นแผลรูปกลมหรือรี เนื้อแผล ยุบต่ำกว่าเดิมเล็กน้อย บนแผลมีหยดของเหลวสีชมพูอมส้ม เมื่อแห้งจะเห็นเป็นตุ่มเล็กๆ สีน้ำตาลดำ เรียง เป็นวงรีซ้อนกันหลายชั้น ถ้าแผลขยายใหญ่หรือหลายแผลมาชนกันจะทำให้ใบหักพับ แห้งตาย หรือเน่าตายทั้งต้น

การแพร่ระบาด : โรคแพร่ระบาด โดยสปอร์ของเชื้อรา แพร่ไปกับลม ฝน น้ำ แมลง เครื่องมือการเกษตร เมล็ดพันธุ์ หรือหัวพันธุ์ โรคระบาดรุนแรงและรวดเร็วเมื่อมีความชื้นสูง

การป้องกันกำจัด :

1. ก่อนปลูกพืชควรไถตากดิน 2-3 ครั้ง เพื่อลดปริมาณเชื้อรา ให้ใส่ปูนขาวและปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อปรับสภาพดิน โดย pH ของดินที่เหมาะแก่การปลูกพืชสกุลหอมกระเทียมคือ 6.5-7.0

2. ใช้ส่วนขยายพันธุ์ที่ปราศจากโรค สำหรับหอมหัวใหญ่ซึ่งปลูกโดยการย้ายกล้า ควรดูแลแปลงกล้า ไม่ให้เกิดโรค ไม่บำรุงต้นกล้าด้วยปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไป จะทำให้อ่อนแอต่อโรค

3. การปลูกหอมในฤดูฝนควรยกร่องสูงเพื่อให้มีการระบายน้ำดี หากน้ำท่วมขังควรรีบระบายน้ำออก ให้หมด

4. ช่วงฤดูฝน ไม่ควรใส่ปุ๋ยเคมี โดยเฉพาะปุ๋ยไนโตรเจน เพราะจะทำให้ต้นพืชสมบูรณ์มากเกินไป พืชอ่อนแอต่อโรค ควรทิ้งระยะให้ดินแห้งก่อน แล้วจึงใส่ปุ๋ยบำรุง

5. หมั่นตรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ หากพบโรค ทำลายต้นพืชที่เป็นโรค โดยการถอนไปเผาทิ้งแล้ว พ่นต้นที่เหลือด้วยสารป้องกันกำจัดโรคแอนแทรคโนส

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคแอนแทรคโนสหอมแดง โรคแอนแทรคโนสหอมหัวใหญ่ และพืชตระกูลหอม กระเทียม ต่างๆ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคแอนแทรคโนสหน่อไม้ฝรั่ง : ANTHRACNOSE DISEASE
โรคแอนแทรคโนสหน่อไม้ฝรั่ง : ANTHRACNOSE DISEASE
เชื้อสาเหตุ : รา Colletotrichum gloeosporioides Penz. ลักษณะอาการ : ลำต้นเป็นแผลสีน้ำตาล เห็นได้ชัดเจนบนลำต้นที่ไม่อ่อนหรือแก่จนเกินไป ลักษณะ แผลจะยุบตัวลงตามความยาวของลำต้น เมื่อแผลลุกลามจะขยายขนาดไปตามลำต้นทำให้ลีบแห้ง และจะพบ สปอร์ของเชื้อเรียงตัวซ้อนกันเป็นวงสีส้มหรือสีด

การแพร่ระบาด : พบโรคระบาดในช่วงที่อากาศมีความชื้นสูง โดยสปอร์ของเชื้อจะปลิวไปกับน้ำฝนหรือ ระบบการให้น้ำแบบสปริงเกอร์ได้

การป้องกันกำจัด :

1. รักษาความสะอาดในแปลงปลูก ถอนต้นที่เป็นโรคออกจากแปลง และเผาทำลาย

2. เมื่อพบการระบาดของโรคให้พ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืช

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคแอนแทรคโนสหน่อไม้ฝรั่ง โรคหน่อไม้ฝรั่งกิ่งไหม้ โรคหน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ โรคหน่อไม้ฝรั่งต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคหน่อไม้ฝรั่งกิ่งไหม้ หรือ โรคใบเทียมร่วง : CERCOSPORA LEAF BLIGHT DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคหน่อไม้ฝรั่งกิ่งไหม้ หรือ โรคใบเทียมร่วง : CERCOSPORA LEAF BLIGHT DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
เชื้อสาเหตุของ โรคหน่อไม้ฝรั่งกิ่งไหม้ : รา Cercospora asparagi ลักษณะอาการ : กิ่ง ก้าน ใบเทียม เป็นแผลลักษณะกลม สีม่วงอมน้ำตาล หรือม่วงแดง ที่ตรงกลาง แผลมีสีขาวขุ่นหรือสีเทา ขอบแผลเป็นสีน้ำตาล อาการรุนแรงทำให้กิ่งก้านและใบเทียมร่วงได้ สามารถเข้า ทำลายได้ทุกระยะการเจริญเติบโต

การแพร่ระบาด : พบโรคระบาดในช่วงที่อากาศมีความชื้นสูง โดยสปอร์ของเชื้อจะปลิวไปกับน้ำฝน หรือระบบการให้น้ำแบบสปริงเกอร์ได้

การป้องกันกำจัด :

1. รักษาความสะอาดในแปลงปลูก ตัดแต่ง กิ่ง ก้านที่เป็นโรคออกจากแปลง และเผาทำลาย

2. เมื่อพบการระบาดของโรคให้พ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืช

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคหน่อไม้ฝรั่งกิ่งไหม้ โรคหน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ โรคหน่อไม้ฝรั่งต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคลำต้นไหม้ หน่อไม้ฝรั่ง โรคราหน่อไม้ฝรั่ง : STEM BLIGHT DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคลำต้นไหม้ หน่อไม้ฝรั่ง โรคราหน่อไม้ฝรั่ง : STEM BLIGHT DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
เชื้อสาเหตุของ โรคหน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ : รา Phomopsis asparagi Sacc. ลักษณะอาการ : ลำต้นเป็นแผลสีม่วง หรือสีน้ำตาล รูปรี ยาวเป็นแนวเดียวกับลำต้น เมื่อแผลกระจาย กว้างขึ้นจะทำให้ลำต้นไหม้แห้งเป็นทางยาว สามารถเข้าทำลายทุกระยะการเจริญเติบโต

การแพร่ระบาด : พบโรคระบาดรุนแรงในช่วงฤดูฝนที่อากาศมีความชื้นสูง สปอร์ของเชื้อจะปลิวไปกับ น้ำฝน หรือระบบการให้น้ำแบบสปริงเกอร์ได้ และเชื้อสามารถอาศัยข้ามฤดูอยู่ในดินและเศษซากพืชได้เป็น เวลานาน

การป้องกันกำจัด :

1. รักษาความสะอาดในแปลงปลูก ถอนต้นเป็นโรคออกจากแปลง และเผาทำลาย

2. ควรปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อลดปริมาณเชื้อในดิน และไม่ควรปลูกซ้ำในพื้นที่เดิมติดต่อกันเป็นเวลานาน

3. เมื่อพบการระบาดของโรคให้พ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืช

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคหน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ โรคหน่อไม้ฝรั่งต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคราแป้งในตำลึง และผักต่างๆ : POWDERY MILDEW DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคราแป้งในตำลึง และผักต่างๆ : POWDERY MILDEW DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
เชื้อสาเหตุของ โรคราแป้งตำลึง และโรคราแป้ง ในพืชผักต่างๆหลายชนิด เกิดจาก เชื้อรา Oidium sp. (เชื้อราออยเดียม)

ชีววิทยาของเชื้อ : เชื้อราสาเหตุโรคราแป้งเป็นปรสิตถาวร ตลอดวงจรชีวิตจะต้องอาศัยเจริญเติบโตบน สิ่งที่มีชีวิตเท่านั้น ไม่สามารถนำมาเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์ได้ สร้างเส้นใยและกลุ่มของสปอร์ลักษณะเป็น ผงคล้ายแป้งมีสีขาว หรือขาวเทา บนผิวใบพืชที่มันเข้าทำลายเป็นกลุ่มๆ หรือเต็มผิวใบ แล้วส่งเส้นใยพิเศษ เข้าไปอยู่ในเซลล์ใต้ผิวใบ เกิดขึ้นได้ทั้งบนใบและใต้ใบ ในตำลึงพบเกิดบนใบ มากกว่าใต้ใบ ราพวกนี้เข้าทำลาย พืชเพียงผิวตื้นๆ แค่ใต้ผิวใบ หลังจากนั้นสปอร์เมื่อแก่จะถูกปล่อยสู่สภาพแวดล้อมในอากาศ ในน้ำ ในดินต่อไป

ลักษณะอาการ : อาการของโรคราแป้งตำลึงเป็นผงสีขาวอยู่ที่ด้านบนและด้านล่างของผิวใบ โดยเริ่มเป็น เส้นใยบางๆ และจุดเล็กๆ สีขาวเพิ่มจำนวนขึ้นมาอย่างรวดเร็ว จนเป็นลักษณะเส้นใยที่รวมตัวกันเป็นกระจุกหนา ต่อมากระจุกเหล่านั้นเจริญต่อเชื่อมกันเป็นปื้นสีขาว บริเวณส่วนบนและด้านใต้ใบของตำลึง การเกิดโรคจะเกิด จากใบส่วนล่างของเถาตำลึงหรือใบที่มีอายุแก่พอสมควรแล้วจึงลุกลามไปยังส่วนปลายเถา ทำให้เถาตำลึง แห้งตายได้

การแพร่ระบาด : เนื่องจากราสาเหตุมีพืชอาศัยมาก และมีการปลูกอยู่ตลอดฤดูหรือเกือบตลอดทั้งปี ดังนั้นแหล่งกำเนิดของราเพื่อการแพร่ระบาดจึงเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา พบระบาดในช่วงที่มีอากาศเย็นและแห้ง ในช่วงปลาย ฤดูฝนและในฤดูหนาว แปลงปลูกตำลึงที่มีการพรางแสงด้วยตาข่ายสีดำ (พรางแสง 50 และ 80%) พบการระบาดของโรครุนแรงกว่าแปลงที่ไม่พรางแสง

การป้องกันกำจัด :

ในช่วงเริ่มพบโรคราแป้งควรตัดแต่งใบที่เป็นโรคทิ้งด้วยมีดหรือกรรไกร แล้วเก็บ รวบรวมเผาทำลายเศษซากพืชที่เป็นโรคเพื่อลดการแพร่กระจาย ใช้สารป้องกันกำจัดโรคพืช

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคราสนิมถั่วฝักยาว โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคราดำกาแฟ มีต้นเหตุจาก เพลี้ย และ เชื้อราสาเหตุ แคบโนเดียม ใช้ มาคา + ไอเอส + FK-1
โรคราดำกาแฟ มีต้นเหตุจาก เพลี้ย และ เชื้อราสาเหตุ แคบโนเดียม ใช้ มาคา + ไอเอส + FK-1
โรคราดำกาแฟ เชื้อราสาเหตุ Capnodium spl. มีคราบเขม่าดำ ปกคลุม ใบ กิ่ง ช่อดอก หากเป็นที่ช่อดอกรุนแรง ส่งผลให้ดอกร่วง ผสมเกสรไม่ได้ ไม่ติดผล ผลผลิตจึงลดลงเป็นอย่างมาก

ลักษณะอาการที่พบ แมลงพวกปากดูดถ่ายน้ำหวานมาปกคลุมส่วนต่าง ๆ ของต้นกาแฟ เชื้อราที่อยู่ในอากาศจะปลิวมาขึ้นบนส่วนที่มีน้ำหวานสีดำของเชื้อราขึ้นปกคลุมใบ กิ่ง ช่อดอก ทำให้เห็นเป็นคราบสีดำคล้ายเขม่า บนใบที่ถูกเคลือบด้วยแผ่นคราบดำของเชื้อ อาการที่ปรากฏที่ช่อดอกถ้าเป็นรุนแรงทำให้ดอกร่วงไม่สามารถผสมเกสรได้

ป้องกันกำจัด เพลี้ย และแมลงจำพวกปากดูด ซึ่งเป็นพาหะของโรค ฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ป้องกันกำจัด เพลี้ย และแมลงจำพวกปากดูด

ป้องกันกำจัด โรคราดำกาแฟ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคแอนแทรคโนสกาแฟ เกิดจากเชื้อรา คอลเลตโททริคัม ใช้ ไอเอส + FK-1
โรคแอนแทรคโนสกาแฟ เกิดจากเชื้อรา คอลเลตโททริคัม ใช้ ไอเอส + FK-1
โรคแอนแทรคโนสกาแฟ เชื้อราสาเหตุ Colletotrichum coffeanum ทำให้ใบเหลือง ผลแห้ง ผลผลิตเสียหาย #โรคแอนแทรคโนสกาแฟ #กาแฟผลแห้ง #กาแฟใบเหลือง

ลักษณะอาการที่พบ เกิดได้ทั้งในส่วนของใบ กิ่ง และผล พบจุดลึกสีน้ำตาลเข้ม จากนั้นจะแห้งและเปลี่ยนเป็นสีดำ หากเกิดที่ใบจะทำให้ใบเหลืองและมีแผลแห้ง

ป้องกันกำจัด โรคแอนแทรคโนสกาแฟ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
โรคราสนิมกาแฟ (Coffee Leaf Rust) ใช้ ไอเอส + FK-1
โรคราสนิมกาแฟ (Coffee Leaf Rust) ใช้ ไอเอส + FK-1
โรคราสนิมกาแฟ (Coffee Leaf Rust) เกิดจากเชื้อรา Helmileia vastatrix หากเป็นรุนแรง ใบร่วงเกือบหมดทั้งต้น #โรคราสนิมกาแฟ #กาแฟใบร่วง

ลักษณะอาการที่พบ พบทั้งในระยะที่เป็นต้นกล้าและต้นโตในแปลง ลักษณะอาการครั้งแรกจะเห็นเป็นจุดสีเหลืองบริเวณด้านในของใบและเกิดกับใบแก่ก่อน จุดสีเหลืองบนใบจะขยายโตขึ้นเรื่อย ๆ สีของแผลจะเปลี่ยนจากสีเหลืองเป็นสีส้มหรือสีส้ม ใบร่วง และกิ่งแห้งในเวลาต่อมา ต้นที่เป็นโรครุนแรงใบจะร่วงเกือบหมดต้น

ป้องกันกำจัด โรคราสนิมกาแฟ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
442 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 44 หน้า, หน้าที่ 45 มี 2 รายการ
|-Page 41 of 45-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
การปลูกฟ้าทะลายโจร
Update: 2564/08/20 22:59:07 - Views: 3411
ปลูกองุ่น ระวังการระบาด ของโรคราน้ำค้าง
Update: 2564/08/10 05:02:02 - Views: 3520
โรคราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ เกิดได้กับหลายพืช เร่งควบคุม ป้องกัน กำจัด ลดความเสียหายต่อพืช
Update: 2566/11/04 09:41:04 - Views: 8913
โรคทุเรียนต่างๆ ทุเรียนใบไหม้ ราสีชมพูในทุเรียน โรคทุเรียนก้านธูป เชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส
Update: 2566/10/28 12:25:31 - Views: 10163
การขยายพันธุ์มันสำปะหลัง แบบเร่งรัด ได้ต้นพันธุ์เพิ่มและปลอดโรคใบด่าง
Update: 2565/02/25 02:30:44 - Views: 3443
วิธีดูแลไร่ ข้าวโพด ให้ได้ผลผลิตสูง
Update: 2567/11/07 08:55:50 - Views: 70
ความหมายของสูตรปุ๋ย ปุ๋ยสูตร 15-15-15 หรือ 0-0-60 หรือ 18-46-0 หรือ 46-0-0 หรือ x-x-x ... หมายความว่าอะไร
Update: 2564/08/31 05:57:07 - Views: 4130
ผักสลัด ใบจุด ใบไหม้ กำจัดโรคจากเชื้อราต่างๆในผักสลัด ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวน ปุ๋ย
Update: 2565/11/04 10:28:05 - Views: 3440
มะระจีนใบเหลือง เกิดจากสาเหตุอะไร มะระใบไหม้ ต้องแก้อย่างไร
Update: 2564/04/25 08:09:26 - Views: 3896
โรคสับปะรด ที่เกิดจากเชื้อราต่างๆ ทำให้เกิดอาการสับปะรดยอดเน่า รากเน่า ใบไหม้ ยกตัวอย่างได้ดังต่อไปนี้
Update: 2566/11/08 06:16:07 - Views: 10127
คู่มือป้องกันกำจัดโรคราต่างๆในแมคคาเดเมีย แมคคาเดเมียใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ราต่างๆ
Update: 2566/05/01 15:18:59 - Views: 10209
ระเบิดราก เร่งต้น เร่งใบ เพิ่มผลผลิต ด้วย FK-1
Update: 2563/10/09 07:49:39 - Views: 3440
พืชใบหงิกงอ พืชใบม้วน ใบด่าง ควรใช้ยาอะไร ต้องสังเกตุที่ต้นเหตุ แล้วเลือกใช้ยาแก้อาการ - ฟาร์มเกษตร
Update: 2563/06/01 09:52:03 - Views: 3654
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคเน่าคอดิน ในคะน้า ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/27 13:45:31 - Views: 3401
โรคใบติดทุเรียน โรคราสีชมพูในทุเรียน โรคทุเรียนกิ่งแห้ง ต้องหมั่นสังเกตุตรวจดูแลสวน หากพบ ให้เร่งป้องกันกำจัด
Update: 2566/11/04 14:14:10 - Views: 10246
โรคอินทผลัม โรคเชื้อราเขม่าผง Graphiola Leaf Spot (False Smut) of Palm
Update: 2564/02/25 02:42:40 - Views: 3568
ควบคุมวัชพืชในสวนพริกด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG): กลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมและรักษาสวนพริก
Update: 2567/02/13 09:22:56 - Views: 3547
เที่ยวเกษตรที่สูง ภูหินร่องกล้า
Update: 2558/10/24 23:50:40 - Views: 3527
ดอกชบา การปลูกชบา การดูแล ป้องกันกำจัดโรค และแมลง
Update: 2564/03/27 00:40:19 - Views: 3907
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 15-5-30+3 MgO: เพิ่มขนาดและคุณภาพของผลผลิตมันสำปะหลัง
Update: 2567/02/13 10:53:04 - Views: 3498
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022