[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - ธาตุรอง
344 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 34 หน้า, หน้าที่ 35 มี 4 รายการ

โรคใบไหม้ทุเรียน ทุเรียนใบไหม้ [ ไอเอส และ FK-1 ]
โรคใบไหม้ทุเรียน ทุเรียนใบไหม้ [ ไอเอส และ FK-1 ]
ในสภาพอากาศร้อนแล้ง มีฝนตกเข้าผสมโรง กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรชาวสวนทุเรียนให้เฝ้าระวังการระบาดของ โรคใบไหม้ หรือ โรคใบติด ที่เกิดจากเชื้อราไรซอกโทเนีย (Rhizoctonia sp.) พบได้ทั้งในระยะพัฒนาผลไปจนถึงระยะเก็บเกี่ยว

อาการเริ่มแรกจะพบบนใบมีแผลคล้ายถูกน้ำร้อนลวก ต่อมาแผลจะขยายตัวและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล มีขนาดและรูปร่างไม่แน่นอน จากนั้นจะลุกลามไปยังใบปกติข้างเคียง

กรณีที่มีความชื้นสูงเชื้อราสาเหตุโรคจะสร้างเส้นใยคล้ายใยแมงมุมยึดใบให้ติดกัน ใบที่เป็นโรคจะไหม้ แห้ง หลุดร่วงไปสัมผัสกับใบด้านล่าง ทำให้โรคระบาดลุกลามจนเห็นใบไหม้เกิดเป็นหย่อมๆ ใบแห้งติดกันเป็นกระจุกแขวนค้างตามกิ่ง ต่อมาใบจะร่วงจนเหลือแต่กิ่ง และกิ่งแห้งในที่สุด ทำให้ต้นทุเรียนเสียรูปทรง

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคไหม้ข้าว ระบาดโคราช 8 อำเภอ ข้าวใบไหม้ นับหมื่นไร่ ( ไอเอส + FK-1 )
โรคไหม้ข้าว ระบาดโคราช 8 อำเภอ ข้าวใบไหม้ นับหมื่นไร่ ( ไอเอส + FK-1 )
โรคไหม้ข้าวระบาดโคราช 8 อำเภอนับหมื่นไร่ จนท.เกษตรเร่งลงพื้นที่ช่วยเหลือกำจัดเชื้อ ผู้สื่อข่าวรายงานว่า นายกังสดาล สวัสดิ์ชัย เกษตรจังหวัดนครราชสีมา พร้อมด้วย นายวรกร เปรื่องค้า หัวหน้ากลุ่มงานอารักขาพืช นำเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่ให้คำแนะนำเกษตรกรในการป้องกันและกำจัดโรคไหม้ข้าวที่กำลังระบาดหนักในพื้นที่อำเภอเสิงสาง จ.นครราชสีมา หลังจากมีรายงานพบการระบาดแล้วกว่า 560 ไร่ ซึ่งเบื้องต้นพบเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้วิธีการตัดใบข้าวที่แห้งเหี่ยวจากอาการของโรคไหม้ข้าวออก ซึ่งไม่สามารถกำจัดการระบาดของโรคได้ทั้งหมด

นายกังสดาล สวัสดิ์ชัย เกษตรจังหวัดนครราชสีมา เปิดเผยว่า ลักษณะอาการของโรคไหม้ข้าวนั้นจะพบว่าที่ใบของต้นข้าวมีแผลเป็นจุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตาตรงกลาง แผลมีสีเทา ในขนาดต่างๆ กัน จุดแผลจะขยายติดต่อลุกลามได้ทั่วบริเวณใบ หากปล่อยไว้จะแห้งเหี่ยวตายไม่ได้ผลผลิต โดยการระบาดเนื่องมาจากว่าในช่วงนี้เป็นช่วงที่อากาศปิด ท้องฟ้าครึ้ม ร้อนอบอ้าวแต่ไม่มีแดด เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเชื้อราซึ่งเป็นสาเหตุของโรค

ทั้งนี้ ลักษณะอาการของโรคไหม้ข้าวพบได้ใน 3 ระยะ คือ 1. การระบาดในระยะกล้า ใบจะมีแผลเป็นจุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล โดยความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร ซึ่งแผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตายอาการคล้ายถูกน้ำร้อนลวก 2. ระยะแตกกอขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ และ 3. ในระยะออกรวงเมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลายขณะที่ข้าวเพิ่งออกรวงจะทำให้เมล็ดลีบ แต่ขณะที่รวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว คอรวงมีรอยแผลช้ำสีน้ำตาลจะทำให้ต้นข้าวเปราะและหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่น

นายกังสดาลกล่าวต่อว่า จังหวัดนครราชสีมามีพื้นที่เพาะปลูกข้าวทั้งหมด 2_441_645.63 ไร่ ล่าสุดพบว่ามีการระบาดของโรคนี้แล้วใน 8 อำเภอ ได้แก่ อ.ขามสะแกแสง อ.จักราช อ.โชคชัย อ.คง อ.พิมาย อ.เมืองยาง อ.หนองบุญมาก และอำเภอเสิงสาง มีพื้นที่ระบาด 9_123 ไร่ เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบ 1_042 ราย

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคไหม้ข้าว ระบาดในแปลงกล้า ใช้ ไอเอส และ FK-1
โรคไหม้ข้าว ระบาดในแปลงกล้า ใช้ ไอเอส และ FK-1
นายสมพล แสนคำ เกษตรจังหวัดเชียงใหม่ เปิดเผยถึงสาเหตุของ โรคไหม้ ว่าเกิดจากเชื้อรา Pyricularia oryzae cav ซึ่งสามารถทําลายข้าวได้ทุกระยะตั้งแต่เริ่มปลูก จนถึงเก็บเกี่ยว โรคไหม้จะเกิดขึ้นและแพร่ระบาดได้อย่างรุนแรง ถ้ามีสภาพแวดล้อมเหมาะสม คือ ใช้พันธุ์ข้าวอ่อนแอต่อโรค เช่น มะลิ 105 กข6 เหนียวอุบล เหนียวสันป่าตอง และ กข 23 สภาพอากาศมีความชื้นค่อนข้างสูง ตั้งแต่ 80% ขึ้นไป โดยเฉพาะในช่วงบ่ายถึงเช้าวันรุ่งขึ้น อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการระบาดของโรคคือ ระหว่าง 22-28 องศาเซลเซียส หากเกษตรกรมีการใช้เมล็ดพันธุ์อัตราสูง เช่น 20-30 กิโลกรัม/ไร่ หรือใส่ปุ่ยอัตราสูง 60-80 กิโลกรัม/ต่อไร่ ก็เป็นการชักนำให้เกิด โรคไหม้ได้เช่นกัน

ลักษณะอาการ

ระยะกล้า ที่ใบมีแผลจุดสีนํ้าตาลลักษณะคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผลมีขนาดแตกต่างกันไปความกว้างระหว่าง 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 15-20 มิลลิเมตร จุดแผลนี้สามารถขยายลุกลามจนแผลรวมกันทั่วบริเวณใบ ในกรณีที่โรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งและยุบตายอาการคล้ายถูกไฟไหม้ (blast)

ระยะแตกกอ อาการของโรคพบได้ที่ใบ กาบใบ ข้อต่อของใบและข้อต่อของลําต้น ขนาดของแผลจะ ใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้าแผลลุกลามติดต่อกันได้ ที่บริเวณข้อต่อใบจะมีลักษณะแผลชํ้าสีนํ้าตาลดําและ ใบมักหลุดจากกาบใบเสมอ

ระยะคอรวง ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวงเมื่อถูกเชื้อรานี้เข้าทําลายเมล็ดจะลีบหมด แต่ถ้าเชื้อราเข้าทําลายตอนรวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยวคอรวงจะปรากฎรอยแผลชํ้าสีนํ้าตาล ทําให้เปราะหักพับง่ายทำให้รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายจำนวนมาก
ในปัจจุบันในแหล่งที่มีการทํานามากกว่าปีละครั้งจะพบโรคนี้แพร่ระบาดเป็นประจํา โดยเฉพาะใน แหล่งที่ปลูกข้าว

หนาแน่นอับลม ใส่ปุ๋ยมากเกินไป และมีสภาพแห้งแล้งในตอนกลางวัน ชื้นจัดในตอนกลางคืน ถ้าต้นข้าวอยู่ในระยะเจริญเติบโตและสภาพอากาศมีลมพัดแรงและหนาวจัดเป็นเวลาติดต่อกัน หลายวันจะทําให้ต้นข้าวชะงักการเจริญเติบโตใบจะม้วนและเหลืองต้นแคระแกร็น หากข้าวอยู่ในระยะตั้งท้องจะผสมไม่ติดทําให้เมล็ดลีบ

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
ข้าวใบไหม้ ใช้ ไอเอส และ FK-1
ข้าวใบไหม้ ใช้ ไอเอส และ FK-1
ในฤดูการผลิตที่ผ่านมาพบการระบาดของโรคไหม้ข้าว(ระยะออกรวง) โดยพบมากในพื้นที่ปลูกข้าว พันธุ์อ่อนแอ ได้แก่ พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข 15 และกข 6 รวมถึงแปลงที่มีการปลูกข้าวหนาแน่น และมีการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนในอัตราสูง อีกทั้งสภาพอากาศในหลายพื้นที่ มีความแห้งในตอนกลางวันและชื้นจัดและเย็นในตอนกลางคืน อุณหภูมิต่ำสุดที่ 22 – 27 องศาเซลเซียส ซึ่งเหมาะสมต่อการเกิดโรคทำให้เกิดการระบาดรุนแรง และทำให้มีโอกาสเกิดการแพร่กระจายของโรคได้ดี

ลักษณะอาการของโรคในระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผลความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้ ในระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ ในระยะออกรวง(โรคไหม้คอรวง)ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวง เมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลาย เมล็ดจะลีบหมด แต่ถ้าเป็นโรคตอนรวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวง ทำให้เปราะหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายมากการแพร่ระบาด พบโรคในแปลงที่ต้นข้าวหนาแน่น ทำให้อับลม ใส่ปุ๋ยอัตราสูงสภาพอากาศร้อนในตอนกลางวัน และชื้นจัดในตอนกลางคืน โดยกระแสลมแรงจะเป็นตัวช่วยในการแพร่กระจายโรคได้ดี

นางจันทิรา บวรรัตนสุภา เกษตรจังหวัดตาก ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้เกี่ยวกับโรคไหม้ข้าวแก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าวเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นโรคที่ส่งผลกระทบสร้างความเสียหายให้กับผลผลิตข้าวของเกษตรกร โดยเฉพาะข้าวขาวมะลิ 105 กข 15 กข 6 ซึ่งเป็นพันธุ์ที่อ่อนแอต่อโรคดังกล่าว โดยโรคไหม้ข้าวสามารถเข้าทำลายต้นข้าวได้ทุกระยะการเจริญเติบโต ตั้งแต่ระยะกล้าถึงระยะข้าวออกรวง ส่งผลกระทบให้ทำปริมาณผลผลิตลดลงอย่างมาก โดยได้มอบหมายให้นายสมาน เทพารักษ์ หัวกลุ่มอารักขาพืช นำทีมเจ้าหน้าที่กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดตากลงพื้นที่ถ่ายทอดความรู้และส่งเสริมให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวใช้สารชีวภัณฑ์ เชื้อราไตรโครเดอร์มา ในการป้องกันกำจัดโรคไหม้ขาวเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเป็นสารชีวภัณฑ์ที่สามารถป้องกันกำจัดและควบคุมการเกิดโรคดังกล่าวได้ โดยเชื้อราไตรโครเดอร์มานั้นเป็นเชื้อราที่ไม่เป็นอันตรายต่อตัวเกษตรกรและสิ่งแวดล้อม ซึ่งสามารถนำไปใช้ได้หลากหลายวิธี เช่น การนำไปแช่เมล็ดข้าวก่อนหว่าน หรือนำไปฉีดพ่นในแปลงทุกๆ 3-7 วัน ฯลฯ เพื่อป้องกันและลดอัตราการเกิดโรค โดยทีมอารักขาพืชสำนักงานเกษตรจังหวัดตาก ได้ลงพื้นที่ที่เคยเกิดการระบาดของโรคไหม้ รวมทั้งพื้นที่ที่มีการปลูกข้าวพันธุ์อ่อนแอต่อโรคอย่างต่อเนื่อง เพื่อถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับสารชีวภัณฑ์ดังกล่าว สอนวิธีการในการขยายเชื้อให้แก่เกษตรกรและทดลองปฏิบัติด้วยตนเอง เพื่อให้นำกลับไปใช้ในแปลงซึ่งเกษตรกรในพื้นที่ได้ให้ความร่วมมือและให้ความสนใจเป็นอย่างยิ่ง พร้อมที่จะเรียนรู้และนำไปใช้จริง

สำนักงานเกษตรจังหวัดตาก โดยกลุ่มอารักขาพืชร่วมกับสำนักงานเกษตรอำเภอได้รวมกลุ่มเกษตรกรที่สนใจเพื่อจัดตั้งเป็นศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน(ศูนย์ขยาย)ขึ้นในพื้นที่ เพื่อให้เกษตรกรสามารถเข้ามาเรียนรู้เรื่องโรคแมลงที่สำคัญร่วมกัน สามารถขยายชีวภัณฑ์ต่างๆเพื่อนำไปใช้ป้องกันกำจัดโรคและแมลงในแปลงของตนเองหรือในชุมชนได้ เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตในส่วนของสารป้องกันกำจัดโรคและแมลงต่างๆได้เป็นอย่างดี รวมทั้งเพื่อให้สามารถป้องกันและควบคุมสถานการณ์การระบาดของโรคไหม้ข้าวในพื้นที่จังหวัดตากไม่ให้เกิดการระบาดเพิ่มมากขึ้นและเพื่อเป็นการป้องกันการเกิดโรคในระยะยาวต่อไป

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
กรมการข้าวเตือน ระวังโรคไหม้ระบาด
กรมการข้าวเตือน ระวังโรคไหม้ระบาด
ในสภาพอากาศมีความชื้นสูง ทั้งทางภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคตะวันตก ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ ซึ่งทำให้เกิดโรคไหม้ระบาดได้ง่าย และในระยะนี้หลายพื้นที่อยู่ระหว่างข้าวตั้งท้องถึงออกรวง ชาวนาควรหมั่นสำรวจแปลงนาอย่างสม่ำเสมอ เมื่อพบการอาการของโรคไหม้ ให้รีบดำเนินการควบคุมและหาทางป้องกันกำจัดก่อนเกิดการระบาดรุนแรง ซึ่งจะส่งผลกระทบผลผลิตได้

นายสุดสาคร ภัทรกุลนิษฐ์ อธิบดีกรมการข้าว กล่าวว่า โรคไหม้สาเหตุเกิดจากเชื้อรา โดยในระยะกล้าใบมีแผลจุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้ ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ และระยะคอรวง (ออกรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวง เมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลาย เมล็ดจะลีบหมด รวงข้าวมีสีซีดขาว แต่ถ้าเป็นโรคตอนรวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวง ทำให้เปราะหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายมาก การแพร่ระบาด พบโรคในแปลงที่ต้นข้าวหนาแน่น ทำให้อับลม ถ้าใส่ปุ๋ยสูงและมีสภาพแห้งในตอนกลางวันและชื้นจัดในตอนกลางคืน มีน้ำค้างยาวนานถึงตอนสายราว 9 โมง ถ้าอากาศค่อนข้างเย็น อุณหภูมิประมาณ 22-25 องศาเซลเซียส ลมแรงจะช่วยให้โรคแพร่กระจายได้ดี

การป้องกันและการกำจัดโรคไหม้ ในระบบการผลิตข้าวแบบอินทรีย์ 1)ให้ใช้พันธุ์ต้านทาน และค่อนข้างต้านทานต่อโรคไหม้ที่เหมาะสมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่พันธุ์ กข22 และ กข33 2)ควรปลูกพืชตระกูลถั่วเพื่อปรับปรุงโครงสร้างของดินและช่วยเพิ่มปุ๋ยพืชสดในดิน เช่น ปลูกปอเทืองช่วงปอเทืองออกดอกสีเหลืองเต็มท้องทุ่งให้ไถกลบเพื่อจะได้ปุ๋ยพืชสด

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคไหม้ ระบาดนาข้าว กรมการข้าว เร่งช่วยชาวนา แนะใช้ข้าวพันธุ์ต้านทานโรค ข้าวใบไหม้
โรคไหม้ ระบาดนาข้าว กรมการข้าว เร่งช่วยชาวนา แนะใช้ข้าวพันธุ์ต้านทานโรค ข้าวใบไหม้
อธิบดีกรมการข้าว กล่าวว่า จากสถานการณ์ที่ได้เกิดโรคไหม้ระบาดในพื้นที่นาข้าวจังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดศรีสะเกษ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี นายประภัตร โพธสุธน รมช.เกษตรและสหกรณ์ และกรมการข้าว ได้มีความห่วงใยชาวนา โดยเตรียมการอย่างเร่งด่วน เพื่อให้การช่วยเหลือ โดยสั่งการให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ให้หาแนวทางช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนและประสานหน่วยงานในพื้นที่ เพื่อเป็นการทำงานแบบบูรณาการ ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัด เกษตรและสหกรณ์จังหวัด เกษตรจังหวัด เจ้าหน้าที่กรมการข้าว ซึ่งจากการทำงานในครั้งนี้ คาดว่าจะช่วยแบ่งเบาความเดือดร้อน ให้แก่ชาวนาที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคไหม้ในครั้งนี้ได้

สำหรับโรคไหม้สาเหตุเกิดจากเชื้อรา พบทุกภาคของประเทศไทย ในสภาพข้าวนาสวนและข้าวไร่ ทั้งฤดูนาปีและฤดูนาปรัง ลักษณะอาการ ที่พบในต้นข้าวระยะต่างๆ มี ดังนี้
ระยะกล้า ใบมีแผลจุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตามีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตายอาการคล้ายถูกไฟไหม้
ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลําต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ

ระยะออกรวง เรียกว่าโรคไหม้คอรวง ข้าวที่เพิ่งจะเริ่มให้รวงเมื่อถูกเชื้อราเข้าทําลายเมล็ดจะลีบหมด แต่ถ้า เป็นโรคตอนรวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยวจะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวงทำให้เปราะหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่น เสียหายมาก

การแพร่ระบาด พบโรคไหม้ระบาดในแปลงที่ต้นข้าวหนาแน่น ทำให้อับลม ถ้าใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูง มีสภาพแห้งในตอนกลางวัน และชื้นจัดในตอนกลางคืน น้ำค้างยาวนานถึงตอนสายราว 9 โมง อากาศค่อนข้างเย็นอุณหภูมิประมาณ 22-25 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพันธ์สูงมากกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ และลมพัดแรงจะช่วยให้โรคแพร่กระจายได้ดี

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคไหม้ข้าว (Rice Blast Disease)
โรคไหม้ข้าว (Rice Blast Disease)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : เชื้อรา Pyricularia oryzae Sacc. ลักษณะอาการ ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2 - 5 มม. และความยาวประมาณ 10 - 15 มม. แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้

ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลาม
ระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ

ระยะออกรวง (โรคเน่าคอรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวง เมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลาย เมล็ดจะลีบหมดแต่ถ้าเป็นโรคตอนรวงแก่

ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวง ทำให้เปราะ หักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายมาก

การแพร่ระบาด

พบโรคในแปลงที่ต้นข้าวหนาแน่น ทำให้อับลม ถ้าใส่ปุ๋ยอัตราสูงและมีสภาพอากาศแห้งในตอนกลางวันและชื้นจัดใน
กลางคืน ลมแรงจะแพร่กระจายโรคได้ดี

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคไหม้ข้าว ระยะคอรวง หมั่นสำรวจแปลง รู้ทันก่อนเกิดโรค
โรคไหม้ข้าว ระยะคอรวง หมั่นสำรวจแปลง รู้ทันก่อนเกิดโรค
กรมส่งเสริมการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ในช่วงนี้เป็นช่วงที่ข้าวกำลังออกรวง แนะให้เกษตรกรหมั่นลงพื้นที่เพื่อสำรวจแปลง เพื่อป้องกันโรคไหม้ข้าว ระยะคอรวง ซึ่งโรคไหม้ข้าวสามารถพบได้ในหลายช่วงอายุของการปลูกข้าวตั้งแต่ระยะกล้า ระยะแตกกอ ไปจนถึงระยะออกรวง การระบาดของโรคพบได้ในสภาพแปลงนาที่มีต้นข้าวหนาแน่น อับลม แปลงนาที่ใส่ปุ๋ยอัตราสูง สภาพอากาศร้อนในตอนกลางวัน และมีชื้นสูงในตอนกลางคืน กระแสลมแรงจะเป็นตัวช่วยในการแพร่กระจายโรคได้ดี โดยลักษณะอาการในแต่ละระยะการเจริญเติบโตมีลักษณะ ดังนี้

ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าอาการของโรครุนแรงต้นกล้าจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้

ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ

ระยะออกรวง (โรคไหม้คอรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวงเมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลาย เมล็ดจะลีบ แต่ถ้าเป็นโรคตอน รวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวง ทำให้เปราะหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายปริมาณมาก ยิ่งในช่วงนี้ทุกภาคของประเทศไทยมีฝนตกอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับข้าวอยู่ในระยะออกรวงจึงอาจทำให้การระบาดของโรคไหม้ข้าวระยะคอรวงเพิ่มมากขึ้นและอาจส่งผลกระทบต่อผลผลิตข้าวอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคไหม้ข้าว โรคข้าวใบไหม้
โรคไหม้ข้าว โรคข้าวใบไหม้
โรคไหม้ (Rice Blast Disease) พบมาก ในนาน้ำฝน ข้าวพันธุ์พื้นเมืองไวต่อช่วงแสง พบส่วนใหญ่ใน ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันตก และ ภาคใต้

สาเหตุ เชื้อรา Pyricularia grisea Sacc.

อาการ

ระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล ความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้

ระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ

ระยะออกรวง (โรคเน่าคอรวง) ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวง เมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลาย เมล็ดจะลีบหมด แต่ถ้าเป็นโรคตอนรวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวง ทำให้เปราะหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายมาก

การแพร่ระบาด พบโรคในแปลงที่ต้นข้าวหนาแน่น ทำให้อับลม ถ้าใส่ปุ๋ยสูงและมีสภาพแห้งในตอนกลางวันและชื้นจัดในตอนกลางคืน น้ำค้างยาวนานถึงตอนสายราว 9 โมง ถ้าอากาศค่อนข้างเย็น อุณหภูมิประมาณ 22-25 oC ลมแรงจะช่วยให้โรคแพร่กระจายได้ดี

การป้องกันกำจัด

ใช้พันธุ์ต้านทานโรค
ภาคกลาง เช่น สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 2 สุพรรณบุรี 60 สุพรรณบุรี 90 ชัยนาท 1 ปราจีนบุรี 1
พลายงาม คลองหลวง 1 พิษณุโลก 1

ภาคเหนือ และตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น สุรินทร์ 1 เหนียวอุบล 2 เหนียวแพร่ สันปาตอง 1
หางยี 71 กู้เมืองหลวง ขาวโปร่งไคร้ น้ำรู

ภาคใต้ เช่น ดอกพะยอม

ข้อควรระวัง : ข้าวพันธุ์สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 60 และชัยนาท 1 ที่ปลูกในภาคเหนือตอนล่าง พบว่า แสดงอาการรุนแรงในบางพื้นที่ และบางปี โดยเฉพาะเมื่อสภาพแวดล้อมเอื้ออำนวย เช่น ฝนพรำ หรือหมอก น้ำค้างจัด อากาศเย็น ใส่ปุ๋ยมากเกินความจำเป็น หรือเป็นดินหลังน้ำท่วม

หว่านเมล็ดพันธุ์ในอัตราที่เหมาะสม คือ 15-20 กิโลกรัม/ไร่ ควรแบ่งแปลงให้มีการระบายถ่ายเทอากาศดี และไม่ควรใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูงเกินไป ถ้าสูงถึง 50 กิโลกรัม/ไร่ โรคไหม้จะพัฒนาอย่าง
รวดเร็ว

คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารป้องกันกำจัดเชื้อรา เช่น คาซูกาไมซิน ไตรไซคลาโซล คาร์เบนดาซิม
โพรคลอราซ ตามอัตราที่ระบุ ในแหล่งที่เคยมีโรคระบาดและพบแผลโรคไหม้ทั่วไป 5 เปอร์เซ็นต์

ของพื้นที่ใบ ควรฉีดพ่นสารป้องกันกำจัดเชื้อรา เช่น คาซูกาไมซิน อีดิเฟนฟอส ไตรไซคลาโซล
ไอโซโพรไทโอเลน คาร์เบนดาซิม ตามอัตราที่ระบุ

ที่มา http://www.farmkaset..link..


ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคราสนิมถั่วฝักยาว : RUST DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
โรคราสนิมถั่วฝักยาว : RUST DISEASE [ ไอเอส + FK-1 ]
เชื้อสาเหตุ : รา Uromyces appendiculatus var. appendiculatus (Pers.) Unger

ชีววิทยาของเชื้อ : พบเชื้อระยะ uredinium และ telium ที่ด้านบนใบมากกว่าใต้ใบ โดยเกิดใต้ epidermis ของพืช เมื่อเจริญเต็มที่จะดัน epidermis แตกออกมา เห็นผงสปอร์สีน้ำตาลแดงถึงสีดำ เกิด รวมกันเป็นกลุ่ม มีลักษณะเป็นวงกลมซ้อนกันหรืออาจเกิดเดี่ยวๆ กระจายทั่วใบ สปอร์ (urediniospore) 1 เซลล์ เกิดบนก้าน ผนังบาง ใสไม่มีสี ส่วนใหญ่รูปร่างเป็นแบบ obovoid มีบางสปอร์รูปร่างแบบ broadly ellipsoid ขนาด 21.25-28.75 x 18.75-22.50 ไมครอน (เฉลี่ย 25.45 x 20.88 ไมครอน) สีเหลืองทอง ผนังหนาสม่ำเสมอ ผิวผนังเป็นหนามแบบ echinulate มีจุดงอก 2 จุดต่อสปอร์ อยู่ด้านตรงข้ามกัน teliospore 1 เซลล์ รูปร่างแบบ obovoid ellipsoid จนถึงเกือบกลม ขนาด 26.25-35.00 x 23.75-27.50 ไมครอน (เฉลี่ย 31.50 x 25.31 ไมครอน) สีน้ำตาลเข้มบริเวณ apex ยื่นออกไปเป็นติ่งใสไม่มีสีหรือสีน้ำตาลอ่อน ผิวผนังเรียบ มีจุดงอก 1 จุดต่อสปอร์ อยู่บริเวณตรงกลาง apex เกิดบนก้านผนังบาง ใสไม่มีสีหรือสีเหลืองอ่อน

ลักษณะอาการ : เริ่มแรกเกิดเป็นจุดสีเหลืองซีด ต่อมาเป็นตุ่มนูนขนาดเล็กสีน้ำตาลแดง เนื้อใบบริเวณ รอบแผลเป็นวงสีเหลือง ต่อมาแผลขยายใหญ่ขึ้นและแตกปริออก มีผงสปอร์สีน้ำตาลแดง หรือสีน้ำตาลดำ เกิดกระจายทั่วใบ พบทั้งด้านบนใบและใต้ใบ มักเกิดกับใบแก่ทางตอนล่างของลำต้นก่อนแล้วลามขึ้นด้านบน เริ่มพบเมื่อต้นถั่วอยู่ในระยะออกดอก ถ้าเป็นรุนแรงมากจะทำให้ใบแห้งและร่วง

การแพร่ระบาด : โรคแพร่ระบาดโดยสปอร์ของเชื้อราแพร่ไปกับลม น้ำฝน และแมลง สภาพที่เหมาะสม ต่อการระบาดของโรคคืออุณหภูมิปานกลาง-ค่อนข้างสูง ความชื้นสูง ครึ้มฝน หมอกลงจัด น้ำค้างมาก หรือเมื่อมี น้ำเกาะติดอยู่กับใบพืชเป็นเวลานาน

การป้องกันกำจัด :

1. ไม่ปลูกพืชแน่นเกินไป

2. ทำความสะอาดแปลงปลูก กำจัดเศษซากพืชที่เป็นโรค

3. เมื่อพบโรคระบาดในแปลง พ่นสารป้องกันกำจัดโรคพืช เช่น กำมะถันผงชนิดละลายน้ำ อัตรา 30-40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นสัปดาห์ละครั้ง ไม่ควรใช้ในขณะที่แดดร้อนจัด

4. ปลูกพืชชนืดอื่นหมุนเวียน

5. กำจัดวัชพืช สม่ำเสมอ เพื่อลดความชื้น ลดการแข่งขันกับพืช และช่วยให้แดดส่องถึง

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคราสนิมถั่วฝักยาว โรคราแป้ง โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราไฟทอปโธร่า โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
344 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 34 หน้า, หน้าที่ 35 มี 4 รายการ
|-Page 23 of 35-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
มะม่วงเจริญเติบโตได้ดี และให้ผลผลิตสูง ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม ซิงค์ เป็นองค์ประกอบที่สำคัญ
Update: 2566/11/10 07:07:37 - Views: 9777
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร: การใส่ใจดูแลต้นสละของคุณ โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก หัวใหญ่ ดกเต็มต้น
Update: 2567/02/12 14:49:35 - Views: 3470
การเลือกซื้อ ดาบ คาตานะ ดาบซามูไร ให้ได้คุณภาพดี ในราคาไม่แพง
Update: 2566/10/28 12:32:08 - Views: 9680
การปลูกมันสำปะหลัง การให้ปุ๋ยมันสำปะหลังตามช่วงอายุ การแก้โรคใบไหม้มันสำปะหลัง และกำจัดแมลงศัตรูพืช
Update: 2564/08/27 23:34:58 - Views: 3436
ยากำจัดหนอน กะเพรา หนอนกินใบกะเพรา หนอนชอนใบ หนอนต่างๆ ใช้ ไอกี้-บีที
Update: 2564/10/10 03:48:07 - Views: 3490
ยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง ปุ๋ยเร่งโตมันสำปะหลัง ปุ๋ยเร่งหัวมันสำปะหลัง ปุ๋ยน้ำฉีดมันสำปะหลัง FK
Update: 2564/08/27 23:33:50 - Views: 3597
กำจัดเชื้อรา กะหล่ำ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/16 10:18:51 - Views: 3405
ผักชีลาว ใบไหม้ ใบจุด ราแป้ง เน่าคอดิน รากเน่า โรคราต่างๆ ในต้นกระเพรา ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วย FK-T
Update: 2567/04/19 16:01:13 - Views: 3532
คู่มือป้องกันกำจัดโรคเชื้อราต่างๆในดาวเรือง ดาวเรืองใบไหม้ ดอกไหม้ ดอกเป็นจุด ราแป้ง ฯลฯ
Update: 2566/05/01 10:27:34 - Views: 10343
ผลกระทบต่อสุขภาพ จากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
Update: 2564/08/12 22:06:31 - Views: 4197
โรคแตงโมเถาเหี่ยว โรคราน้ำค้างแตงโม เพลี้ยไฟแตงโม
Update: 2564/05/27 11:38:29 - Views: 3510
ผสมปุ๋ยสำหรับอ้อยตอ สูตร 15-5-20 ใช้เอง ลดต้นทุน เร่งอ้อยโตให้โตไวผลผลิตดี
Update: 2566/01/30 07:27:06 - Views: 3675
รู้หรือยัง! การขอ อย. ขั้นตอนและหลักฐานที่สำคัญ
Update: 2565/11/17 14:55:17 - Views: 3408
ป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ในต้นยางพารา (โรคใบไหม้อเมริกาใต้)
Update: 2566/01/10 07:25:03 - Views: 3437
การป้องกันกำจัดเพลี้ยทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน ควบคุมเพี้ยไก่แจ้ ด้วยศัตรูธรรมชาติ กระตุ้นใบอ่อนลดเวลาการทำลาย ใช้ ยาฆ่าเพลี้ยอินทรีย์
Update: 2564/02/27 23:36:16 - Views: 3551
ป้องกัน กำจัด เพลี้ยอ่อนข้าวโพด เพลี้ยต่างๆ และ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ใช้ได้กับพืชทุกชนิด (1ลิตร ผสมน้ำได้ 400ลิตร)
Update: 2564/08/14 03:08:43 - Views: 3403
กำจัดโรคราสีชมพู โรคที่เกิดจากเชื้อรา ศัตรูพืชในทุเรียน ไอเอส และ FK-T ธรรมชาตินิยม ฟื้นฟูจากการทำลายของเชื้อรา
Update: 2566/05/26 11:27:48 - Views: 3426
การดูแลมะม่วงตลอดปี ให้โตไว สมบูรณ์แข็งแรง ได้ผลผลิตสูงขึ้น
Update: 2567/11/08 09:36:05 - Views: 70
กำจัดเพลี้ย ใน แคนตาลูป เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/10 14:02:20 - Views: 3394
โรคเชื้อราในฟักทอง คู่มือป้องกันและกำจัดโรคฟักทอง
Update: 2566/04/30 10:04:18 - Views: 3642
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022