ค้นข้อมูล
สินค้า
ตามสินค้า
ติดต่อเรา
Central Lab ห้องปฏิบัติการกลาง
iLab ตรวจดิน
รับจ้างผลิตปุ๋ยยาฯOEM
แอพผสมปุ๋ย
English
อัพเดททุกวันที่..
พิมพ์คำค้นหา หรือลองคลิกตัวอย่าง >
มันสำปะหลัง
,
ข้าว
,
อ้อย
,
ทุเรียน
,
กัญชา
,
ข้าวโพด
,
ปาล์ม
,
ยางพารา
,
อินทผลัม
,
โรคใบไหม้
,
ราสนิม
,
เพลี้ย
,
ยาแช่ท่อนพันธุ์
[sort by :
last post
|
top views
]
..
+ โพสเรื่องใหม่
|
^ เลือกหน้า
|
ค้นคำว่า - เพลี้ยอ่อน
336 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 33 หน้า, หน้าที่ 34 มี 6 รายการ
กรุณากรอกหัวข้อ
พิมพ์คำว่า ฟาร์มเกษตร
พิมพ์คำว่า ฟาร์มเกษตร
ยาแก้โรคแคงเกอร์ ในมะนาว ยากำจัดเพลี้ย กำจัดหนอน สำหรับมะนาว แก้โรครากเน่า และ ปุ๋ย สำหรับมะนาว
โรคแคงเกอร์ ที่เกิดขึ้นกับมะนาว มีสาเหตุจากเชื้อรา
ลักษณะอาการ จะเกิดขึ้นได้แทบทุกส่วน ทั้งที่ใบ กิ่งก้าน และผล โดยอาการที่ใบและผล จะมีลักษณะคล้ายกัน คือจะเกิดเป็นแผลกลม แล้วจะขยายใหญ่ ฟู นูนคล้ายฟองน้ำ มีสีเหลืองอ่อนถึงสีเหลืองเข้ม ต่อมาจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม และจะแตกเป็นสะเก็ด มีวงแหวนสีเหลือง ล้อมรอบแผล ส่วนอาการที่กิ่งก้าน จะมีแผลฟูนูนสีเหลือง ต่อมาแผลจะ แตกแห้ง เป็นสีน้ำตาลขยายไปรอบๆ กิ่ง รูปร่างธองแผลไม่แน่นอน และไม่มีวงแหวน ล้อมรอบ เมื่อต้นมะนาวเป็นโรคนี้มากๆ จะแสดงอาการต้นโทรม แคระแกร็น ใบร่วง ผลผลิตลดลง กิ่งและต้นจะแห้งตายในที่สุด
การป้องกันกำจัด โรคแคงเกอร์ในมะนาว
ตัดแต่งส่วนที่เป็นโรคเผาทำลาย ไม่ขยายพันธุ์จากต้นแม่ที่เป็นโรคแคงเกอร์ พยายามอย่าให้มะนาวเกิดบาดแผล และป้องกันแมลงที่เป็นพาหะ เช่น หนอนชอนใบ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที เพื่อกำจัดหนอน และ ใช้ ไอเอส ผสมฉีดพ่นไปพร้อมกับ เพื่อยับยั้งการลุกลามของ โรคแคงเกอร์
โรคราดำ มะนาว
ลักษณะอาการ ใบ กิ่งก้าน และผลจะมีราสีดำ สกปรก กระด้าง ทำให้ผมไม่สวย ต้นมะนาวจะแคระแกร็น
การป้องกันกำจัด โรคราดำในมะนาว
ทำลายส่วนที่เป็นโรคโดยการเผาไฟหรือใช้ กำจัดแมลง โดยการฉีดพ่น มาคา เพื่อกำจัดแมลงประเภท ปากดูดชึ่งเป็นสาเหตุ ทำให้เกิดโรคราดำ รวมถึง ผสม ไอเอส ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อยับยั้งการลุกลาม การระบาดของโรคราดำ
โรคกรีนนิ่ง (ใบแก้ว) โรคกรีนนิ่ง เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย มีเพลี้ยไก่แจ้ส้ม (Diaphorina citri) เป็นพาหะนำโรค
ลักษณะอาการ ใบจะด่างเป็นสีเหลือง หรือขาวใสระหว่างเส้นใบ ใบมีขนาดเล็กลง ในที่สุดใบและยอดจะแห้งตาย ผลมีขนาดเล็ก น้ำหนักน้อย ต้นจะโทรม
การป้องกันกำจัด โรคกรีนนิ่ง ในมะนาว
ทำลายส่วนที่เป็นโรคโดยการเผาไฟ ฉีดพ่นด้วย FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุสังกะสีและ แมกนีเชียม สามารถผสม มาคา ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อกำจัดเพลี้ย ซึ่งเป็นพาหะนำโรค และปรับสภาพความเป็นกรด-ด่างของดินใหัอยู่ระหว่าง 6.0-6.5 ด้วยสารปรับสภาพดิน
โรคยางไหล ในมะนาว
ลักษณะอาการ มีอาการยางไหลบริเวญลำต้นและกิ่งก้าน เปลือกจะเน่าและแผลจะลุกลามไปถึงเนื้อไม้
การป้องกันกำจัด โรค มะนาวยางไหล
ควรตัดแต่งกิ่งและกำจัดวัชพืชเพื่อให้แสงแดดส่องได้ทั่วถึง และควรทาบาดแผลด้วยสารทองแดงหรือกำมะถันผสมปูนขาว ถ้ามีการระบาดมากก็เผาทำลายเสีย
โรค มะนาวรากเน่า และโคนเน่า
ลักษณะอาการ รากฝอยและรากแขนง จะเน่ามีสีน้ำตาลหรือดำ ลักษณะเหนียว ไม่ยุ่ย เปลือกของลำต้นจะปริแตกออก โดยเฉพาะ โคนต้น และมียางไหลบริเวณขอบแผล เมื่อรากและต้นถูกทำลายมากๆ จะทำให้ใบเหลือง และร่วงหล่น
การป้องกันกำจัด โรครากเน่า โคนเน่า ในมะนาว
อย่าให้มีน้ำขัง บริเวณโคนต้น และไม่ควรใส่ปุ๋ยหมักหรือ ปุ๋ยคอกมากเกินในช่วงฤดูฝน
ยาป้องกันกำจัดโรค ยากำจัดเพลี้ย ยากำจัดหนอน ซึ่งใช้ได้กับทุกพืชไร่ พืชสวน ผัก ผลไม้ ที่ปลูกในประเทศไทย
ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน
ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา
ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1
FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต
นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง
อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ้างอิง sites.google.com/site/ karplukmanaw/ rokh-thi-sakhay-khxng-manaw
อ่าน:3595
ยาอินทรีย์ ยับยั้งโรคสลัด ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ผักสลัดใบจุด ผักสลัดใบไหม้ ยาแก้เพลี้ยสลัด
โรคใบจุด ใบแห้ง ใบไหม้ ในสลัด เกิดจากเชื้อราสาเหตุ Alternaria sp. และมีเพลี้ยเป็นพาหะนำโรค หรืออาจจะแพร่ระบาดจากแปลงใกล้เคียง
โรคใบจุด ผักสลับ พบมาก ในช่วงที่อากาศมีความชื้นสูง และช่วงที่มีแมลงศัตรูพืชระบาด นำพาโรคใบจุดมาติดในผักสลัด โดยเฉพาะฤดูฝน พบระบาดเป็นอย่างมาก อาการจะเริ่มเป็นจุดสีน้ำตาลเล็กๆ และขยายวงกว้างออกมา
โรคใบจุดสลัด สลัดใบไหม้ ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา และป้องกันกำจัดเพลี้ยต่างๆ ในสลัดด้วย มาคา
ยาป้องกันกำจัดโรค ยากำจัดเพลี้ย ยากำจัดหนอน ซึ่งใช้ได้กับทุกพืชไร่ พืชสวน ผัก ผลไม้ ที่ปลูกในประเทศไทย
ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดด และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา
ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน
ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1
FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต
นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง
อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3557
ยาแก้โรครา ในถั่วเขียว และถั่วต่างๆ รากำจัดเพลี้ยใน ถั่ว ถั่วเขียว ยากำจัดหนอน และ ปุ๋ยสำหรับ ถั่วต่างๆ
โรคของถั่วเขียว และ การป้องกันกำจัด
1. โรคใบจุดสีน้ำตาล ในถั่วเขียว (Cercospora Leafs Spot)
โรคนี้พบระบาดในฤดูฝน เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อ Cercospora canescens Ellis & Martin มักเกิดกับถั่วเขียวอายุตั้งแต่ 2 สัปดาห์ หลังการงอก และมีการระบาดมากในช่วงออกดอกจนถึงระยะที่ใกล้เก็บเกี่ยว ลักษณะของโรค คือ ใบเป็นจุดสีน้ำตาล มีลักษณะค่อนข้างกลม ตรงกลางแผลมองเห็นเป็นเส้นใยสีเทา ขนาดแผลเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 มม. – 5 มม. อาจมีลักษณะเป็นวงสีเหลืองรอบแผล ขณะขยายตัว เมื่อแผลชิดกันจะมีลักษณะสีน้ำตาล ผลของโรค คือ ทำให้ฝักลีบ และมีขนาดเล็ก
2. โรคราแป้ง ในถั่วเขียว (Powdery Mildrew)
โรคนี้พบการระบาดในช่วงฤดูหนาวถึงฤดูแล้ง โดยเฉพาะในช่วงที่มีอากาศเย็น เป็นเชื้อราพวก Oidium sp. สปอร์จะได้รับความชื้น และเติบโตสร้างเส้นใยดูดกินน้ำเลี้ยงจากผิวใบของถั่ว ทำให้ใบแห้ง ลักษณะที่พบมักเกิดตามใบล่าง โดยมีเส้นใยของราสีขาวคล้ายผงแป้งบนใบถั่ว ต่อมาใบเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดง และแห้งตาย ต้นถั่วเขียวแคระแกรน หากเกิดโรคในระยะออดอกหรือติดฝัก จะทำให้ผลผลิตน้อยลง
การป้องและกำจัด โรคราแป้งในถั่วเขียว ฉีดพ่นด้วย ไอเอส
แมลงศัตรูถั่วเขียว และการป้องกันกำจัด
1. หนอนแมลงวันเจาะต้นถั่ว (bean fly) เกิดจากหนอนแมลงที่วางไข่ ( 50-100 ฟอง/ตัว) ในระยะต้นกล้าหลังงอกใหม่ เมื่อฟักตัวเป็นหนอนจะเข้ากัดกินเนื้อเยื่อตามใบ และลำต้น ทำให้ต้นถั่วตาย หากเป็นต้นถั่วโตแล้ว หนอนจะเข้าเจาะกินลำต้นบริเวณยอด ทำให้ยอดเหี่ยวตาย การป้องกัน และกำจัดทำ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที
2. เพลี้ยอ่อน ใน ถั่วเขียว ถั่วงอก (Aphid) พบระบาดมากในฤดูแล้งหรือฝนทิ้งช่วง โดยเพลี้ยจะเข้าดูดกินน้ำเลี้ยงตามยอดอ่อน ใบอ่อน ช่อดอก และฝักอ่อน ทำให้ยอดหงิกงอ ดอกร่วง ฝักร่วง และต้นแคระแกรน การป้องกันกำจัด ฉีดพ่นด้วย มาคา
3. เพลี้ยไฟ ถั่วเขียว (Thrips) พบระบาดมากในช่วงฝนฝนทิ้งช่วง และแดดร้อน โดยเข้าดูดกินน้ำเลี้ยงจากส่วนยอด และดอก ทำให้ยอดหงิกงอ ใบแห้ง ดอกร่วง ฝักอ่อนร่วงหรือลีบ ไม่ติดเมล็ด ป้องกัน และกำจัดโดยวิธีฉีดพ่นด้วย มาคา
4. หนอนเจาะฝัก (Pod Borers) พบระบาดในปลายฤดูฝนหรือฤดูแล้ง ป้องกัน และกำจัดโดยการฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที
ยาป้องกันกำจัดโรค ยากำจัดเพลี้ย ยากำจัดหนอน ซึ่งใช้ได้กับทุกพืชไร่ พืชสวน ผัก ผลไม้ ที่ปลูกในประเทศไทย
ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน
ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา
ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1
FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต
นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง
อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ้างอิงข้อมูลบางส่วนจาก sites.google.com/site/ phanthuchaynath841/ rokh-khxng-thaw-kheiyw -laea-kar-pxngkan-kacad
อ่าน:3600
ยาแก้โรคเน่า ทานตะวันงอก ต้นอ่อนทานตะวัน โรคทานตะวันอ่อน ที่เกิดจากเชื้อราต่างๆ
การแก้ปัญหาเบื้องต้นของ โรคราทานตะวันงอก ทานตะวันงอกใบจุด โรคเน่าคอดิน
ลองใช้ดินผสมขี้เถ้าแกลบดำ เปลี่ยนแทนดินเดิม ในส่วนขั้นตอนของการแช่เมล็ด ให้ผสม ไอเอส ในอัตราส่วน 25 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เพื่อแช่เมล็ดก่อนปลูก การเลือกใช้เมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่ไม่มีโรคจากเชื้อรา ก็เป็นสิ่งสำคัญ และอีกสาเหตุหลักของโรคต่างๆใน ทานตะวัน คือ เชื้อราที่ฝังในดิน ควรกำจัดเชื้อราในดินก่อนปลูก
วิธีเพาะ ต้นอ่อนทานตะวัน. งอก
1. เตรียมวัสดุปลูกมา เกลี่ยให้ทั่วถาดเพาะ โดยวัสดุปลูกอาจจะใช้ มูลไส้เดือน1:ขุยมะพร้าว3ผสมให้เข้ากัน หรือจะใช้ดินปลูกต้นไม้ทั่วไปได้ค่ะ
2. นำเมล็ดที่เเช่น้ำ 6-8 ชม. และเทน้ำทิ้ง หาผ้าชุบน้ำหมาดๆ มาปิดไว้จนรากเริ่มงอก นำเม็ดทานตะวันมาเกลี่ยให้ทั่วถาด
3. รดน้ำให้ชุม พอประมาณ
4. นำถาดมาซอนกัน ปิดไว้อีก 2 วัน จนต้นเริ่มดันถาด
5. เมื่อปิดไว้ 2 วัน จนเมล็ดเริ่มดันถาดเเล้ วค่อยยกถาดออก เเล้วว่างถาดบนชั้นปลูกต่อไป จนต้นโต เเละเก็บผลผลิตต่อไป
การใช้ถาดเพาะ ต้นอ่อนทานตะวัน มีผลดีกว่าการใช้ตะกร้า หรือกะละมัง ปัญหาเรื่องต้นไม่อวบ ขึ้นไม่พร้อมกัน ปัญหาเหล่านี้จะหมดไป
ยาป้องกันกำจัดโรค ยากำจัดเพลี้ย ยากำจัดหนอน ซึ่งใช้ได้กับทุกพืชไร่ พืชสวน ผัก ผลไม้ ที่ปลูกในประเทศไทย
ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน
ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
ป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา
ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
การป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1
FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต
นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง
อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
ขอบคุณข้อมูล อ้างอิงบางส่วนจาก
facebook.com/ 1450292685232110/posts/ 1462052637389448/
อ่าน:3554
ยาแก้เพลี้ย ใน ผักกวางตุ้ง ผักกวางตุ้งฮ่องเต้ กวางตุ้งดอกฮ่องกง ยากำจัดหนอน ยาแก้โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ และ ปุ๋ย สำหรับ ผัก กวางตุ้ง
ยายับยั้งและป้องกัน โรคใบไหม้ โรคต่างๆจากเชื้อรา ยาแก้เพลี้ย ยากำจัดหนอน และปุ๋ย สำหรับ ผัก กวางตั้ง กวางตุ้งฮ่องเต้ และ กวางตุ้งดอกฮ่องกง
หนอนใยผัก ใน ผัก กวางตุ้ง และหนอนคืบกะหล่ำ
ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plutella xylostella เป็นหนอนผีเสื้อ ตามใต้ใบพืช ตัวหนอนส่วนท้ายมีปุ่ม แยกยื่นออกมาเป็นสองแฉก ตัวสีเขียวปนเทาอ่อน หรือสีเขียวปนเหลือง หนอนจะกัดกินผิวใบ ทางด้านล่าง จนใบเป็นรูพรุน และเข้ากัดกินยอดผัก
ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ใน ผัก กวางตุ้ง ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน
ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
เพลี้ยอ่อน ผัก กวางตุ้ง และเพลี้ยต่างๆ
อาการที่แสดงให้เห็น เมื่อเพลี้ยเข้าทำลาย คือใบม้วนหงิก ใบแห้งกร้าน ใบกรอบ มีสีจางเป็นจุดๆ กระจายตามจุดต่างๆของใบ เป็นอาการที่เพลี้ยอ่อนเข้าทำลาย โดยการดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ผิวใบ ทำให้ใบด่างเป็นจุดๆ ใบพืชหดตัว และเริ่มหงิกงอ
ป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ใน ผัก กวางตุ้ง ฉีดพ่นด้วย มาคา
ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
โรคราน้ำค้าง ใน ผัก กวางตุ้ง
พบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต สังเกตุที่ใบเลี้ยงจะเป็นแผลสีน้ำตาล เป็นสาเหตุให้ลำต้นเน่า ผัก กวางตุ้ง แคระแกร็น หากอาการรุนแรง ใบจะเป็นสีน้ำตาล และค่อยๆแห้งตาย
โรคใบไหม้ ใน ผัก กวางตุ้ง
อาการที่แสดงบนใบเลี้ยง ขอบใบจะไหม้ แห้ง เส้นใบเน่าเป็นสีดำ และต่อมาใบจะแห้งเป็นสีน้ำตาล และหลุดออกจากต้น ทำให้ ผัก กวางตุ้ง แคระ แกร็น หรือหยุดชะงักการเจริญเติบโต
การป้องกันและยับยั้ง โรค ผัก กวางตุ้ง ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส
ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต ผัก กวางตุ้ง ฉีดพ่นทางใบ
FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต
นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง
อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:4319
แก้โรคและแมลง กะหล่ำดาว เพลี้ยกะหล่ำดาว ยาแก้กะหล่ำดาวใบไหม้ และโรคราต่างๆ ปุ๋ยกะหล่ำดาว
เพลี้ยอ่อน กะหล่ำดาว และเพลี้ยต่างๆ
อาการที่แสดงให้เห็น เมื่อเพลี้ยเข้าทำลาย คือใบม้วนหงิก ใบแห้งกร้าน ใบกรอบ มีสีจางเป็นจุดๆ กระจายตามจุดต่างๆของใบ เป็นอาการที่เพลี้ยอ่อนเข้าทำลาย โดยการดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ผิวใบ ทำให้ใบด่างเป็นจุดๆ ใบพืชหดตัว และเริ่มหงิกงอ
ป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ในกะหล่ำดาว ฉีดพ่นด้วย มาคา
ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
หนอนใยผัก ในกะหล่ำดาว และหนอนคืบกะหล่ำ
ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plutella xylostella เป็นหนอนผีเสื้อ ตามใต้ใบพืช ตัวหนอนส่วนท้ายมีปุ่ม แยกยื่นออกมาเป็นสองแฉก ตัวสีเขียวปนเทาอ่อน หรือสีเขียวปนเหลือง หนอนจะกัดกินผิวใบ ทางด้านล่าง จนใบเป็นรูพรุน และเข้ากัดกินยอดผัก
ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ในกะหล่ำดาว ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน
ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
โรคราน้ำค้าง ในกะหล่ำดาว
พบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต สังเกตุที่ใบเลี้ยงจะเป็นแผลสีน้ำตาล เป็นสาเหตุให้ลำต้นเน่า กะหล่ำดาวแคระแกร็น หากอาการรุนแรง ใบจะเป็นสีน้ำตาล และค่อยๆแห้งตาย
โรคใบไหม้ ในกะหล่ำดาว
อาการที่แสดงบนใบเลี้ยง ขอบใบจะไหม้ แห้ง เส้นใบเน่าเป็นสีดำ และต่อมาใบจะแห้งเป็นสีน้ำตาล และหลุดออกจากต้น ทำให้กะหล่ำดาวแคระ แกร็น หรือหยุดชะงักการเจริญเติบโต
การป้องกันและยับยั้ง โรคกะหล่ำดาว ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส
ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิตกะหล่ำดาว ฉีดพ่นทางใบ
FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต
นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง
อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
ภาพจาก
health.mthai.com/ howto/health-care/28739.html
อ่าน:3377
แก้บร็อคโคลี่ใบไหม้ ราน้ำค้าง โรคต่างๆจากเชื้อรา ยากำจัดหนอนบร็อคโคลี่ ยาแก้เพลี้ยบร็อคโคลี่ ปุ๋ย สำหรับ บร็อคโคลี่
บร็อคโคลี่ใบไหม้ โรคใบไหม้ บร็อคโคลี่
อาการที่แสดงบนใบเลี้ยง ขอบใบจะไหม้ แห้ง เส้นใบเน่าเป็นสีดำ และต่อมาใบจะแห้งเป็นสีน้ำตาล และหลุดออกจากต้น ทำให้บร็อคโคลี่แคระ แกร็น หรือหยุดชะงักการเจริญเติบโต
โรคราน้ำค้าง บร็อคโคลี่
พบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต สังเกตุที่ใบเลี้ยงจะเป็นแผลสีน้ำตาล เป็นสาเหตุให้ลำต้นเน่า บร็อคโคลี่แคระแกร็น หากอาการรุนแรง ใบจะเป็นสีน้ำตาล และค่อยๆแห้งตาย
การป้องกันและยับยั้ง โรคบร็อคโคลี่ ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส
ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
หนอนใยผัก บร็อคโคลี่ และหนอนคืบกะหล่ำ ที่พบใน บร็อคโคลี่
ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plutella xylostella เป็นหนอนผีเสื้อ ตามใต้ใบพืช ตัวหนอนส่วนท้ายมีปุ่ม แยกยื่นออกมาเป็นสองแฉก ตัวสีเขียวปนเทาอ่อน หรือสีเขียวปนเหลือง หนอนจะกัดกินผิวใบ ทางด้านล่าง จนใบเป็นรูพรุน และเข้ากัดกินยอดผัก
ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ บร็อคโคลี่ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน
ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
เพลี้ยอ่อน บร็อคโคลี่ และเพลี้ยต่างๆ
อาการที่แสดงให้เห็น เมื่อเพลี้ยเข้าทำลาย คือใบม้วนหงิก ใบแห้งกร้าน ใบกรอบ มีสีจางเป็นจุดๆ กระจายตามจุดต่างๆของใบ เป็นอาการที่เพลี้ยอ่อนเข้าทำลาย โดยการดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ผิวใบ ทำให้ใบด่างเป็นจุดๆ ใบพืชหดตัว และเริ่มหงิกงอ
ป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ใน บร็อคโคลี่ ฉีดพ่นด้วย มาคา
ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
ปุ๋ย บร็อคโคลี่ สำหรับเร่งผลผลิต บร็อคโคลี่ ฉีดพ่นทางใบ
FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต
นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง
อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3516
ยาแก้หนอน กะหล่ำดอก ยาแก้โรคราน้ำค้าง โรคกะหล่ำใบไหม้ ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำดอก และปุ๋ยเร่งโต บำรุงกะหล่ำดอก
โรคราน้ำค้าง ในกะหล่ำดอก
พบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต สังเกตุที่ใบเลี้ยงจะเป็นแผลสีน้ำตาล เป็นสาเหตุให้ลำต้นเน่า กะหล่ำดอกแคระแกร็น หากอาการรุนแรง ใบจะเป็นสีน้ำตาล และค่อยๆแห้งตาย
โรคใบไหม้ ในกะหล่ำดอก
อาการที่แสดงบนใบเลี้ยง ขอบใบจะไหม้ แห้ง เส้นใบเน่าเป็นสีดำ และต่อมาใบจะแห้งเป็นสีน้ำตาล และหลุดออกจากต้น ทำให้กะหล่ำดอกแคระ แกร็น หรือหยุดชะงักการเจริญเติบโต
การป้องกันและยับยั้ง โรคกะหล่ำดอก ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส
ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
หนอนใยผัก ในกะหล่ำดอก และหนอนคืบกะหล่ำ
ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plutella xylostella เป็นหนอนผีเสื้อ ตามใต้ใบพืช ตัวหนอนส่วนท้ายมีปุ่ม แยกยื่นออกมาเป็นสองแฉก ตัวสีเขียวปนเทาอ่อน หรือสีเขียวปนเหลือง หนอนจะกัดกินผิวใบ ทางด้านล่าง จนใบเป็นรูพรุน และเข้ากัดกินยอดผัก
ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ในกะหล่ำดอก ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน
ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
เพลี้ยอ่อน กะหล่ำดอก และเพลี้ยต่างๆ
อาการที่แสดงให้เห็น เมื่อเพลี้ยเข้าทำลาย คือใบม้วนหงิก ใบแห้งกร้าน ใบกรอบ มีสีจางเป็นจุดๆ กระจายตามจุดต่างๆของใบ เป็นอาการที่เพลี้ยอ่อนเข้าทำลาย โดยการดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ผิวใบ ทำให้ใบด่างเป็นจุดๆ ใบพืชหดตัว และเริ่มหงิกงอ
ป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ในกะหล่ำดอก ฉีดพ่นด้วย มาคา
ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิตกะหล่ำดอก ฉีดพ่นทางใบ
FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต
นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง
อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3490
ยาแก้โรคกะหล่ำปลี โรคกะหล่ำปลีเน่าคอดิน โรคราน้ำค้าง ยากำจัดหนอนกะหล่ำปลี ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำปลี และปุ๋ยสำหรับกะหล่ำปลี
โรคกะหล่ำปลี ทีมีสาเหตุจากเชื้อรา
โรคราน้ำค้างในกะหล่ำปลี
ใบเลี้ยงจะเกิดแผลจุดสีน้ำตาล ลำต้นแคระ แกร็น อาจจะเน่า อาการเริ่มต้นใบจะเป็นจุดสีเหลือง ใต้ใบอาจพบเส้นใยเชื้อราสีเทา หรือขาว หากระบาดรุนแรง กะหล่ำปลีจะค่อยๆแห้งตาย
กะหล่ำปลีเน่าคอดิน
โรคเน่าคอดินในกะหล่ำปลี เป็นโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อราเช่นกัน มักพบระบาดง่าย ในแปลงที่หว่านกล้าแน่นจนเกินไป อาการจะเกิดรอยแผลช้ำที่โคนต้น โคนต้นจะค่อยๆแห้ง หัก ลำต้นเหี่ยว ตาย
การป้องกันและยับยั้ง โรคกะหล่ำปลี ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส
ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
หนอนแมลงศัตรูกะหล่ำปลี
หนอนใยผัก ในกะหล่ำปลี
หนอนใยผัก เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืน ตัวหนอนจะกัดกินใบด้านล่าง มองเห็นเป็นแผลบนแผ่นใบ เมื่อใบเริ่มห่อ หนอนจะเจาะเข้ากัดกินยอดอ่อน ทำให้กระหล่ำปลี ชะงักการเจริญเติบโต แคระแกร็น และเฉาตาย
หนอนคืบกะหล่ำปลี หนอนชนิดนี้ จะชอนไชเข้ากัดกินใบ หากระบาดมาก สามารถทำความเสียหายกัดกิน กะหล่ำปลีจนหมดต้น
หนอนเจาะยอดกะหล่ำ หนอนชนิดนี้จะเจาะเข้าทำลาย ถึงแกนกลางของหัวกะหล่ำปลี พบมากในระยะใบอ่อน
ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ในกะหล่ำปลี ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน
ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
เพลี้ยกะหล่ำปลี
เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เป็นแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ ของกะหล่ำปลีเช่นกัน จะเข้าดูดกินน้ำเลี้ยง สร้างความเสียหายให้กับกะหล่ำปลี ทำให้ใบเหลืองเป็นจุดๆ และเปื่อยเน่า รวมทั้งเป็นพาหะของโรคต่างๆ ทำให้กะหล่ำปลีอ่อนแอต่อโรค
ป้องกันและกำจัดเพลี้ยต่างๆ ในกะหล่ำปลี ฉีดพ่นด้วย มาคา
ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิตกะหล่ำปลี ฉีดพ่นทางใบ
FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต
นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง
อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3626
ยากำจัดเพลี้ยอ่อนคะน้า ยากำจัดหนอนในคะน้า ยาป้องกันกำจัด โรคคะน้าเน่าคอดิน โรคราน้ำค้างในคะน้า และปุ๋ยสำหรับเพิ่มผลผลิตคะน้า
เพลี้ยอ่อนคะน้า
ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ของเพลี้ยอ่อน จะดูดกินน้ำเลี้ยงยอดคะน้า ดูกินน้ำเลี้ยงรวมทั้งใบอ่อน และใบแก่ของคะน้า อาการที่แสดงให้เห็นคือ คะน้ายอดหงิก คะน้าใบหงิก หากคะน้าโดนเพลี้ยอ่อนเข้าทำลายมาก ใบจะมีสีเหลือง
การป้องกันและกำจัด เพลี้ยอ่อนคะน้า ทำได้โดยการฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
หนอนคะน้า หนอนใยผักในคะน้า
ตัวเมียของหนอนใยผักคะน้า จะวางไข่ได้ทั้งบนใบ และใต้ใบคะน้า ส่วนใหญ่มักจะเลือกวางไข่ไว้ใต้ใบ ลักษณะของหนอนใยผักนั้น หัวแหลม ท้ายแหลม ลำตัวเรียวยาว ตรงท้ายมีปุ่มแยกออกเป็นสองแฉก การทำลายของ หนอนใยผักคะน้า หนอนจะเข้ากัดกินผิวใบคะน้า ทำให้ใบคะน้ามีลักษณะเป็นรูพรุน
ป้องกันและกำจัด หนอนในคะน้า ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
คะน้าเน่าคอดิน โรคเน่าคอดินของคะน้า
เกิดจากเชื้อรา Pythium sp. หรือ Phytophthora sp. อาการที่แสดงคือ ต้นคะน้าจะเป็นแผลช้ำที่โคนต้น ติดกับดิน เนื้อเยื้อตรงแผล นะเน่าและค่อยๆแห้ง ต้นกล้าหักพับ และเหี่ยวแห้งตาย
โรคราน้ำค้างที่เกิดขึ้นกับคะน้า
เกิดจากเชื้อรา Peronospora parasitica อาการที่แสดงให้พบคือ คะน้าจะมีใบจุดสีดำ รวมกับเป็นกลุ่ม กระจายทั่วใบ สามารถลุกลามไปใบข้างเคียงได้เรื่อยๆ หากกระจายจนเต็มใบแล้ว จะทำให้ คะน้าใบเหลือง แห้ง และใบร่วง
ป้องกันและกำจัด โรคคะน้าเน่าคอดิน โรคราน้ำค้างในคะน้า และโรคคะน้าต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่นด้วย ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน
ปุ๋ยสำหรับเร่งโตแตกใบคะน้า ฉีดพ่นด้วย FK-1 ช่วยให้คะน้าโตไว ได้ผลผลิตสูงขึ้น
FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต
สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง
อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3509
336 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 33 หน้า, หน้าที่ 34 มี 6 รายการ
|
-Page 33 of 34
-|
1
|
2
|
3
|
4
|
5
|
6
|
7
|
8
|
9
|
10
|
11
|
12
|
13
|
14
|
15
|
16
|
17
|
18
|
19
|
20
|
21
|
22
|
23
|
24
|
25
|
26
|
27
|
28
|
29
|
30
|
31
|
32
|
33
|
34
|
โทร
090-592-8614
ไลน์ไอดี
@FarmKaset
กลุ่มสินค้าขายดีมาก
ฮิวมิคFK ใช้ได้ทุกพืช ช่วยพืชโตไว เขียวแข็งแรง สามารถผสมปุ๋ยยาฯต่างๆ เพิ่มการดูดซับปุ๋ยยาฯได้ดีขึ้น
อัตราผสม 10กรัม (1ช้อนแกง) ต่อน้ำ 20ลิตร 1กก. ผสมน้ำได้ถึง 2000ลิตร
ขนาด 500 กรัม
ราคา : 190 บาท
ขนาด 1 กิโลกรัม
ราคา : 250 บาท
สั่งซื้อได้ที่ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
สั่งกับ
TikTok
|
แอดไลน์สั่งซื้อ
ป้องกันกำจัด เพลี้ยไฟ เพลี้ยแป้ง เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ย แมลงปากดูดต่างๆ และ หนอนชอนใบ โล่ปลาดาว ไทอะมีทอกแซม
อัตราผสม 10กรัม (1ช้อนแกง) ต่อน้ำ 20ลิตร 100 กรัม ผสมน้ำได้ถึง 200ลิตร
ขนาด 100 กรัม
ราคา : 69 บาท
สั่งซื้อได้ที่ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
สั่งกับ
TikTok
|
แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน ใช้ได้ทุกพืช สารป้องกันกำจัดโรคพืช โรคเชื้อราหลายชนิด เช่น ใบไหม้ ใบจุด ใบติด กิ่งแห้ง ราน้ำค้าง ราสนิม ไปทอปธอร่า แอนแทรคโนส กุ้งแห้ง
อัตราผสม 40กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร 1กก. ผสมน้ำได้ถึง 500ลิตร
ขนาด 1 กิโลกรัม
ราคา : 390 บาท
สั่งซื้อได้ที่ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
สั่งกับ
TikTok
|
แอดไลน์สั่งซื้อ
กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)
เอฟเค-1
ฟื้นฟูพืช เร่งโตเร่งใบเร่งเขียว เร่งระบบราก เร่งดอก 1กล่อง (2กิโลกรัม)
ราคา : 890 บาท
สั่ง FK-1 กับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
สั่งกับ
TikTok
|
แอดไลน์สั่งซื้อ
FK-3 1ชุด (2กิโลกรัม)
พืชออกผลทุกชนิด ขยายขนาดผล เพิ่มน้ำหนัก
ราคา : 950 บาท
สั่ง FK-3 กับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
สั่งกับ
TikTok
|
แอดไลน์สั่งซื้อ
FK-3S 1ชุด (2กิโลกรัม)
อ้อยย่างปล้องสูง ลำโต เพิ่มค่าความหวาน CCS น้ำหนักดี
ราคา : 950 บาท
สั่ง FK-3S กับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
สั่งกับ
TikTok
|
แอดไลน์สั่งซื้อ
FK-3R 1ชุด (2กิโลกรัม)
ข้าวรวงยาว เมล็ดเต็ม น้ำหนักดี
ราคา : 950 บาท
สั่ง FK-3R กับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
สั่งกับ
TikTok
|
แอดไลน์สั่งซื้อ
FK-3C 1ชุด (2กิโลกรัม)
มันสำปะหลังหัวดก โต น้ำหนักดี เปอร์เซ็นต์แป้งสูง
ราคา : 950 บาท
สั่ง FK-3C กับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
สั่งกับ
TikTok
|
แอดไลน์สั่งซื้อ
กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า
โปรฯเล็กยอดฮิต ป้องกันกำจัดราต่างๆ+ฟื้นฟูบำรุง FKT 250ซีซี + ไอเอส 250ซีซี (ผสมน้ำได้ 100ลิตร)
ราคา : 499 บาท
(ปกติ 740บาท)
สั่งกับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
ไอเอส {ป้องกันกำจัดโรคพืช โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ} 1ขวด (1000ซีซี)
ราคา : 450 บาท
สั่งไอเอสกับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
ไอเอส3ลิตร {ป้องกันกำจัดโรคพืช โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ} แกลลอน3ลิตร
ราคา : 900 บาท
สั่งไอเอส3ลิตร กับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
มาคา {ป้องกันกำจัด เพลี้ย แมลงศัตรูพืช} 1ขวด (1000ซีซี)
ราคา : 470 บาท
สั่งมาคากับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
ไอกี้-บีที {ป้องกันกำจัดหนอนต่างๆ} 1กระปุก (500กรัม)
ราคา : 490 บาท
สั่งไอกี้-บีทีกับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม 1 ลิตร
ราคา : 890 บาท
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม 1ขวด (250ซีซี)
ราคา : 490 บาท
สั่งFK-T 250ซีซี กับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
ไอเอส {ป้องกันกำจัดโรคพืช โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ} 1ขวด (250ซีซี) 250บาท
สั่งไอเอสกับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
โปรฯ FKT 1ลิตร + ไอเอส 1ลิตร
ราคา : 970 บาท
(ปกติ 1340บาท)
สั่งกับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
โปรฯ FKT 1ลิตร + มาคา
ราคา : 980 บาท
(ปกติ 1360บาท)
สั่งกับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
โปรฯ FKT 1ลิตร + ไอกี้-บีที
ราคา : 990 บาท
(ปกติ 1380บาท)
สั่งกับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง
อินเวท ป้องกันกำจัดเพลี้ย ทุกชนิด ใช้ได้ทุกพืช
ราคา : 250 บาท
สั่ง อินเวท กับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
สั่งกับ
TikTok
|
แอดไลน์สั่งซื้อ
เมทาแลคซิล ป้องกันกำจัดโรคพืช โรคใบไหม้ ใบจุด ราน้ำค้าง ราสนิม โรคจากเชื้อราทุกชนิด ใช้ได้ทุกพืช
ราคา : 450 บาท
สั่ง เมทาแลคซิล กับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
สั่งกับ
TikTok
|
แอดไลน์สั่งซื้อ
คาร์รอน กำจัดหญ้า คุมหญ้า กำจัดวัชพืชทั้งใบแคบ และใบกว้าง
ราคา : 450 บาท
สั่ง คาร์รอน กับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
แอดไลน์สั่งซื้อ
กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย
สตาร์เฟอร์ 30-20-5 เร่งต้น เร่งโตไว เร่งใบเขียว ใช้ได้กับทุกพืช
ราคา : 250 บาท
สั่งกับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
สั่งกับ
TikTok
|
แอดไลน์สั่งซื้อ
แอพฯผสมสตาร์เฟอร์เป็นสูตรต่างๆตามต้องการ
สตาร์เฟอร์ 10-40-10
เร่งราก เร่งดอก ใช้ได้กับทุกพืช
ราคา : 250 บาท
สั่งกับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
สั่งกับ
TikTok
|
แอดไลน์สั่งซื้อ
แอพฯผสมสตาร์เฟอร์เป็นสูตรต่างๆตามต้องการ
สตาร์เฟอร์ 15-5-30 เพิ่มผลผลิต เร่งแป้ง สร้างน้ำตาล ขยายขนาดผล ใช้ได้กับทุกพืช
ราคา : 250 บาท
สั่งกับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
สั่งกับ
TikTok
|
แอดไลน์สั่งซื้อ
แอพฯผสมสตาร์เฟอร์เป็นสูตรต่างๆตามต้องการ
แม็กซ่า สารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ประกอบด้วย แมกนีเซียม ซิงค์ เร่งเขียว สร้างภูมิต้านทาน ใช้ได้ทุกพืช
ราคา : 250 บาท
สั่ง แม็กซ่า กับ |
ลาซาด้า
|
ช้อปปี้
สั่งกับ
TikTok
|
แอดไลน์สั่งซื้อ
บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.
ให้บริการตรวจวิเคราะห์
☑
ตรวจฉลากโภชนาการ
☑
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
☑
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
☑
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
☑
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
☑
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
☑
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
☑
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
☑
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
☑
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด
|
ปุ๋ยทุเรียน
|
ปุ๋ยมันสำปะหลัง
|
ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย
|
ปุ๋ยนาข้าว
|
ปุ๋ยยางพารา
|
ปุ๋ยมะพร้าว
|
ปุ๋ยข้าวโพด
|
ปุ๋ยปาล์ม
|
ปุ๋ยสับปะรด
|
ปุ๋ยถั่วเหลือง
|
ปุ๋ยพริกไทย
|
ปุ๋ยกาแฟ
|
ปุ๋ยมะนาว
|
ปุ๋ยส้ม
|
ปุ๋ยลำไย
|
ปุ๋ยลิ้นจี่
|
ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง
|
ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว
|
ปุ๋ยมังคุด
|
ปุ๋ยมันฝรั่ง
|
ปุ๋ยหอมหัวใหญ่
|
ปุ๋ยกระเทียม
|
ปุ๋ยหอมแดง
|
ปุ๋ยมะเขือเทศ
|
ปุ๋ยกล้วยไม้
|
ปุ๋ยอินทผลัม
|
ปุ๋ยน้อยหน่า
|
ปุ๋ยชมพู่
|
ปุ๋ยเงาะ
|
ปุ๋ยมะม่วง
|
ปุ๋ยมะขาม
|
ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้
|
ทุเรียนใบติด
|
มันสำปะหลังใบไหม้
|
โรคอ้อยใบไหม้
|
ข้าวใบไหม้
|
ยางพาราใบไหม้
|
โรคมะพร้าวใบไหม้
|
โรคราน้ำค้างข้าวโพด
|
ปาล์มใบไหม้
|
โรคสับปะรด
|
โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง
|
พริกไทยใบไหม้
|
โรคกาแฟใบไหม้
|
ราสนิมมะนาว
|
ส้มใบไหม้
|
ลำไยใบไหม้
|
ลิ้นจี่ใบไหม้
|
หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้
|
กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย
|
โรคใบจุดมังคุด
|
มันฝรั่งใบใหม้
|
โรคหอมเลื้อย
|
โรคใบจุดกระเทียม
|
โรคหอมแดง
|
ราแป้งมะเขือเทศ
|
โรคจุดสนิมกล้วยไม้
|
อินทผลัมใบไหม้
|
น้อยหน่าดอกร่วง
|
ชมพู่ใบไหม้
|
เงาะใบไหม้
|
มะม่วงใบไหม้
|
ราแป้งมะขาม
|
โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด
|
เพลี้ยทุเรียน
|
เพลี้ยมันสำปะหลัง
|
เพลี้ยอ้อย
|
เพลี้ยข้าว
|
เพลี้ยยางพารา
|
เพลี้ยมะพร้าว
|
เพลี้ยข้าวโพด
|
เพลี้ยปาล์มน้ำมัน
|
เพลี้ยสับปะรด
|
เพลี้ยถั่วเหลือง
|
เพลี้ยพริกไทย
|
เพลี้ยกาแฟ
|
เพลี้ยมะนาว
|
เพลี้ยส้ม
|
เพลี้ยลำไย
|
เพลี้ยลิ้นจี่
|
เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง
|
เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว
|
เพลี้ยมังคุด
|
เพลี้ยมันฝรั่ง
|
เพลี้ยหอมหัวใหญ่
|
เพลี้ยกระเทียม
|
เพลี้ยหอมแดง
|
เพลี้ยมะเขือเทศ
|
เพลี้ยกล้วยไม้
|
เพลี้ยอินทผาลัม
|
เพลี้ยน้อยหน่า
|
เพลี้ยชมพู่
|
เพลี้ยเงาะ
|
เพลี้ยมะม่วง
|
เพลี้ยมะขาม
|
เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้
|
โรคทุเรียน
|
โรคมันสำปะหลัง
|
โรคอ้อย
|
โรคข้าว
|
โรคยางพารา
|
โรคมะพร้าว
|
โรคข้าวโพด
|
โรคปาล์ม
|
โรคสับปะรด
|
โรคถั่วเหลือง
|
พริกไทยใบไหม้
|
โรคกาแฟ
|
โรคมะนาว
|
โรคส้ม
|
โรคลำไย
|
โรคลิ้นจี่
|
โรคหน่อไม้ฝรั่ง
|
โรคกระเจี๊ยบเขียว
|
โรคมังคุด
|
โรคมันฝรั่ง
|
โรคหอม
|
โรคกระเทียม
|
โรคหอมแดง
|
โรคมะเขือเทศ
|
โรคกล้วยไม้
|
โรคอินทผาลัม
|
โรคน้อยหน่า
|
โรคชมพู่
|
โรคเงาะ
|
โรคมะม่วง
|
โรคมะขาม
|
โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด
|
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน
|
เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
|
เพลี้ยอ้อย
|
เพลี้ยศัตรูข้าว
|
เพลี้ยแป้งยางพารา
|
เพลี้ยศัตรูมะพร้าว
|
เพลี้ยข้าวโพด
|
เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน
|
เพลี้ยแป้งสับปะรด
|
เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง
|
เพลี้ยแป้งพริกไทย
|
เพลี้ยแป้งกาแฟ
|
เพลี้ยไฟมะนาว
|
เพลี้ยไฟส้ม
|
เพลี้ยแป้งลำไย
|
เพลี้ยแป้งลิ้นจี่
|
เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง
|
เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว
|
เพลี้ยไฟมังคุด
|
เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง
|
เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่
|
เพลี้ยไฟกระเทียม
|
เพลี้ยไฟหอมแดง
|
เพลี้ยมะเขือเทศ
|
เพลี้ยไฟกล้วยไม้
|
เพลี้ยแป้งอินทผาลัม
|
เพลี้ยแป้งน้อยหน่า
|
เพลี้ยไฟชมพู่
|
เพลี้ยแป้งเงาะ
|
เพลี้ยจักจั่นมะม่วง
|
เพลี้ยมะขาม
|
เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช
|
กำจัดหนอนทุเรียน
|
กำจัดหนอนมันสำปะหลัง
|
กำจัดหนอนกออ้อย
|
กำจัดหนอนในนาข้าว
|
กำจัดหนอนในสวนยางพารา
|
กำจัดหนอนมะพร้าว
|
กำจัดหนอนข้าวโพด
|
กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน
|
กำจัดหนอนสับปะรด
|
กำจัดหนอนถั่วเหลือง
|
กำจัดหนอนพริกไทย
|
กำจัดหนอนกาแฟ
|
กำจัดหนอนมะนาว
|
กำจัดหนอนส้ม
|
กำจัดหนอนลำไย
|
กำจัดหนอนลิ้นจี่
|
กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง
|
กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว
|
กำจัดหนอนมังคุด
|
กำจัดหนอนมันฝรั่ง
|
กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่
|
กำจัดหนอนกระเทียม
|
กำจัดหนอนหอมแดง
|
กำจัดหนอนมะเขือเทศ
|
กำจัดหนอนกล้วยไม้
|
กำจัดหนอนอินทผาลัม
|
กำจัดหนอนน้อยหน่า
|
กำจัดหนอนชมพู่
|
กำจัดหนอนเงาะ
|
กำจัดหนอนมะม่วง
|
กำจัดหนอนมะขาม
|
กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025
ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ
คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย
เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ดอกชบา การปลูกชบา การดูแล ป้องกันกำจัดโรค และแมลง
Update: 2564/03/27 00:40:19 - Views: 3907
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 15-5-30+3 MgO: เพิ่มขนาดและคุณภาพของผลผลิตมันสำปะหลัง
Update: 2567/02/13 10:53:04 - Views: 3498
ผสมปุ๋ย สูตร เร่งดอก เร่งผล สูตร 9-25-25 หรือ 8-24-24 ใช้เองง่ายๆ ใช้แอพผสมปุ๋ยช่วยคำนวณส่วนผสม
Update: 2566/01/31 09:26:28 - Views: 3913
โรคข่าเหลือง โรคหัวเน่าในข่าเหลือง
Update: 2564/08/29 23:18:01 - Views: 3714
ระวัง! เนื้อวัวดิบ อันตรายต่อสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นได้
Update: 2565/11/18 12:49:30 - Views: 3404
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 สูตรเร่งผลใหญ่ ผลดก เพิ่มผลผลิตสำหรับต้นฟักทอง
Update: 2567/03/14 15:00:13 - Views: 3636
เทคนิคการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง เพิ่มขนาดและน้ำหนักหัวมันสำปะหลัง Technology of increate cassava yield
Update: 2563/06/16 21:06:09 - Views: 3739
โรคกัญชาใบไหม้ โรคกัญชงใบไหม้ โรครากัญชา โรครากัญชง โรคกัญชาใบจุด โรคราสนิมกัญชา
Update: 2564/08/09 11:05:25 - Views: 4038
การเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังให้สูงสุดด้วยปุ๋ย FK-1 และ FK-3
Update: 2566/01/05 13:07:55 - Views: 3394
ยากำจัดโรครากเน่าแห้ง ใน กาแฟ โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/14 15:17:18 - Views: 3432
NSUT10-266: โคลนอ้อยดีเด่นน้ำตาลสูง
Update: 2564/08/10 11:58:55 - Views: 3472
มะละกอผลเน่า มะละกอใบไหม้ ราขาวมะละกอ ราดำมะละกอ ควบคุม ป้องกันกำจัด ก่อนโรคจะสร้างความเสียหาย
Update: 2566/11/04 19:44:55 - Views: 9647
ที่สุดของ ปุ๋ยเร่งผลลำไย ปุ๋ยลำไย ที่ให้ โพแทสเซียม มากถึง 40% เร่งผลโต น้ำหนักดี โปรดอ่านวิธีใช้
Update: 2565/02/13 20:22:30 - Views: 3413
🔥โรคราสนิม ในพืชต่างๆ ใช้ ไอเอส
Update: 2564/07/08 16:47:19 - Views: 3602
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนกินใบ ใน ดอกบานไม่รู้โรย และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/14 14:03:18 - Views: 3453
การดูแลสวนลำไยตลอดปี ด้วยฮิวมิคFK (เสริมฟลูวิค) และปุ๋ยทางใบ FK-1 เพื่อการเติบโตและผลผลิตที่สมบูรณ์
Update: 2567/11/09 08:28:55 - Views: 71
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยแป้ง ในมะนาว และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/28 14:44:45 - Views: 3739
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธาตุอาหารของพืช ธาตุหลัก ธาตุรอง ที่พืชจำเป็นต้องใช้ในการเจริญเติบโต
Update: 2563/06/16 22:23:14 - Views: 4462
การเลือกซื้อ ดาบ คาตานะ ดาบซามูไร ให้ได้คุณภาพดี ในราคาไม่แพง
Update: 2566/10/28 12:32:08 - Views: 9745
โรคใบติดหรือใบไหม้ในทุเรียน มีสาเหตุจาก เชื้อราไรซอกโทเนีย (Rhizoctonia sp.) รักษาได้ด้วย ไอเอส
Update: 2563/12/11 11:11:51 - Views: 3705
GA4 © FarmKaset.ORG |
สถาบันอนุญาโตตุลาการ
: 2022