[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - ศัตรูพืช
1167 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 116 หน้า, หน้าที่ 117 มี 7 รายการ

โรคแก้วมังกร ลำต้นจุดสีน้ำตาล เกิดจากเชื้อรา Dothiorella sp.
โรคแก้วมังกร ลำต้นจุดสีน้ำตาล เกิดจากเชื้อรา Dothiorella sp.
โรคลำต้นจุดสีน้ำตาลของแก้วมังกร ซึ่งเกิดจากเชื้อรา Dothiorella sp. โดยในอดีตพบระบาดมากในระดับเล็กน้อย-รุนแรงมาก กับพันธุ์การค้าที่มีเนื้อสีขาว ในพื้นที่หลายท้องที่ ได้แก่ ตำบลยายอาม ตำบลสนามไชย ตำบลวังโตนด ตำบลกระแจะ ตำบลช้างข้าม อำเภดนายายอาม ตำบลตะปอน ตำบลมาบไพ ตำบลซึ้ง อำเภอขลุง ตำบลโขมง ตำบลพลอยแหวน ตำบลเขาบายศรี ตำบลทุ่งเบญจา ตำบลหนองบัว ตำบลสองพี่น้อง ตำบลรำพัน ตำบลท่าใหม่ ตำบลแสลง อำเภอเมือง ตำบลมะขาม อำเภอะมะขาม ตำบลทับไทร อำเภอโป่งน้ำร้อน จังหวัดจันทบุรี ตำบลวังตะเคียน อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด ตำบลบึง อำเภอศรีราชา จังหวัดราชบุรี พบการเป็นโรคโดยประมาณ 80-100% คิดเป็นพื้นที่โดยรวม 500 ไร่ นอกจากนี้ยังมีพันธุ์เนื้อสีแดงทีอยู่ในบางพื้นที่ก็มีการระบาดแล้ว ที่ตำบลคลองอุดมสาร อำเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา

ลักษณะอาการของ โรคแก้วมังกร ลำต้นจุดสีน้ำตาล

อาการเริ่มแรกจะพบเข้าทำลายที่บริเวณกิ่งอ่อน หรือ ผลอ่อน เป็นจุดสีเหลือง จากนั้นจะพัฒนาเป็นตุ่มนูนเล็กสีน้ำตาลคล้ายสนิมเหล็ก ถ้าแผลขยายใหญ่จะพบอาการเป็นรอยปื้นไหม้ ถ้าพบเป็นที่ผทำให้ผลเสียหายเป็นตำหนิ ทำให้สูญเสียราคาและคุณภาพ

สาเหตุเกิดจาก : เชื้อราที่มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Dothiorella sp.

วิเคราะห์หาสาเหตุของการแพร่ระบาดของโรคที่เป็นไปอย่างกว้างขวาง

จากการสุ่มสำรวจหาสาเหตุของการแพร่ระบาดของโรคที่เป็นไปอย่างกว้างขวางในพื้นที่เกษตรกรผู้ปลูกแก้วมังกรในเขตภาคตะวันออก จำนวนหลายราย ในแต่ละพื้นที่ปลูก เพื่อใช้เป็นกรณีศึกษา พอสรุปหาสาเหตุของ

การแพร่ระบาดที่ผ่านมาเป็นได้ 7 ประเด็น คือ

1. พบว่าเกษตรกรและนักวิชาการเกษตรยังขาดความเกี่ยวกับโรคนี้ เพราะเป็นโรคที่เกิดขึ้นใหม่ในประเทศไทย เริ่มพบการแพร่ระบาดในแถบจังหวัดภาคกลาง ได้แก่ ราชบุรี สมุทสารค จากนั้นเกษตรกรส่วนใหญ่ผู้ปลูกแก้วมังกรในเขตภาคตะวันออก ซื้อกิ่งพันธุ์มาจากแถบจังหวัดราชบุรี แล้วอาจมีโรคติดมากับกิ่งพันธุ์ แต่เนื่องจากเกษตรกรเองและนักวิชาการเกษตร ทั้งภาคเอกชนและราชการไม่เคยรู้จักโรค ดังกล่าวมาก่อน เกษตรกรและนักวิชาการด้านเกษตร ก็ยังคิดว่าเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไฟท็อปธอร่า บางรายก็คิดว่าเกิดจากแมลงศัตรูพืช ก็แนะนำการป้องกันกำจัดไม่ตรงกับสาเหตุของโรค เน้นการป้องกันกำจัดในการทดลองใช้สารเคมีเป็นหลัก และมักไม่ตรงกับสาเหตุของโรค

2. เกษตรกรไม่มีการตัดแต่งกิ่งหรือผลที่เป็นโรคออกจากแปลงปลูก เพราะในเชิงปฏิบัติงานค่อนข้างทำลำบาก เนื่องด้วยแก้วมังกรเป็นพืชมีหนาม หรือ เกษตรกรมักเสียดายกิ่ง หรือ ผลที่เป็นโรค มักมุ่งเน้นแต่การใช้สารเคมี เพราะจริงๆ แล้วสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืช จะได้ผลดีในเชิงป้องกันมากกว่ารักษา ไม่เหมือนยาที่ใช้รักษาคน หรือ ในบางรายไม่มีการตัดแต่งกิ่งหรือผลที่เป็นโรคทิ้งเลย ปล่อยแปลงทิ้งเลิกปลูกและหันไปปลูกพืชชนิดอื่นแทน เนื่องจากการใช้สารเคมีอาจไม่คุ้มต้นทุนการผลิต เพราะประสบปัญหาราคาแก้วมังกรตกต่้ำ

3. เกษตรกรมีการตัดแต่งกิ่งที่เป็นโรคผิดวิธี มักตัดแต่งเฉพาะส่วนที่เป็นโรคออก หรือตัดบริเวณกลางกิ่งที่ไม่ใช่บริเวณรอยข้อต่อของกิ่ง ทำให้เกิดรอยบาดแผลมากขึ้น ทำให้เชื้อโรคสามารถเข้าทำลายซ้ำเติมบริเวณบาดแผลได้ง่ายมากขึ้น ทำให้โรคมีการระบาดบางต้นยืนต้นตาย

4. ขาดความระมัดระวังในเรื่องการใช้เครื่องมือ ได้แก่ กรรไกรที่ใช้ตัดแต่งกิ่งมักนำไปตัดต้นที่เป็นโรคแล้วไปใช้ตัดแต่งต้นปกติโดยไม่มีการทำความสะอาดก่อนใช้งาน อาจทำให้เชื้อโรคพืชดังกล่าวติดไปกับกรรไกรได้

5.มักพบมีการเร่งใสปุ่ญไนโตรเจนให้สูงจนเกินไป เช่น ปุ๋ยยูเรีย(46-0-0)หรือใส่แต่ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมักเพียงอย่างเดียว ทำให้เกิดการระบาดของโรคได้ง่ายขึ้น

6. จากการสุ่มสำรวจดินจากแปลงที่พบว่าเป็นโรคดังกล่าว นำไปตรวจวิเคราะห์ทางธาตุอาหาร มักพบดินเป็นกรดจัดมาก มีธาตุเคลเซียม และแมกนีเซียมในปริมาณต่ำ

7. ในพื้นที่ปลูกบางพื้นที่เคยมีการทำนามาก่อนและมักไม่ยกร่องแปลงปลูกบางแปลงพบน้ำท่วมขังในช่วงฤดูฝนและมีการให้น้ำในช่วงบ่ายหรือเย็น เมื่อรวมกับน้ำค้างในช่วงกลางคืน ทำให้แปลงมีความชื้นสูงในแปลงปลูกตลอดเป็นระยเวลานาน อาจทำให้เกิดโรคระบาดง่ายขึ้น

ข้อแนะนำในการป้องกันกำจัดเบื้องต้น

เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาวิจัยโรคดังกล่าวอย่างจริงจัง เพื่อเป็นการบรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกรผู้ปลูกแก้วมังกร ทางสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6 จึงเร่งศึกษาในเบื้องต้น ที่พอจะสรุปไว้เป็นแนวทางในการป้องกันกำจัดไว้ดังนี้ คือ

1.เลือกใช้ต้นพันธุ์ที่แข็งแรง ปราศจากโรค เพราะเชื้อโรคอาจติดมากับกิ่งพันธุ์ได้

2. เน้นการตัดแต่งกิ่งยอดอ่อนหรือลำต้นหรือส่วนที่เป็นโรค และ เก็บรวบรวมนำไปฝังหรือเผาทำลายเสีย เพื่อลดปริมาณของเชื้อโรคพืช

3. การตัดแต่งกิ่งต้องให้มีขนาดของบาดแผลน้อยที่สุด เช่น ตัดแต่งบริเวณรอยต่อของข้อระหว่างกิ่งจะทำให้เกิดบาดแผลน้อยที่สุด เพื่อป้องกันเชื้อราเข้าทำลายทางบาดแผล หรือ เชื้อแบคทีเรียอื่นหรือแมลง เช่น มดคันไฟ เข้าทำลายซ้ำเติมในภายหลัง

4. ถ้าพบการระบาดมาก หลังจากการตัดแต่งกิ่ง

5. ระมัดระวังอย่านำกรรำกรที่้ใช้ตัดแต่งต้นที่เป็นโรคไปใช้ตัดแต่งต้นปกติ เพระาเชื้อราอาจติดไปกับกรรไกรได้ ควรนำไปล้างทำความสะอาดก่อนนำไปใช้ใหม่ทุกครั้ง

6. ลดการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนอย่าให้สูงจนเกินไป เช่น ปุ๋ยยูเรีย(46-0-0) หรือ ใส่แต่ปุ๋ยคอก หรือ ปุ๋ยหมักเพียงอย่างเดียว เพราะจะทำให้เกิดการระบาดของโรคได้ง่าย เนื่องจากพืชจะอวบน้ำมากขึ้น เชื้อโรคและแมลงเข้าทำลายได้ง่ายขึ้น แต่ควรใช้ปุ๋ยสูตรเสมอ เช่น 15-15-15 กรือ 16-16-16 หรือ สูตรตัวท้ายสูงในช่วงกำลังให้ผลผลิต เช่น 13-13-21 ร่วมกับการฉีดพ่นด้วยธาตุอาหารแคลเซียม และ แมกนีเซียม

7. ถ้าดินเป็นกรดจัดมากอาจจำเป็นต้องปรับสภาพดินด้ววยปูนโดโลไมท์ ซึ่งจะได้รับธาตุแคลเซียมและแมกนีเซียมเสริมไปด้วย (โดยอัตราที่ใช้จำเป็นต้องนำตัวอย่างดินไปตรวจวิเคราะห์ดูเสียก่อน จึงจะทราบอัตราการใช้ที่แน่นอน)

8. งดการให้น้ำในช่วงบ่ายหรือเย็น เนื่องจากจะมีความชื้นสูง เมื่อรวมกับน้ำค้าง จะทำให้เกิดโรคระบาดง่าย โดยควรรดน้ำในช่วงตอนเช้าแทน

อ้างอิง rakbankerd.com /agriculture /page.php?id=4790&s=tblplant

สินค้าแนะนำจากฟาร์มเกษตร

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน และยับยั้งเชื้อรา ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด ทุกๆ 3-5 วัน ต่อเนื่อง 3-4 ครั้ง

สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน เพื่อเร่งให้มันสำปะหลังฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลงได้เร็วยิ่งขึ้น

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3450
แมลงศัตรูพืช ในมันสำปะหลัง เราป้องกันและกำจัดได้อย่างไรบ้าง?
แมลงศัตรูพืช ในมันสำปะหลัง เราป้องกันและกำจัดได้อย่างไรบ้าง?
ศัตรูมันสำปะหลังที่สำคัญ
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

1. ประเภทปากดูด ทำความเสียหายโดยดูดกินน้ำเลี้ยงจากส่วนต่าง ๆ ของพืช ได้แก่ ไรแดง เพลี้ยแป้ง แมลงหวี่ขาว และเพลี้ยหอยขาว ศัตรูพืชดังกล่าวมี
ความสำคัญอย่างมากในช่วงพืชยังเล็ก อากาศแห้งแล้งเป็นเวลานาน ซึ่งมีผลกระทบต่อความงอก การเจริญเติบโต และการสร้างหัวของมันสำปะหลัง

2. ประเภทปากกัด ทำความเสียหายโดยกัดกินส่วนต่าง ๆ ของพืช ได้แก่ ปลวก แมลงนูนหลวง และด้วงหนวดยาว ซึ่งทำลายท่อนพันธุ์ ราก ลำต้นและหัว มีผลกระทบต่อความงอกของท่อนพันธุ์ การเจริญเติบโต การสร้างหัวและหัวถูกทำลาย

สรุปแนวทางการป้องกันกำจัดศัตรูมันสำปะหลัง
การระบาดของศัตรูมันสำปะหลังโดยทั่วไปแล้วจะเป็นการเกิดแบบครั้งคราวและเกิดเป็นหย่อมๆหรือกลุ่ม ศัตรูมันสำปะหลังจะขยายปริมาณเป็นบริเวณกว้างออกไปหากสภาพแวดล้อมเอื้ออำนวย การป้องกันกำจัดควรใช้วิธีการต่างๆผสมผสานกัน ได้แก่

1. โดยวิธีเขตกรรมหรือวิธีกล
1.1 การไถพรวนพื้นที่ปลูกหลายครั้ง เพื่อตากดิน หรือเพื่อให้หนอน ดักแด้ของศัตรูพืชในดินเป็นอาหารของนกและสุนัข
1.2 การเก็บศัตรูพืชด้วยมือ ได้แก่ เก็บตัวเต็มวัยทำลาย หรือทำเป็นอาหาร การเก็บส่วนของพืชที่มีศัตรูพืชนำมาทำลาย เพื่อลดปริมาณศัตรูพืชไม่ให้แพร่กระจาย

2. ศัตรูธรรมชาติ
มีศัตรูธรรมชาติหลายชนิดที่ควบคุมปริมาณของศัตรูพืชให้อยู่ในระดับสมดุลตามธรรมชาติ ในกรณีที่ไม่มีการระบาดของศัตรูพืช

3. การป้องกันกำจัดโดยสารเคมี
ควรใช้เฉพาะกรณีที่เกิดการระบาดของศัตรูพืชอย่างรวดเร็ว รุนแรง และมีโอกาสทำความเสียหายกับพืชได้ เช่น การเจริญเติบโต หรือการสร้างหัวของพืช การใช้สารเคมีควรใช้เฉพาะบริเวณที่ศัตรูพืชทำลายเท่านั้น

4. การกักพืช
ปัจจุบันศัตรูมันสำปะหลังยังไม่มีมากชนิด และไม่อยู่ในระดับอันตราย นอกจากนี้พืชชนิดนี้ยังสามารถ ทนแล้ง ปรับสภาพและชดเชยผลผลิตทดแทนต้นใกล้เคียงได้ ดังนั้นควรคำนึงถึงการนำเข้ามันสำปะหลังจากต่างประเทศ ซึ่งประเทศที่มีการผลิตมันสำปะหลังทั่วโลกนั้นปัญหาด้านศัตรูพืชมีความสำคัญมาก

อ้างอิง
http://web.sut.ac.th/
สินค้าแนะนำ จากฟาร์มเกษตร

มาคา ยาอินทรีย์ป้องกันและกำจัด เพลี้ย และแมลงจำพวกปากดูดต่างๆ มาคา เป็น สารอัลคาลอยด์ สกัดจากพืช ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน เพื่อเร่งให้มันสำปะหลังฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลงได้เร็วยิ่งขึ้น

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3494
การไถดินดาน ที่ถูกต้อง ก่อนปลูกมันสำปะหลัง น้ำและอากาศไหลซึมได้ดี รากมันโตได้ไกล เพิ่มผลผลิตได้เป็นอย่างดี
การไถดินดาน ที่ถูกต้อง ก่อนปลูกมันสำปะหลัง น้ำและอากาศไหลซึมได้ดี รากมันโตได้ไกล เพิ่มผลผลิตได้เป็นอย่างดี
การไถดินดาน ที่ถูกต้อง ก่อนปลูกมันสำปะหลัง น้ำและอากาศไหลซึมได้ดี รากมันโตได้ไกล เพิ่มผลผลิตได้เป็นอย่างดี
การไถดินดานในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง

ความหมายของชั้นดินดาน

ชั้นดินดาน หมายถึง ชั้นดินที่อัดตัวแน่นทึบ หรือชั้นที่มีสารเชื่อมอนุภาคดินมาจับตัวกัน ทำให้ดินแน่นทึบและแข็ง จนเป็นอุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืช การไหลซึมของน้ำและอากาศ ซึ่งกระบวนการเกิดชั้นดินดานมี 3 ประเภท มีรายละเอียดดังนี้

1. ชั้นดินดานแข็ง (duripan) เป็นชั้นดินแข็งเชื่อมกันแน่นโดยสารเชื่อม ซึ่งสารเชื่อมมีหลายชนิดและมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปขึ้นอยู่ชนิดของสารเชื่อม ได้แก่ เหล็ก คาร์บอเนต ซิลิก้า

2. ชั้นดินดานเปราะ (fragipan) เป็นชั้นดินดานที่มีความหนาแน่นสูงกว่าชั้นดินบนและล่าง ชั้นดินดานนี้เกิดจากการอัดตัวของดินเหนียว ทรายแป้ง และทราย มีการเชื่อมตัวกันแน่น เมื่อแห้ง จะเปราะ เมื่อชื้นน้ำซึมผ่านได้ยาก

3. ชั้นดินดานไถพรวน (plowpan) เป็นชนิดเดียวกันกับชั้นดินดานเปราะ แต่ใช้เรียกเฉพาะ ชั้นดินดานที่เกิดจากการไถพรวนในระดับความลึกเดียวกันเป็นเวลานาน ซึ่งพบมากในพื้นที่ปลูก มันสำปะหลังต่อเนื่องเป็นเวลานาน

สามารถแยกชั้นดินดานแข็งออกจากชั้นดินดานเปราะ โดย พิจารณาจากการละลายน้ำ ถ้าหากละลายน้ำได้ จะเป็นชั้นดินดานเปราะ โดย ชั้นดินดานเปราะมีข้อจำกัดในการปลูกพืชน้อยกว่าชั้นดินดานแข็ง

กระบวนการเกิดชั้นดินดานไถพรวน

เกิดจากการไถพรวน ในระดับความลึกเดียวกันเป็นเวลานาน โครงสร้างของดินแตกละเอียด เมื่อฝนตกทำให้อนุภาคของดินเหนียว ทรายแป้ง รวมทั้งอินทรียวัตถุถูกชะล้างลงมาสะสมกันใต้ชั้น ไถพรวน นอกจากนี้ ยังมีแรงกดทับจากแทรกเตอร์ ในการเตรียมดินจนถึงการเก็บเกี่ยว และรถบรรทุกขนส่งหัวมันสำปะหลังไปยังโรงงาน สิ่งดังกล่าวเหล่านี้ก่อให้เกิดชั้นดินดานไถพรวนขึ้นในพื้นที่ปลูก มันสำปะหลังต่อเนื่องมาเป็นเวลานาน

ระดับความรุนแรงของโอกาสเกิดชั้นดินดาน

การจำแนกระดับความรุนแรงของโอกาสในการเกิดชั้นดินดานในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังออกเป็น 3 ระดับ ดังนี้

ระดับที่ 1 มีโอกาสเกิดชั้นดินดานได้น้อย เนื่องจากพื้นที่เป็นดินเนื้อละเอียด มีปริมาณทรายแป้ง น้อย อนุภาคของดินเป็นแบบก้อนเหลี่ยมและก้อนกลม ซึ่งทนทานต่อแรงไถพรวนและแรงกดทับจากเครื่องจักรกลขนาดใหญ่

ระดับที่ 2 มีโอกาสเกิดชั้นดินดานในระดับปานกลาง เนื่องจากพื้นที่เป็นเนื้อค่อนข้างละเอียด มีปริมาณทรายแป้งปานกลาง อนุภาคของดินเป็นแบบก้อนเหลี่ยม ซึ่งทนทานต่อแรงไถพรวนและแรง กดทับจากเครื่องจักรกลขนาดใหญ่ปานกลาง

ระดับที่ 3 มีโอกาสเกิดชั้นดินดานในระดับสูง เนื่องจากพื้นที่เป็นเนื้อค่อนข้างหยาบ มีปริมาณทรายแป้งสูง โครงสร้างของดินแน่นทึบ ซึ่งทนทานต่อแรงไถพรวนและแรงกดทับจากเครื่องจักรกลขนาดใหญ่ได้น้อย

สำหรับเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลัง สามารถทราบได้ว่าพื้นที่ปลูกพืชมีชั้นดินดานอยู่ใต้ดินหรือไม่ สังเกตในช่วงฤดูฝนเมื่อมีฝนตกลงมา พื้นที่ราบน้ำจะท่วมขังอยู่นาน เพราะน้ำไม่สามารถซึมผ่านชั้นดินดานลงไปสู่ชั้นดินล่างได้ แต่น้ำจะไหลบ่าไปบนผิวดิน เกิดการชะล้างหน้าดินออกจากพื้นที่ ส่วนในช่วงฤดูแล้งชั้นดินดานจะขวางกั้นไม่ให้ความชื้นจากดินชั้นล่างขึ้นมาถึงบริเวณรากพืชได้ พืชจะขาดน้ำ ทำให้พืชแคระแกร็นหรือยืนต้นตายได้ ในทางวิชาการเราสามารถเก็บตัวอย่างดินที่ระดับความลึก 50 เซนติเมตร เพื่อนำมาวิเคราะห์หาค่าความหนาแน่นรวม (bulk density) ถ้าดินมีความหนาแน่นรวมมากกว่า 1.65 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร แสดงว่ามีชั้นดินดานเกิดขึ้นในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง

การไถระเบิดชั้นดินดานในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง

พื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง มักมีการไถพรวนที่ระดับความลึกเดียวกันตลอด มีการไถพรวนในขณะดินมีความชื้นไม่เหมาะสม มีการกดทับจากแทรกเตอร์หรือรถบรรทุกในการเตรียมดิน เก็บเกี่ยว และการขนส่งหัวมันสำปะหลังไปยังโรงงาน สิ่งเหล่านี้ก่อให้เกิดชั้นดินดานได้ง่าย โดยชั้นดินดานจะขัดขวางการแพร่กระจายของรากพืชและการแทรกซึมของน้ำ ทำให้เกิดน้ำท่วมขังหรือไหลบ่ามากขึ้นในช่วงฝนตกและยังชะล้างเอาหน้าดินที่มีความอุดมสมบูรณ์สูงออกไปจากพื้นที่ ขณะเดียวกันก็ทำให้พืชขาดแคลนน้ำในช่วงฤดูแล้ง เนื่องจากชั้นดินดานจะขวางกั้นไม่ให้ความชื้นจากดินชั้นล่างขึ้นมาถึงบริเวณรากพืชได้ จึงทำให้พืชแคระแกร็นหรือยืนต้นตายได้ ดังนั้น พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังที่มีชั้นดินดาน ควรทำการไถระเบิดชั้นดินดาน ทุก 3-5 ปี มีรายละเอียด 4 ขั้นตอน ดังนี้

1. การทำลายวัชพืชและเศษซากพืชก่อนไถระเบิดชั้นดินดานด้วยการไถพรวน 2 ครั้ง เพื่อไม่ให้เศษพืช พันขาไถระเบิดชั้นดินดานหรือเป็นอุปสรรคต่อการไถระเบิดชั้นดินดาน

2. การไถระเบิดชั้นดินดานด้วยเครื่องไถแบบสั่นสะเทือน (shaking ripper) โดยไถ 2 รอบ รอบแรกไถไปตามแนวยาวของพื้นที่ก่อน รอบที่สองไถตามขวางของพื้นที่หรือที่เรียกว่าไถตัดกันเป็นตาหมากรุก เพื่อให้ชั้นดินดานแตกร้าวสม่ำเสมอรอบทิศทางทั่วทั้งพื้นที่

3. ไถดะด้วยผาล 3 หรือผาล 4 เพื่อทำลายวัชพืชและตากหน้าดินเพื่อทำลายศัตรูพืช

4. ไถพรวนเพื่อย่อยดินให้ละเอียดและกลบรอยไถระเบิดชั้นดินดาน หลังจากนั้นทำการไถร่องปลูกมันสำปะหลัง

การไถระเบิดชั้นดินดานไม่ใช่เป็นการแก้ปัญหาการเกิดชั้นดินดานอย่างถาวร แต่ถ้าหากไม่มีการจัดดินที่ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว ชั้นดินดานก็จะกลับมาเกิดขึ้นใหม่ได้ ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้น การชะลอการเกิดชั้นดินดานจึงเป็นวิธีที่ดีที่สุดสามารถทำได้ ดังนี้

1. การใช้เครื่องจักรกลการเกษตร โดย ควบคุมการใช้เครื่องจักรกลในพื้นที่การเกษตรเท่าที่จำเป็นและใช้ในขณะดินมีความชื้นพอเหมาะ ควบคุมแนวทางเดินของเครื่องจักรกลซ้ำที่เดิมและวางแนวปลูกพืชให้อยู่ระหว่างล้อของเครื่องจักร เพื่อไม่ให้เกิดชั้นดินดานทั่วพื้นที่

2. ความชื้นของดิน ชั้นดินดานที่อยู่ใต้ดินชั้นไถพรวนจะเป็นอุปสรรคต่อการไชชอนของรากพืช ก็ต่อเมื่อชั้นดินดานแห้ง ดังนั้น การรักษาความชื้นของดินชั้นดินดานให้พอเหมาะ สามารถลดผลกระทบของชั้นดินดานต่อรากพืช

3. การปรับปรุงโครงสร้างของดินเพื่อให้เม็ดดินมีเสถียรภาพ โดย การเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน ได้แก่ ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยพืชสด เพื่อให้ดินมีคุณสมบัติทางกายภาพดีขึ้น ดูดซับน้ำได้มากขึ้น มีช่องว่างในดินเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ความหนาแน่นรวมลดลงได้

4. การปลูกหญ้าแฝก ชั้นดินดานเป็นดินที่มีความหนาแน่นสูง ส่วนประกอบของดินมีน้ำ ช่องว่าง อากาศ รวมทั้งอินทรียวัตถุลดน้อยลง หญ้าแฝกเป็นพืชที่ขึ้นได้ในสภาพดินดาน มีระบบรากลึกเจาะผ่านชั้นดินดานได้และให้ปริมาณรากมากกว่าพืชอื่น ดังนั้น เมื่อฝนตกลงมาความชื้นจะซึมผ่านลงตามระบบของรากหญ้าแฝก สร้างความชื้นและอินทรียวัตถุให้กับดินในชั้นดินดานอย่างรวดเร็ว

อ้างอิง
สถาบันวิจัยพืชไร่ และพืชทดแทนพลังงาน กรมวิชาการเกษตร
kubotasolutions.com/ knowledge/cassava/detail/393
อ่าน:3564
กำจัดเพลี้ยด้วย แมลงช้างปีกใส กำจัดเพลี้ย เพลี้ยแป้ง ตัวอ่อนเพลี้ยหอย เพลี้ยไฟ เพลี้ยไก่แจ้ ไรแดง แมลงหวี่ขาว แมลงช้างปีกใสจัดการเรียบ
กำจัดเพลี้ยด้วย แมลงช้างปีกใส กำจัดเพลี้ย เพลี้ยแป้ง ตัวอ่อนเพลี้ยหอย เพลี้ยไฟ เพลี้ยไก่แจ้ ไรแดง แมลงหวี่ขาว แมลงช้างปีกใสจัดการเรียบ
ศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง แมลงช้างปีกใส

ชื่อทั่วไป : แมลงช้างปีกใส (Green lacewing)
วงศ์ (Family) : Chrysopidae
อันดับ (Order) : Neuroptera

เป็นแมลงห้ำที่มีบทบาทในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยตัวอ่อนของแมลงช้างปีกใส เป็นตัวห้ำที่กินศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่นเพลี้ยอ่อย เพลี้ยแป้ง ตัวอ่อนเพลี้ยหอย เพลี้ยไฟ เพลี้ยไก่แจ้ส้ม ไรแดง ไร 2 จุด และตัวอ่อนแมลงหวี่ขาว เป็นต้นทำให้แมลงช้างปีกใสเป็น เป็นตัวห้ำสำคัญที่ช่วยควบคุมแมลงศัตรูพืชในแปลงเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจในประเทศ

ตัวเต็มวัยเพศเมีย หลังจากผสมพันธุ์ 2-3 วัน ก็จะเริ่มวางไข่เป็นฟองเดี่ยวๆ ระยะไข่ใช้เวลา 3-4 วัน ระยะตัวอ่อนมี 3 วัย ตัวอ่อนวัยที่ 1_ 2 และ 3 ใช้เวลา 4-5 วัน 3-4 วัน และ 3-5 วัน ตามลําดับ รวมระยะตัวอ่อน 11-13 วัน ระยะดักแด้ 9-11 วัน ตัวเต็มวัยเพศผู้มีอายุ 14-30 วัน สําหรับเพศ เมียมีอายุ 19-58 วัน เพศเมีย 1 ตัว สามารถวางไข่ได้ 180-345 ฟอง

วงจรชีวิตของแมลงช้างปีกใส

รูปร่างลักษณะ

ไข่ มีลักษณะเป็นทรงยาวรี ขนาดเล็ก ความยาวเฉลี่ย 0.98 มิลลิเมตร ความกว้างเฉลี่ย 0.24 มิลลิเมตร เป็นฟองเดี่ยวๆ อยู่บนก้านสีขาวใส วางเป็นระเบียบเป็นแถวรอบใบพืช ไข่วางใหม่ๆ มีสีเขียวอ่อน เมื่อใกล้ฟักจะเปลี่ยนเป็นสีเทาดํา เมื่อฟักแล้วจะเป็นสีขาว มีอายุประมาณ 3-4 วัน

ตัวอ่อน มีลักษณะลําตัวกลมแบน เห็นชัดเจนในระยะที่ 3 โดยรอบลําตัวมีปุ่มขน ปากมีกรามโค้งยาวยื่นไปด้านหน้าคล้ายเคียว ใช้ดูดกินเหยื่อ เมื่อฟักเป็นตัวอ่อนวัยที่ 1 จะเป็นตัวห้ำทันที มีการลอกคราบเปลี่ยนวัย ตัวอ่อนทั้งหมด 3 วัย

ตัวอ่อนวัยที่ 1 เมื่อฟักออกจากไข่ใหม่ๆ มีสีน้ำตาลอ่อน ลําตัวเรียวเล็ก ว่องไว จะไต่ลงมาทางก้านชูไข่ ความยาวลําตัวเฉลี่ย 1.56 มิลลิเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ย 0.48 มิลลิเมตร

ตัวอ่อนวัยที่ 2 รอบลําตัวเริ่มมีซากของเพลี้ยแป้งเกาะ ความยาวลําตัวเฉลี่ย 3.25 มิลลิเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ย 2.32 มิลลิเมตร

ตัวอ่อนวัยที่ 3 ขนาดลําตัวโตอย่างรวดเร็วเห็นได้ชัดกว่าระยะอื่นๆ กินอาหารเก่ง รอบลําตัวมีผงแป้งเกาะ คล้ายเพลี้ยแป้งมาก ความยาวลําตัวเฉลี่ย 7.23 มิลลิเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ย 3.40 มิลลิเมตร

ดักแด้ มีรูปร่างกลม ตัวอ่อนวัย 3 จะขดตัวสร้างเส้นใยสีขาวปกคลุมลําตัว จะเข้าดักแด้ติดกับใบพืช ความกว้างของดักแด้โดยเฉลี่ย 3.02 มิลลิเมตร ความยาวโดยเฉลี่ย 4.67 มิลลิเมตร

ตัวเต็มวัย มีปีก 2 คู่ เป็นปีกแบบบางอ่อน (membrane) เนื้อปีกใส มีเส้นปีกจํานวนมาก ลําตัวสีเขียวอ่อน เพศผู้ มีสีลําตัวจางกว่าเล็กน้อย และตัวเล็กกว่าเพศเมีย ความกว้างลําตัวเพศเมีย เฉลี่ย 2.25 มิลลิเมตร ความยาวลําตัว โดยเฉลี่ย 10.53 มิลลิเมตร ความกว้างลําตัวเพศผู้เฉลี่ย 1.55 มิลลิเมตร ความยาวลําตัวโดยเฉลี่ย 10.01 มิลลิเมตร ตัวเต็มวัยมีกลิ่นเฉพาะตัวค่อนข้างแรง

แหล่งข้อมูลอ้างอิง
กรมวิชาการเกษตร
kubotasolutions.com/ knowledge/cassava/detail/455
อ่าน:3551
ปุ๋ยสำหรับนาข้าว ช่วงนี้เข้าฤดูทำนาแล้ว ปุ๋ยและยาแก้โรคข้าว โรคเน่าคอรวง ยาแก้เพลี้ย ติดต่อเราได้เลยนะคะ
ผลิตภัณฑ์จากฟาร์มเกษตร ตามข้อมูลด้านล่างในหน้าเว็บไซต์นี้ ในครั้งนี้ เราจะมีแนะนำสินค้าที่ใช้ในการทำนาข้าวนะคะ

อ้างอิงจากรูปภาพสินค้าด้านล่างนะคะ

สินค้าหมวด ปุ๋ย

FK-1 เริ่มฉีดพ่นหลังหว่านข้าว หรือหลังดำนาได้ตั้งแต่มีอายุ 7 วันเป็นต้นไปเลยค่ะ จะช่วยเร่งโตแตกกอ ช่วยให้ข้าวโตเร็ว ใบแข็ง เขียว แข็งแรง

FK-3R ตัวนี้เน้นโพแตสเซียมสูง ใช้เร่งผลผลิตข้าว ทำให้ข้าวรวงยาว เมล็ดเต็ม น้ำหนักดี ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น

สินค้าหมวด ยารักษาโรคพืช และปราบศัตรูพืช

มาคา ป้องกันและกำจัดเพลี้ยต่างๆในนาข้าวค่ะ เพลี้ยกระโดดสีน้ำตา เพลี้ยจักจั่นปีกลาย เพลี้ยอ่อน เพลี้ยต่างๆ

ไอเอส ใช้ป้องกันรักษาโรคพืชที่มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคขาดคอรวง เน่าคอรวง ข้าวใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล

ไอกี้-บีที ใช้ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆในนาข้าวค่ะ หนอนกอ หนอนม้วนใบ หนอนอื่นๆ

สนใจสั่งซื้อ
ไลน์ไอดี FarmKaset
โทร 090-592-8614
เฟสบ๊คเพจ ค้น ฟาร์มเกษตร ทักแชทสั่งซื้อได้เช่นกันค่ะ
หรือซื้อผ่านระบบตระกร้าสินค้า www.FKX.asia เป็นเว็บไซต์ของเราเช่นกันค่ะ
อ่าน:3393
การเพิ่มผลผลิตอ้อย จากตัวอย่างการศึกษา และทดลองแล้วว่าได้ผลจริง
การเพิ่มผลผลิตอ้อย จากตัวอย่างการศึกษา และทดลองแล้วว่าได้ผลจริง
การเพิ่มผลผลิตอ้อย จากตัวอย่างการศึกษา และทดลองแล้วว่าได้ผลจริง
เมื่อพูดถึงการทำไร่อ้อยในช่วงเวลานี้ คงต้องเน้นคุยกันเรื่องการเพิ่มผลผลิตต่อไร่ แต่ในปัจจุบันการเพิ่มผลผลิตโดยการขยายพื้นที่คงทำได้ยาก มีหลักการง่าย ๆ ที่สามารถเพิ่มผลผลิตต่อไร่ได้โดยไม่ยาก แต่ต้องอาศัยข้อมูลพื้นฐานในพื้นที่ของตนเองประกอบกับเทคนิคต่าง ๆ อันเป็นที่ยอมรับว่าสามารถช่วยเพิ่มผลผลิตได้จริง ร่วมกับการจัดการอย่างเหมาะสม เพื่อนำมาใช้เพิ่มผลผลิตอ้อยในพื้นที่ของตนเอง

หลักการเพิ่มผลผลิต ผลผลิตของอ้อยที่เราขายกันมีอยู่ 2 ลักษณะคือ ปริมาณ หรือน้ำหนัก และคุณภาพ หรือความหวาน แต่สิ่งที่เกษตรกรเน้นกันมากในปัจจุบัน คือ เรื่องของน้ำหนักผลผลิต

เมื่อนำองค์ประกอบผลผลิตตามเป้าหมายมาคำนวณ

จำนวนลำต่อไร่ 840×15 = 12_600 ลำต่อไร่ น้ำหนักต่อลำ = 2 กิโลกรัม

ผลผลิตเชิงปริมาณเท่ากับ 12_600 ลำ × 2 กิโลกรัม = 25 ตันต่อไร่

จะเห็นได้ว่าตัวเลขเป้าหมายนั้นสามารถทำได้จริง แต่จะทำอย่างไรให้ได้สม่ำเสมอเสมอทุกแปลงและ ต่อเนื่องทุกๆ ปี ซึ่งจะต้องอาศัยเทคนิค และการจัดการที่ดีมาใช้ ปัจจัยที่จะทำให้อ้อยเจริญเติบโต และให้ผลผลิตที่ดีนั้น ตามหลักวิชาการแล้วประกอบด้วยสองส่วน คือ พันธุกรรม (Genetic)
กับสภาพแวดล้อม (Environment)พันธุกรรม คือ ลักษณะเฉพาะของอ้อยที่ประกอบไปด้วยทั้งส่วนที่เหมือน และแตกต่างจากพืชชนิดอื่น ๆ นอกจากนี้ อ้อยยังมีลักษณะที่มีความหลากหลาย และแตกต่างกัน ซึ่งเราแบ่งแยกออก และเรียกว่า “พันธุ์อ้อย” นั่นเอง ดังนั้นลักษณะของอ้อยก็ไม่เหมือนกับพืชชนิดอื่น อ้อยที่ต่างพันธุ์กันก็มีลักษณะที่ต่างกัน สภาพแวดล้อม คือ ปัจจัยภายนอกที่จะมีผลต่อการเจริญเติบโต และผลผลิตของอ้อย สามารถแบ่งเป็น 5 เรื่อง คือ ดิน น้ำ ธาตุอาหาร สภาพอากาศ และศัตรูพืช

ดังนั้น ขั้นตอนการเพิ่มผลผลิตอ้อยให้ได้ 25 ตันนั้น เริ่มจากการเลือกพันธุ์ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมพื้นฐานของตนเอง ซึ่งปัจจุบันมีพันธุ์อ้อยให้เลือกหลากหลาย โดยเกษตรกรสามารถนำเอาพันธุ์อ้อยใหม่ ๆ ที่กรมวิชาการเกษตรแนะนำ มาทดลองปลูกในพื้นที่ของตนเองโดยแบ่งเป็นแปลงเล็ก ๆ ใช้วิธีการจัดการที่เป็นมาตรฐาน และเก็บข้อมูลเปรียบเทียบทั้งเรื่องการเจริญเติบโตและผลผลิตก็จะสามารถได้พันธุ์อ้อยที่เหมาะสมกับพื้นที่ของเรามาเป็นพันธุ์หลักในการขยายปลูกในพื้นที่ของตนเองได้ ในขณะเดียวกันก็ค้นหาเทคนิค หรือ วิธีการที่จะทำให้อ้อยที่เราปลูกมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมที่สุด คือ มีความชื้นเพียงพอมีดินและธาตุอาหารเหมาะสม ได้รับแสงแดดและอากาศอย่างเพียงพอ และมีศัตรูพืชรบกวนน้อยที่สุด ซึ่งควรมีการวางแผนการจัดการในทุกขั้นตอน เช่น ช่วงเตรียมแปลง ปลูก เก็บเกี่ยว และควรนำเครื่องมือมาช่วยจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของงานตัวอย่างเทคนิคที่ได้ทำการศึกษาและทดลองว่าได้ผลจริงในการเพิ่มผลผลิตอ้อย

สรุปเทคนิคการเพิ่มผลผลิตอ้อย คือ การคัดเลือกพันธุ์อ้อยให้เหมาะสมกัสภาพแวดล้อมพื้นฐานของแปลงที่เราจะปลูก และปรับสภาพแวดล้อมพื้นฐานให้เหมาะสมกับพันธุ์อ้อยที่เราเลือกให้ได้มากที่สุด โดยใช้ต้นทุนที่เหมาะสม ซึ่งนอกจากอ้อยจะเจริญเติบโตและให้ผลผลิตได้เต็มศักยภาพแล้ว ยังทำให้ชาวไร่ได้กำไรเพิ่มขึ้นอย่างแน่นอน

ขอบมูลจาก kubotasolutions.com/ knowledge/sugar_cane/detail/38
อ่าน:3410
ยาแก้โรครา ยาแก้โรคใบไหม้ ยาแก้หนอน ยาแก้เพลี้ย จาก ฟาร์มเกษตร สั่งซื้อ ไลน์ไอดี FarmKaset

น้องกุ๊ดจี่ มาแนะนำยาป้องกันและกำจัดโรคพืช กำจัดเพลี้ยแมลงศัตรูพืช กำจัดหนอนต่างๆ จากฟาร์มเกษตร ตามน้องกุ๊ดจี่มาได้เลยนะ

https://www.youtube.com/watch?v=M3ciPXhYZVg
อ่าน:3402
ลิ้นจี่ใบไหม้ โรคใบจุดสนิม โรคราลิ้นจี่ ใช้ไอเอส เพลี้ยแมลงในลิ้นจี่ ใช้มาคา ส่วนหนอน ใช้ ไอกี้-บีที
ลิ้นจี่ใบไหม้ โรคใบจุดสนิม โรคราลิ้นจี่ ใช้ไอเอส เพลี้ยแมลงในลิ้นจี่ ใช้มาคา ส่วนหนอน ใช้ ไอกี้-บีที

ยาอินทรีย์จาก ฟาร์มเกษตร ป้องกันและกำจัด โรค และ แมลงศัตรูพืช ลิ้นจี่ ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

https://www.youtube.com/watch?v=WcqYvLVctMA
อ่าน:3553
ปัญหา ของทุเรียน อย่างหนึ่งคือปัญหำโรครากเน่าโคนเน่ำทุเรียน สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora
ปัญหา ของทุเรียน อย่างหนึ่งคือปัญหำโรครากเน่าโคนเน่ำทุเรียน สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora
กรมวิชาการเกษตรเล็งเห็นถึงความสาคัญของการผลิตทุเรียน เพราะในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา การส่งออกทุเรียนของไทยได้ขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะจากตลาดการนาเข้าของจีนที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งได้ส่งผลต่อการปรับตัวของราคาทุเรียนทั้งในตลาดส่งออกและตลาดภายในประเทศ ราคาที่ปรับตัวสูงขึ้นได้สร้างแรงจูงใจต่อการขยายพื้นที่การเพาะปลูกทุเรียนเป็นจานวนมาก เกษตรกรจึงต้องมีการดูแลรักษาให้ต้นทุเรียนมีความอุดมสมบูรณ์เพื่อให้พร้อมสาหรับการออกดอกติดผล และมีการป้องกันกาจัดศัตรูพืชเพื่อป้องกันผลผลิตเสียหาย แต่เนื่องจากทุเรียนมีศัตรูหลายชนิด และพบระบาดเป็นประจาในพื้นที่ปลูกทุเรียนทั่วไป บางชนิดมีการระบาดรุนแรงเฉพาะในบางพื้นที่ และบางชนิดมีความรุนแรงถึงขั้นทาให้ต้นทุเรียนตายได้ ปัญหำที่สำคัญของทุเรียนที่อย่ำงหนึ่งคือปัญหำโรครำกเน่ำโคนเน่ำทุเรียน สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora ระบาดได้ดีในช่วงที่มีฝนตกหนักและมีความชื้นสูง แม้จะได้มีการศึกษาวิจัยแก้ปัญหานี้มากกว่า 50 ปีแล้วก็ตาม นักวิชาการของภาครัฐและเอกชนต่างช่วยกันระดมความคิดในการแก้ปัญหานี้และเกษตรกรพยายามดาเนินการทุกวิถีทางที่จะปราบโรคร้ายให้หมดไป นอกจากปัญหาการระบาดของโรครากเน่าโคนเน่า และยังมีโรคที่สาคัญอีกหลายชนิดได้แก่ โรคใบติด โรคราสีชมพู โรคราแป้ง โรคแอนแทรคโนส โรคใบจุด และอาการที่เกิดจากการขาดธาตุอาหาร รวมทั้งการสับสนของเกษตรกรเกี่ยวกับโรคราสีชมพูของทุเรียน และโรครากเน่าโคนเน่า ที่ทาให้เกษตรกรใช้สารเคมีในการป้องกันกาจัดโรคไม่ถูกต้อง และทาให้ต้นทุนในการผลิตสูง

อ้างอิง doa.go.th/learn/?qa=98/52-โรคทุเรียน
อ่าน:3396
หนอนศัตรูพืช กำจัดด้วย ไอกี้บีที ตายใน 24-48 ชั่วโมง ปลอดสารพิษ ปลอดภัย กำจัดหนอนต่างๆ ใช้ได้กับทุกพืช
หนอนศัตรูพืช กำจัดด้วย ไอกี้บีที ตายใน 24-48 ชั่วโมง ปลอดสารพิษ ปลอดภัย กำจัดหนอนต่างๆ ใช้ได้กับทุกพืช
หนอนใยผัก หนอนหนังเหนียว หนอนเจาะลำต้น หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนม้วนใบ ฯลฯ

เร่งพืชให้ฟื้นตัว กลับมาเจริญเติบโตไว เขียว แข็งแรง สร้างภูมิต้านทานต่อโรค ด้วย FK-1

FK-1 ราคา 890 บาท บรรจุ 2 กิโลกรัม ใช้ได้ 5 ไร่
ไอกี้-บีที ราคา 490 บาท บรรจุ 500 กรัม ใช้ได้ 5 ไร่

สนใจสั่งซื้อ
ทักแชทได้เลย
หรือโทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี PrimPB

# ส่งฟรีถึงบ้าน ชำระเงินปลายทางเฉพาะค่าสินค้า
# อัตราส่วนผสม 50กรัม/ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม/ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร
# ใช้ฉีดพ่นทางใบ สามารถฉีดพ่น FK-1 และ ไอเอส ฉีดพ่นพร้อมกันได้เลย

*ส่งฟรีถึงบ้าน ชำระปลายทางเฉพาะค่าสินค้า
สนใจสั่งซื้อทักแชทได้เลย
อ่าน:3397
1167 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 116 หน้า, หน้าที่ 117 มี 7 รายการ
|-Page 116 of 117-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนคืบกินใบ ใน เงาะ และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/14 15:05:05 - Views: 3419
การทำไร่อ้อย ใน 4 ขั้นตอนหลักๆ
Update: 2563/09/27 20:19:32 - Views: 3789
แก้วมังกร เปลือกเน่า ราสนิม โรคเชื้อราในแก้วมังกร กำจัดด้วย ไอเอส
Update: 2562/08/12 20:29:17 - Views: 3500
ป้องกัน กำจัดเพลี้ยต่างๆ ด้วย มาคา และ เร่งพืชให้ฟื้นตัวไว กลับมาเจริญเติบโต สมบูรณ์แข็งแรง ด้วย FK-1
Update: 2562/10/04 15:23:43 - Views: 3399
โรคลำไย โรคราดำลำไย ต้องป้องกันกำจัดที่ต้นเหตุ และต้นเหตุนั้นเกิดจากเพลี้ยต่างๆ ถ่ายน้ำหวานมาปกคลุม ทำให้เชื้อราในอากาศปลิวมาเกาะติด
Update: 2564/02/25 12:25:26 - Views: 3670
ประโยชน์ของการปลูกพืชหมุนเวียนในการเกษตร
Update: 2566/01/05 08:34:29 - Views: 3507
มะละกอผลเน่า มะละกอใบไหม้ ราขาวมะละกอ ราดำมะละกอ ควบคุม ป้องกันกำจัด ก่อนโรคจะสร้างความเสียหาย
Update: 2566/11/04 19:44:55 - Views: 9569
แตงกวา เหี่ยวเฉา เนื่องจากการ ขาดฟอสฟอรัส
Update: 2564/03/17 04:59:22 - Views: 3424
หนอนเจาะฝักข้าวโพด หนอนเจาะสมอฝ้าย ใช้ ไอกี้-บีที
Update: 2564/08/14 22:01:12 - Views: 3444
เร่งโต ระเบิดราก เพิ่มผลผลิต ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 ฟื้นฟูพืช โตไว แข็งแรง จึงต้านทานต่อโรค
Update: 2564/03/07 12:42:20 - Views: 3415
ผลกระทบต่อสุขภาพ จากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
Update: 2564/08/12 22:06:31 - Views: 4196
กำจัดโรคแอนแทรคโนส โรคที่เกิดจากเชื้อรา ศัตรูพืชในทุเรียน ไอเอส และ FK-T ธรรมชาตินิยม ฟื้นฟูจากการทำลายของเชื้อรา
Update: 2566/05/26 15:43:29 - Views: 3417
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในมะปรางอย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2566/05/04 09:39:28 - Views: 3400
ยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง ปุ๋ยเร่งโตมันสำปะหลัง ปุ๋ยเร่งหัวมันสำปะหลัง ปุ๋ยน้ำฉีดมันสำปะหลัง FK
Update: 2564/08/27 23:33:50 - Views: 3596
โรคราใน ฟัก โรคราน้ำค้างในฟัก โรคราในพืชตะกูลฟัก โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู โตไว ผลผลิตดี
Update: 2564/10/02 04:54:52 - Views: 3400
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 3 สูตร: การดูแลอะโวคาโด้ในทุกช่วงอายุ เร่งโต ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ผลใหญ่ ผลดก เพิ่มผลผลิต
Update: 2567/02/12 14:58:12 - Views: 3536
โรคใบติด ป้องกันและกำจัดโรคใบติ ในทุเรียน โรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อราสกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติ
Update: 2566/05/20 15:22:15 - Views: 3388
ผักบุ้งทะเล แก้แผลเรื้อรัง แก้พิษฝีบวม แก้งูสวัด ถอนพิษ จากแมลงกัดต่อย พิษสัตว์ทะเล แมงกระพรุน
Update: 2563/05/23 13:58:08 - Views: 3641
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยหอย ในพืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/24 12:09:50 - Views: 3428
ปุ๋ยมันสำปะหลัง ทดแทนปุ๋ยเม็ด คุณภาพสูง ยาฯมันสำปะหลัง ครบจบที่เดียว แก้ มันสำปะหลังใบไหม้ เพลี้ยมันสำปะหลัง ราต่างๆ ยาแช่ท่อนพันธุ์
Update: 2565/05/19 08:18:47 - Views: 3439
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022