[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - ศัตรูพืช
1164 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 116 หน้า, หน้าที่ 117 มี 4 รายการ

ปมรุมเร้าลำไย 4 แสนตัน ตะวันออก เพลี้ยแป้ง ขาดแรงงาน 2 หมื่นยังวุ่น
ปมรุมเร้าลำไย 4 แสนตัน ตะวันออก เพลี้ยแป้ง ขาดแรงงาน 2 หมื่นยังวุ่น
ช่วงเดือนสิงหาคม เป็นเดือนที่ผลผลิตลำไยของภาคตะวันออกกำลังทยอยออกมามากขึ้น ขณะที่ปัญหาต่าง ๆ ในการส่งออกไปตลาดจีนกำลังประดังกันเข้ามา

ตั้งแต่เรื่องที่สำนักงานศุลกากรแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน (GACC) ตรวจพบเพลี้ยแป้งในลำไยจากไทย และได้สั่งระงับชั่วคราวโรงคัดบรรจุ 66 บริษัท แต่ล่าสุดทางกรมวิชาการเกษตร

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้เจรจากับรัฐบาลจีนอนุญาตให้โรงคัดบรรจุ 56 บริษัทที่ตรวจพบเพลี้ยแป้งน้อยครั้งที่สุดสามารถส่งออกลำไยได้ตั้งแต่วันที่ 17 สิงหาคม 2564 ส่วนรายที่พบมากครั้งให้มีการปรับปรุงให้เป็นไปตามขั้นตอนต่อไปนั้น

หวั่นกระทบลำไย 4 แสนตัน
ภาคตะวันออก จันทบุรี สระแก้ว ที่มีผลผลิตลำไยจำนวนมากเกือบ 400_000 ตัน และผลผลิตออกมากเดือนกันยายน-ธันวาคม และตลาดจีนเป็นตลาดใหญ่ถึง 80%

ซึ่งบริษัทส่งออกภาคตะวันออกที่ถูกแบน 29 บริษัท อยู่ในจันทบุรี 28 บริษัทและ จ.สระแก้ว 1 บริษัท ล้วนเป็นบริษัทใหญ่ที่รับซื้อ 80-85%

หากมีการหยุดรับซื้อหวั่นปัญหาด้านการตลาดมีผลกระทบต่อเกษตรกรที่ต้องรับภาระราคาตกต่ำ ในขณะที่ล้งยังประสบปัญหาขาดแคลนแรงงานถึง 20_000 คน เตรียมเสนอ ศบค.ชุดใหญ่ผ่อนปรน

นายชลธี นุ่มหนู ผู้อำนวยการสถานีวิจัยพัฒนาการเกษตร จ.จันทบุรี (สวพ.6) เปิดเผยว่า ได้ประชุมผู้ประกอบการโรงคัดบรรจุใน จ.จันทบุรี รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น สมาคมชาวสวนลำไย สมาคมการค้าและการท่องเที่ยวชายแดนไทย-กัมพูชา จันทบุรี

และหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องมา 2 ครั้งแล้ว เพื่อหารือเร่งด่วนกรณีการแจ้งเตือนและชะลอการส่งออกชั่วคราวโรงคัดบรรจุลำไยที่มีเพลี้ยแป้งไม่ได้ห้ามโดยเด็ดขาด กรมวิชาการเกษตร

และ สวพ.6 ได้กำหนดมาตรการควบคุมเพลี้ยแป้งอย่างเข้มงวด ให้โรงคัดบรรจุใน จ.จันทบุรี 28 โรงที่ถูกระงับได้ปฏิบัติ ส่งให้จีนพิจารณาผ่อนปรนระงับการนำเข้าเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้าก่อนถึงฤดูกาลลำไยภาคตะวันออกเดือนกันยายน-ธันวาคม

ภายหลังอธิบดีกรมวิชาการเกษตรได้ประชุมครั้งที่ 1 และการเจรจากับจีนเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม จีนยังคงยืนยันให้ระงับโรงคัดบรรจุที่ตรวจพบเพลี้ยแป้งซึ่งอยู่ในภาคตะวันออก 29 โรง จันทบุรี 28 โรง สระแก้ว 1 โรง

แนวทางที่กรมวิชาการเกษตรเสนอขอผ่อนปรนจากจีนคือ กลุ่มที่มีความเสี่ยงมากคือพบเพลี้ยแป้งมากจำนวน 4 โรง ซึ่งรายชื่อซ้ำกับการแจ้งทั้ง 2 ครั้ง อาจจะระงับระยะยาวกว่า

ส่วนที่เหลือกลุ่มที่มีความเสี่ยงน้อยคือ พบเพลี้ยแป้งจำนวนน้อยกว่าจำนวน 23 โรง (ยกเลิกการขึ้นทะเบียน 1 บริษัท) ผ่อนผันให้มีการระงับการนำเข้าระยะเวลาไม่นาน โดยส่งแผนการกำจัดเพลี้ยแป้งอย่างเข้มงวด และการป้องกันโควิด-19

“โรงคัดบรรจุลำไยภาคตะวันออกที่ได้มาตรฐาน GMP และขึ้นทะเบียน DOA กับทางการจีนมี 93 โรง จ.จันทบุรี 89 โรง สระแก้ว 2 โรง ระยอง 2 โรง ถูกระงับการส่งออกชั่วคราวรอบเดือนมีนาคม 8 โรง

และรอบ 2 เดือนกรกฎาคม 29 โรง ซึ่งในจำนวนนี้มีรายชื่อซ้ำกับรอบแรกอยู่ 6 โรง สวพ.6 ได้เตรียมพร้อมโรงคัดบรรจุที่ยังส่งออกได้ปกติอีก 62 โรงเพื่อรับซื้อผลผลิต จำนวนโรงคัดบรรจุ 29 โรงที่ถูกระงับมีล้งที่มีความเสี่ยงสูง

หรือถูกแจ้งเตือนบ่อย 4 โรง ที่เหลืออีก 25 โรงมีความเสี่ยงต่ำแต่เป็นโรงคัดบรรจุขนาดใหญ่ที่รับซื้อลำไยถึง 80%” นายชลธีกล่าว

ตรวจเข้มสวนถึงโรงคัดบรรจุ
นายชัยศักดิ์ รินเกลื่อน หัวหน้าด่านตรวจพืชแหลมฉบัง ชี้แจงมาตรการกรมวิชาการเกษตรที่เกษตรกรและโรงคัดบรรจุต้องปฏิบัติ โดยดูแลติดตามใน 3 ส่วนอย่างเข้มงวดคือ ในสวน

โรงคัดบรรจุและการตรวจสอบและออกใบรับรองสุขอนามัยพืช (Phytosanitary Certificate : PC ) โดยเพิ่มผู้ตรวจสอบศัตรูพืชในกระบวนการผลิต คือ สายเก็บจากสวน โรงคัดบรรจุเพิ่ม

การสุ่มตรวจเมื่อคัดแยกเกรดบรรจุตะกร้าก่อนเข้าตู้รมซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และระบายแก๊สที่อบเสร็จสุ่มตรวจอีกครั้ง อัตราการสุ่มตรวจ 5% (ยกเว้นโรงคัดที่ถูกระงับสุ่ม 10%) ศัตรูพืชต้องไม่เกิน 3%

เพื่อตรวจสอบและออกใบรับรองสุขอนามัยพืชในโรงคัดบรรจุก่อนที่จะตรวจที่ด่านตรวจอีกครั้ง นอกจากนี้ ข้อกำหนดเพิ่มเติมต่าง ๆ ให้เหมาะสมต่อการตรวจศัตรูพืชและลดความเสี่ยงเช่น พื้นที่คัดแยกวางสินค้าปนเปื้อน แสงสว่างจุดเสี่ยง

ขาดแรงงานเก็บลำไย 2 หมื่นคน
นอกจากปัญหาศัตรูพืชแล้ว ผู้ส่งออกยังมีปัญหาการขาดแคลนแรงงานเก็บลำไย เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ทำให้ไม่สามารถนำเข้าแรงงานกัมพูชามาเก็บลำไยได้สะดวกเหมือนในอดีตก่อนเกิดโควิด

นายเกียรติศักดิ์ พูนเพิ่ม เลขาธิการสมาคมการค้าและการท่องเที่ยวชายแดนไทย-กัมพูชา จันทบุรี กล่าวว่า ดร.รัฐวิทย์ ตั้งเกียรติพชร นายกสมาคมได้ทำมาตรฐานศัตรูพืชควบคู่ไปกับการป้องกันโควิด-19

มีการสุ่มตรวจแรงงานในโรงคัดบรรจุได้มากกว่า 10% โดยประสานกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อ.โป่งน้ำร้อน เบื้องต้นใช้ Rapid Antigen Test และเมื่อผลเป็นบวกจะตรวจยืนยันด้วย RT-PCR อีกครั้ง

โดยเป้าสุ่มตรวจระยะแรก 2_500 คน ตรวจไปแล้ว 2_000 คน โดยจะได้รับบัตรรับรองจากสมาคม ค่าใช้จ่ายให้คนละ 1_000 บาท ผู้ประกอบการจะรับผิดชอบ

เป็นกลุ่มแรงงานเดิมที่อยู่ในพื้นที่ประมาณ 12_000 คน จำกัดให้อยู่ใน 2 อำเภอเท่านั้น คือ อ.โป่งน้ำร้อน และ อ.สอยดาว เพื่อให้ควบคุมได้ และแรงงานกลุ่มที่เข้ามาใหม่ที่จะขออนุญาตศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (ศบค.) นำเข้าจากเพื่อนบ้านประมาณ 20_000 คน

ด้านนายศิริไพบูลย์ วัฒณวงศ์ชัย สมาชิกสภาเทศบาล ต.คลองหาด อ.วังสมบูรณ์ จ.สระแก้ว และตัวแทนเกษตรกรและผู้รับซื้อลำไยเพื่อการส่งออกกล่าวว่า พื้นที่ จ.สระแก้วจะเริ่มเก็บผลผลิตเดือนสิงหาคมและมีผลผลิตออกมากตั้งแต่เดือนกันยายน-ธันวาคม

เดิมใช้แรงงานกัมพูชา แต่สถานการณ์โควิด-19 ทำให้ต้องใช้แรงงานที่อยู่ในพื้นที่ จ.จันทบุรี ซึ่งไม่แน่ใจว่าจะเดินทางเข้าจังหวัดมาเก็บลำไยใน จ.สระแก้วได้หรือไม่ หาก จ.สระแก้วอนุญาตให้ผู้ประกอบการที่มีแรงงานอยู่ จ.จันทบุรีเข้ามาเก็บลำไยได้ และอนุญาตให้พักค้างได้ หรือทำในรูปแบบของ จ.จันทบุรีจะแก้ไขปัญหาได้

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา
มาคา สารอินทรีย์ป้องกันและกำจัดเพลี้ย รายละเอียดด้านล่างนะคะ
ระวังโรคไหม้และขอบใบแห้งของข้าว
ระวังโรคไหม้และขอบใบแห้งของข้าว
เนื่องจากเกษตรกรปลูกข้าวโดยใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ และใส่ปุ๋ยไนโตรเจนที่มากเกินไป ประกอบกับความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศสูงซึ่งสภาพดังกล่าวเหมาะกับการระบาดของโรคไหม้ข้าวที่เกิดจากเชื้อรา และโรคขอบใบแห้ง สร้างความเสียหายให้แก่ข้าว

นายชัด ขำเอี่ยม เกษตรอำเภอหันคา กล่าวว่า พื้นที่อำเภอหันคา มีพื้นที่ปลูกข้าวทั้งสิ้นจำนวน 198_130 ไร่ แต่พบกับปัญหาภัยแล้งส่งผลให้เกษตรกรทำนาล่าช้ากว่าเดิม ซึ่งขณะนี้ส่วนใหญ่ข้าวอยู่ระยะแตกกอ มีเพียงบางส่วนที่อยู่ในระยะตั้งท้องและออกรวง รวมพื้นที่ยืนต้น จำนวน 105_000 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 53 ของพื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมด จากการออกสำรวจพบว่า พื้นที่ปลูกข้าวบางส่วนของเกษตรที่ปลูกข้าวพันธุ์ กข41 ซึ่งเป็นพันธุ์ที่อ่อนแอต่อโรคขอบใบแห้ง หากเกษตรกรพบต้นข้าวได้รับเชื้อราเข้าทำลายจะแสดงอาการตามระยะการเจริญเติบโต ดังนี้

โรคไหม้ข้าว ซึ่งเกิดจากเชื้อรา พบที่ใบจะเป็นแผลจุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา สีเทาอยู่ตรงกลางแผลขนาดแตกต่างกันไป จุดแผลนี้สามารถขยายแผลลุกลามจนแผลติดกัน กระจายทั่วไปในกรณีที่โรครุนแรง กล้าข้าวจะแห้งและฟุบตายทั้งกอ อาการคล้ายถูกไฟไหม้ การป้องกันกำจัด โดยใช้พันธุ์ต้านทาน เช่น สุพรรณบุรี1 คลองหลวง1 ในส่วนของ โรคขอบใบแห้ง ซึ่งเกิดจากเชื้อ แบคทีเรีย โรคนี้เป็นได้ตั้งแต่ระยะกล้า แตกกอ จนถึง ออกรวง ต้นกล้าก่อนนำไปปักดำจะมีจุดเล็กๆ ลักษณะช้ำที่ขอบใบของใบล่าง ต่อมาประมาณ 7-10 วัน จุดช้ำนี้จะขยายกลายเป็นทางสีเหลืองยาวตามใบข้าว ใบที่เป็นโรคจะแห้งเร็ว และสีเขียวจะจางลงเป็นสีเทาๆ ที่แผลมีหยดน้ำสีครีมคล้ายยางสนกลม ๆ ขนาดเล็กเท่าหัวเข็มหมุด ต่อมาจะกลายเป็นสีน้ำตาลและหลุดไปตามน้ำหรือฝน ซึ่งจะทำให้โรคสามารถระบาดต่อไปได้ ขอบแผลมีลักษณะเป็นขอบลายหยัก แผลนี้เมื่อนานไปจะเปลี่ยนเป็นสีเทา ใบที่เป็นโรค ขอบใบจะแห้งและม้วนตามความยาว

การแพร่ระบาด เชื้อสาเหตุโรคสามารถแพร่ไปกับน้ำ ในสภาพแวดล้อมที่มีความชื้นสูง และสภาพที่มีฝนตก ลมพัดแรง จะช่วยให้โรคแพร่ระบาดอย่างกว้างขวางรวดเร็ว การป้องกันกำจัดใช้พันธุ์ข้าวที่ต้านทาน เช่น พันธุ์สุพรรณบุรี 60 สุพรรณบุรี 90 สุพรรณบุรี 1 สุพรรณบุรี 2 กข7 และ กข23

ทั้งนี้ ขอให้เกษตรกร หมั่นตรวจสอบแปลงข้าวเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ ระยะนี้พบว่าหลายแปลงที่พบทั้ง 2 โรค เกษตรกรสามารถใช้สารเคมีที่มีองค์ประกอบสารเคมีที่สามารถกำจัดได้ทั้งเชื้อรา และแบคทีเรีย เช่น ไอโซโพรไทโอเลน(ฟูจิ-วัน) อีกทั้งควร ป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมผสาน คือ การใช้เมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพ อัตราที่เหมาะสม ประมาณ 15 กิโลกรัมต่อไร่ ใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน (ถูกสูตร ถูกอัตรา ถูกวิธี และถูกระยะเวลา) รวมทั้งใช้สารสมุนไพรและสารชีวภัณฑ์ เพื่อลดต้นทุนการผลิต ปรึกษาสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่สำนักงานเกษตรอำเภอ หรือสำนักงานเกษตรจังหวัดใกล้บ้านท่าน

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา รายละเอียดด่านล่างนะคะ
โรคเหี่ยว หรือ แง่งเน่า ใน ขิง ข่า ขมิ้น
โรคเหี่ยว หรือ แง่งเน่า ใน ขิง ข่า ขมิ้น
เตือนเกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลขิง ข่า และขมิ้นในทุกภาคของประเทศ โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีการระบายน้ำไม่ดีเนื่องจากช่วงนี้มีฝนตกในหลายพื้นที่ สภาพอากาศชื้น เหมาะต่อการเกิดโรค โดยเฉพาะขิง ข่า ขมิ้นที่อยู่ในช่วงปลูกใหม่ ดังนั้น เกษตรกรควรหมั่นสำรวจแปลง หากพบอาการของโรคให้รีบแจ้งสำนักงานเกษตรอำเภอ สำนักงานเกษตรจังหวัดใกล้บ้านเพื่อดำเนินการหาแนวทางควบคุม และป้องกันกำจัดก่อนเกิดการระบาดรุนแรง

เชื้อสาเหตุ : เชื้อแบคทีเรีย Ralstonia solanacearum

ลักษณะอาการ
อาการในระยะเริ่มแรกหลังจากถูกเชื้อเข้าทำลาย ใบแก่ที่อยู่ตอนล่างๆ จะเหี่ยวตกลู่ลง ต่อมาจะม้วนเป็นหลอดและเหลือง อาการจะค่อยๆ ลามจากล่างสูงขึ้นไปยังส่วนบน ในที่สุดใบจะม้วนและเหลืองแห้งทั้งต้น บริเวณโคนต้นและหน่อที่แตกออกมาใหม่จะมีลักษณะช้ำฉ่ำน้ำ ซึ่งต่อมาจะเน่าเปื่อยหักหลุดออกมาจากแง่งโดยง่าย แต่จะไม่มีกลิ่นเหม็น เมื่อตรวจดูที่ลำต้นจะพบว่าส่วนที่เป็นท่อน้ำ ท่ออาหาร จะถูกทำลายเป็นสีคล้ำหรือน้ำตาลเข้ม และมีเมือกของแบคทีเรียเป็นของเหลวสีขาวข้นคล้ายน้ำนมซึมออกมาตรงรอยแผลหรือรอยตัดของต้นหรือแง่งขิงที่เป็นโรค สำหรับแง่งจากต้นที่เพิ่งแสดงอาการโรคในระยะแรก หากนำขึ้นมาผ่าออกดู จะพบรอยช้ำฉ่ำน้ำเป็นปื้นๆ โดยเฉพาะแง่งที่ยังอ่อน ต่อมาอาการจะทวีความรุนแรงทำให้เนื้อเยื่อเปื่อยยุ่ยและสีคล้ำขึ้น อาการเหล่านี้จะเป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะในสภาพที่อากาศชื้นและร้อน ตั้งแต่เริ่มแสดงอาการจนทำให้ต้นหักพับตาย จะใช้เวลา ๕ - ๗ วัน เป็นอย่างช้า

การแพร่กระจาย
เชื้อสามารถติดไปกับแง่งขิง หรือหน่อที่ใช้ทำพันธุ์ เป็นเชื้อที่มีคุณสมบัติความสามารถในการขยายพันธุ์แพร่ระบาด การเข้าทำลายพืช การอยู่ข้ามฤดูปลูก ระบาดมากในช่วงฝนตกชุก

กรมส่งเสริมการเกษตร แนะนำวิธีการป้องกันกำจัด ดังนี้

๑. หมั่นตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ หากพบต้นที่เริ่มแสดงอาการของโรคเหี่ยว ให้ขุดต้นไปเผาทำลายนอกแปลงปลูกทันที และโรยปูนขาวบริเวณหลุมที่ขุด เพื่อป้องกันการระบาดของโรค

๒. ใช้เชื้อไตรโคเดอร์ม่า ๔๐ กรัม (๒ ช้อนแกง) ร่วมกับกากน้ำตาลหรือน้ำตาลทรายแดง ๑ กิโลกรัม น้ำเปล่า ๑๕ ลิตร หมักทิ้งไว้ ๖ ชั่วโมง ก่อนผสมน้ำเปล่าหรือน้ำที่ละลายพูมิชซัลเฟอร์ (พูมิชซัลเฟอร์ ๒๐ กิโลกรัมต่อน้ำ ๒๐๐ ลิตร ปล่อยให้ตกตะกอนนานประมาณ ๑๕ นาทีหรือน้ำใส) ๒๐๐ ลิตร ร่วมกับไคโตซาน MT ๕๐ ซีซี. ซิลิโคเทรช ๑๐๐ กรัม และม้อยเจอร์แพล้นหรือสารจับใบ ๒๐ ซีซี. ก่อนนำไปพ่นให้ทั่วทั้งบนใบใต้ใบอย่างชุ่มโชกเหมือนอาบน้ำทุกๆ ๑๐ - ๑๕ วัน

๓. ในแปลงที่มีการระบาดของโรค หลังเก็บเกี่ยวผลผลิต นําส่วนต่างๆ ของพืชที่เป็นโรคไปเผาทําลาย



ในฤดูถัดไป

๔ ควรเลือกพื้นที่ปลูกที่ไม่เคยมีการระบาดของโรคนี้มาก่อน และมีการระบายน้ำที่ดี

๕ ไถพรวนดินให้ลึกเกินกว่า ๒๐ เซนติเมตร จากผิวดิน และตากดินไว้นานกว่า ๒ สัปดาห์ จะช่วยลดปริมาณเชื้อในดินลงได้มาก

๖. พื้นที่ที่เคยมีการระบาดของโรค ควรรมดินเพื่อฆ่าเชื้อโรค โดยโรยยูเรียผสมปูนขาว อัตรา
๘๐ : ๘๐๐ กิโลกรัมต่อไร่ จากนั้นไถกลบและรดน้ำให้ดินมีความชื้น ทิ้งไว ๓ สัปดาห์ จึงเริ่มปลูกขมิ้น

๗. ใช้หัวพันธุจากแปลงที่ปลอดโรค

๘. ในพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค ไม่ควรปลูกพืชอาศัยของเชื้อ เช่น พืชตระกูลขิง พืชตระกูลมะเขือมันฝรั่ง พริกและถั่วลิสง ให้สลับปลูกพืชชนิดอื่นที่ไมใช่พืชอาศัย เช่น ข้าว ข้าวโพด และมันสำปะหลัง เพื่อตัดวงจรของโรค


ที่มา : สำนักพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร

กรมวิชาการเกษตร
เรียบเรียงโดย : กลุ่มพยากรณ์และเตือนการระบาดศัตรูพืช กองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
เพลี้ยมังคุด เพลี้ยไฟมังคุด ใช้ มาคา + FK-1 ฟื้นฟู บำรุง - 1ชุด ผสมน้ำได้ 400ลิตร
เพลี้ยมังคุด เพลี้ยไฟมังคุด ใช้ มาคา + FK-1 ฟื้นฟู บำรุง - 1ชุด ผสมน้ำได้ 400ลิตร
มาคา เป็นยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ กำจัดแมลงศัตรูพืช
สกัดจากพืช_ 100% จากธรรมชาติ ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค
FK-1 เร่งฟื้นฟูบำรุง สร้างภูมิต้านทาน ฟื้นตัวไว โตไว ให้ผลผลิตดี มีคุณภาพ

*การใช้มาคากำจัด เพลี้ย และแมลงศัตรูพืช กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

เพลี้ยมังคุด เพลี้ยไฟมังคุด

ทั้งตัวอ่อน และตัวเต็มวัย ของเพลี้ยไฟมังคุด จะดูดกินน้ำเลี้ยง ที่ใบอ่อน ดอกอ่อน ยอดอ่อน ผลอ่อน ของมังคุด ทำให้ มังคุดยอดแห้ง ผิวผลมังคุดเป็นขี้กลาก มังคุดผิวลาย มียางไหล มีส่วนทำให้มังคุดผลร่วง ระยะที่มังคุด ถูกเพลี้ยไฟเข้าโจมตีมากที่สุด คือระยะแตกใบอ่อน อาจกระทบต่อเนื้องไปถึงระยะ มังคุดออกดอก ที่มังคุดติดผลอ่อน

แมลงศัตรูพืช ที่ใช้ มาคา ได้

#Aphid #Insect #Aphididae #Aphidoidea #greenfly #blackfly #Drosophila #whitefly

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง (เลือกแยกซื้อได้)

http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ มาคา และ FK-1 http://www.farmkaset..link..
มาคา อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ มาคา และ FK-1 http://www.farmkaset..link..
มาคา อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..


ข้อมูลและอัตราผสมใช้

🦗 ฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ กำจัด เพลี้ย แมลงหวี่ขาว แมลงพาหะของโรค และแมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 1ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ มาคา ได้เลย

🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🦗ข้อมูล มาคา

มาคา เป็นยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ กำจัดแมลงศัตรูพืช
สกัดจากพืช_ 100% จากธรรมชาติ ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค
*การใช้มาคากำจัด เพลี้ย และแมลงศัตรูพืช กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
ป้องกัน กำจัด เพลี้ยจักจั่นมะม่วง เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยต่างๆ และ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ใช้ได้กับพืชทุกชนิด (1ลิตร ผสมน้ำได้ 400ลิตร)
ป้องกัน กำจัด เพลี้ยจักจั่นมะม่วง เพลี้ยจักจั่น เพลี้ยต่างๆ และ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ใช้ได้กับพืชทุกชนิด (1ลิตร ผสมน้ำได้ 400ลิตร)
มาคา เป็นยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ กำจัดแมลงศัตรูพืช
สกัดจากพืช_ 100% จากธรรมชาติ ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

เพลี้ยจักจั่นมะม่วง

โดยทั่วไปแล้ว ที่ระบาดจะมีสองชนิด คือ สีเทาปนดำ และน้ำตาลปนเทา ตัวอ่อนของเพลี้ยจักจั่น จะดูดกินน้ำเลี้ยงที่ช่อดอก และใบ ตัวอ่อนโตโดยการลอกคราบ 4 ครั้ง ในช่วง 17-19 วัน จึงเป็นตัวเต็มวัย มักพบตัวอ่อนเป็นกลุ่ม ตามช่อดอก และใบ โคนของก้านช่อดอก และก้านใบ เมื่อแดดร้อนจัด จะซ่อนอยู่ตามหลังใบ

ลักษณะการเข้าทำลายพืช ของ เพลี้ยจักจั่น

- ตัวอ่อนเพลี้ยจักจั่น และตัวเต็มวัย เข้าทำลายใบอ่อน ช่อดอก ก้านดอก และยอดอ่อน
- ช่วงที่ได้รับความเสียหายมากที่สุดคือ ช่วงพืชกำลังออกดอก เพลี้ยจักจั่นจะดูดน้ำเลี้ยงที่ช่อดอก ทำให้ดอกแห้ง ร่วง ติดผลน้อย หรือไม่ติดผลเลย
- เป็นพาหะของโรคราดำ เพลี้ยจักจั่น จะถ่ายมูลเป็นของเหลว เหนียว คล้ายน้ำหวาน ติดตามใบ ช่อดอก ผล ทำให้โรคราต่างๆ ที่ปลิวมากับลม ติดได้ง่าย ระบาดได้เร็ว
- ช่อดอก ขั้วผล ใบ ถูกปกคลุมด้วยราดำ
- ใบพืชที่ถูกดูดน้ำเลี้ยง จะบิดงอ โค้งลงด้านใต้ใบ ตามขอบใบปลายใบแห้ง

อ้างอิงข้อมูล opsmoac.go.th

แมลงศัตรูพืช ที่ใช้ มาคา ได้

#Aphid #Insect #Aphididae #Aphidoidea #greenfly #blackfly #Drosophila #whitefly

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada มาคา http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee มาคา http://www.farmkaset..link..

ข้อมูลและอัตราผสมใช้

🦗 ฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ กำจัด เพลี้ย แมลงหวี่ขาว แมลงพาหะของโรค และแมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🦗ข้อมูล มาคา

มาคา สกัดจากธรรมชาติ ที่ถูกคัดสรรอย่างพิถีพิถัน โดยใช้หลักการเทคโนโลยีชั้นสูง ในการรวมอัลคาลอยเข้มข้นที่มีประสิทธิภาพสูงเข้าด้วยกัน เพื่อป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช อีกทั้งสามารถยับยั้งการดื้อยาที่เกิดจากการใช้สารเคมีเป็นเวลานาน เนื่องจาก มาคา มีวิธีการออกฤทธิ์แบบไม่เจาะจง จึงทำให้แมลงไม่สามารถปรับตัวต้านทานได้ รวมทั้งสามารถฉีดพ่นได้ในช่วงก่อนการเก็บเกี่ยว โดยปราศจากสารพิษตกค้างในดินและน้ำ ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

*การใช้มาคากำจัด เพลี้ย และแมลงศัตรูพืช กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

MAKA : Multiple Alkaloid Agent Insecticide

Natural Organic Plant Alkaloids extracted from specially selected plants using high technology. Highly concentrated alkaloids are extremely effective in eliminating and repelling insects. They protect the plants from further insect attacks. No insecticide resistance build-ups as the active ingredients are non-specific in action. No poisonous residues – safe to spray before harvest. No contamination of soil and water. No user and consumer poisonings.

Elimination Alkaloids act by destroying the nervous_ metabolism system of insects and haemocytes. Natural active insecticidal oil cover and block the breathing pores of insects. Kill ratio is high if used according to manufacturer’s instructions.

Repellent Odor and Active ingredients of Alkaloids effectively coat surfaces of plants The Ionic charges and nerve acting alkaloid will repel insects from attacking plants.

Protection MAKA Alkaloids will cover and stick to the leaves and plant surfaces to provide continuous repelling protection for extended periods.

Protect nad Eliminate pest
– Brown Planthopper (Nilaparvata lugens)
– Zigzag Leafhopper (Recilla dorsalis)
– Green Leafhopper (Nephotettix spp.)
– Rice Thrips (Balliothrips biformis)
การปลูกมันสำปะหลัง การให้ปุ๋ยมันสำปะหลังตามช่วงอายุ การแก้โรคใบไหม้มันสำปะหลัง และกำจัดแมลงศัตรูพืช
การปลูกมันสำปะหลัง การให้ปุ๋ยมันสำปะหลังตามช่วงอายุ การแก้โรคใบไหม้มันสำปะหลัง และกำจัดแมลงศัตรูพืช
การปลูกมันสำปะหลัง ให้มีเปอร์เซ็นการงอกที่ดีขึ้น

ระยะห่างระหว่างต้นในร่องปลูก ประมาณ 1 เมตร และระยะห่างระหว่างร่อง ประมาณ 1.30 เมตร เพื่อความสะดวกในการเข้าทำรุ่นหญ้า

เลือกท่อนพันธุ์มันสำปะหลังที่สมบูรณ์ จากแปลงที่ปราศจากโรคติดต่อต่างๆ ควรใช้ท่อนพันธ์จากต้นมันสำปะหลังที่มีอายุ 8 ถึง 14 เดือน จะเป็นท่อนพันธุ์ที่ดี

การตัดท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง ควรตัดให้มีความยาวประมาณ 30-40 เซนติเมตร

ชุบท่อนพันธุ์มันสำปะหลังด้วย กู๊ดโซค น้ำยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง ผสมในอัตราส่วน 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร จุ่มท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง เพื่อเร่งราก และสะสมอาหารไว้ในท่อนพันธุ์ เพื่อให้มันสำปะหลังใช้เป็นอาการในระยะงอก จะช่วยเพิ่มเปอร์เซ็นการงอกได้ดีในระดับนึง

ปักท่อนพันธุ์ลงดิน ลึก 1 ใน 3 ของความยาวท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง

ช่วงมันสำปะหลังเริ่มแตกยอด สามารถฉีดพ่น ปุ๋ย FK-1 ได้ต่อเนื่องเป็นระยะ ตามความเหมาะสม ตามสภาพแวดล้อม และสภาพอากาศ แนะนำให้ฉีดพ่นทุก 7 วัน หรือ ทุก 15 วัน หรือ ทุก 30 วัน ตามความเหมาะสม จนมันสำปะหลังมีอายุได้ 4 เดือน

หลังจากมันสำปะหลัง มีอายุ 4 เดือน มีความเจริญเติบโตที่สมบูร์ มีทรงพุ่มที่ดีแล้ว เปลียนมาฉีดพ่นด้วย ปุ๋ย FK-3C เพื่อส่งเสริมกระบวนการ ลำเลียงอาหาร ไปสะสมเป็นหัวมันสำปะหลัง สามารถฉีดพ่นได้ในช่วงอายุ 4-8 เดือน ทุกๆ 7 หรือ 15 หรือ 30 วัน ตามความเหมาะสม หรือตามกำลังที่ทำได้

ช่วงมันสำปะหลังอายุ 8 เดือนขึ้นไป เป็นระยะพักตัว จะตอบสนองต่อปุ๋ยได้น้อย การให้ปุ๋ยในช่วงนี้ อาจจะสิ้นเปลืองกว่าช่วงแรกปลูก จนถึง 8 เดือน ฉนั้น การดูแลให้ดีในช่วงต้น จะได้ผลผลิตที่ดีกว่า การมาเร่งใส่ปุ๋ย ตอนมันสำปะหลัง มีอายุมากกว่า 8 เดือนแล้ว

โรคและแมลงศัตรูพืช มันสำปะหลัง

มันสำปะหลังใบหงิก หรือ ใบซีดเป็นดวงๆ จุดสีจางๆ ทั่วใบ เป็นลุกลามขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุนี้เกิดจาก มีเพลี้ย เกาะดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ผิวใบ ทำให้ใบพืชจางเป็นดวงๆ และหดตัว ทำให้ใบหงิกงอ สามารถตรวจสอบได้ โดยการใช้ไฟฉายส่องดูใต้ใบมันสำปะหลัง เวลาช่วงสองทุ่ม เพราะกลางวันแดดร้อน เพลี้ยอาจจะไม่อยู่

การกำจัดเพลี้ย ในมันสำปะหลัง ฉีดพ่นด้วย มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด หากฉีดเฉพาะต้นที่เป็น เพลี้ยก็ย้ายไปอยู่บริเวณข้างเคียงโดยรอบ ฉนั้น ควรฉีดพ่นให้คลอบคลุมทั้งแปลง

มันสำปะหลังใบไหม้ โรคใบจุดสนิม ใบจุดสีน้ำตาล และโรคมันสำปะหลังต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ยับยั้งการระบาด การลุกลามของเชื้อรา กำจัดโรคเชื้อรามันสำปะหลัง ฉีดพ่นด้วย ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด

การฉีดพ่น มาคา เพื่อกำจัดเพลี้ย หรือ ไอเอส เพื่อยับยั้งโรครา สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อเร่งให้มันสำปะหลังฟื้นตัวได้รวดเร็วยิ่งขึ้น และกลับมาเจริญเติบโต สมบูรณ์แข็งแรง
อาการใบหงิกม้วนในมะเขือเทศเชอร์รี่แดง
อาการใบหงิกม้วนในมะเขือเทศเชอร์รี่แดง
ใบหงิกม้วน อาจเกิดจากหลายปัจจัย ได้แก่ โรคไวรัส ธาตุอาหารไม่สมดุล และสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง อาการที่พบ มักพบอาการใบหงิกงอในใบอ่อนหรือส่วนบนใกล้ยอด แต่ใบด้านล่างปกติ ไม่แสดงอาการม้วนงอ

สาเหตุ

1. เกิดจากไวรัส

2. เกิดจากได้พืชรับธาตุอาหารไม่เพียงพอหรือไม่สมดุล

3. เกิดจากสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง

การสังเกตลักษณะอาการ

1. ให้สำรวจและตรวจสอบประชากรแมลงในแปลง เช่น แมลงหวี่ขาว เพลี้ยไฟ เพลี้ยอ่อน แมลงศัตรูพืชทั้ง 3 ชนิดนี้ เป็นพาหะนำโรคไวรัส แต่หากไม่พบแมลง ไม่มีร่องรอยการทำลาย และต้นมีความสมบูรณ์ดี ก็ไม่น่าจะใช่โรคไวรัส

2. หากตรวจสอบต้นมะเขือเทศเชอรี่แดงทั้งลำต้น โดยสังเกตที่ใบ เช่น หากใบด้านล่างหรือใบชุดแรกมีความสมบูรณ์ แล้วใบด้านบน บริเวณใกล้ยอดมีอาการผิดปกติและหงิกม้วน อาจเกิดจากมะเขือเทศเชอรี่แดงได้รับธาตุอาหารบางชนิดไม่เพียงพอ โดยเฉพาะ โบรอนและแคลเซี่ยม โดยหากได้รับไม่เพียงพอจะทำให้พบอาการบิดม้วนของใบอ่อน

3. ในช่วงฤดูร้อนและอากาศค่อนข้างแห้ง อาจส่งผลให้ต้นมะเขือเทศมีการปรับตัวต่อสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงโดยแสดงอาการใบหงิกม้วน ทั้งนี้ ให้สังเกตว่ามะเขือเทศเชอร์รี่แดงที่แสดงอาการว่าปลูกในทิศใดหรือบริเวณจุดใดของโรงเรือน

แนวทางป้องกัน/แก้ไข

1. คลุมหลังคาด้วยตาข่ายพรางแสง 25-50% ความกว้าง 1 เมตร โดยขึงทิศเหนือใต้ ระยะห่างระหว่างตาข่ายพลางแสงแต่ละผืน 1 เมตร (เว้นช่องเพื่อให้ได้รับแสงโดยตรง)

2. รดน้ำในแปลง ทางเดิน หรือติดหัวพ่นหมอก หรือสปริงเกอร์ฝอยในโรงเรือน เพื่อเพิ่มความชื้น หรือติดสปริงเกอร์บนหลังคาเพื่อลดอุณหภูมิภายในโรงเรือน หากถ้าวางกระถางบนพลาสติก ให้นำท่อพีวีซี 1 นิ้ว วางใต้พลาสติกตามยาวเพื่อทำเป็นขอบไว้กักน้ำที่ซึมออกมาจากกระถาง

3. ติดตั้งพัดลม เปิดหลังคา เพิ่มการระบายอากาศ (ตรวจสอบแบบโรงเรือนดูก่อนว่าสามารถทำได้หรือไม่)

4. ควบคุมการให้น้ำให้ปุ๋ย ตามที่ผู้เชี่ยวชาญแนะนำ โดยยึดหลักการว่า ฤดูร้อน ให้น้ำน้อยแต่บ่อยครั้ง

5. ฉีดพ่นปุ๋ยทางใบด้วยธาตุอาหารแคลเซียม โบรอน และแมกนีเซียม โดยพ่นปุ๋ยทางใบอัตราไม่เกินครึ่งหนึ่งของฉลาก 1 ครั้ง/สัปดาห์ หรือ 1/4 ของฉลากทุกๆ 3 วัน (เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุด เวลาพ่นปุ๋ยแคลเซียมและโบรอนทางใบ ควรผสมกรดฟูลวิค Fulvic acid หรือกรดอะมิโน เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนธาตุอาหาร เข้าสู่ใบได้ดีขึ้น) หรือฉีดพ่นปุ๋ยทางใบที่มี หรือปรับสูตรปุ๋ยระบบน้ำโดยเพิ่มธาตุอาหารแคลเซียม โบรอนและแมกนีเซียม เพื่อให้มะเขือเทศได้รับธาตุอาหารที่เหมาะสมและสมดุล

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
วิธีการไถกลบตอซังข้าว
วิธีการไถกลบตอซังข้าว
พื้นที่เขตชลประทาน ในเขตพื้นที่ชลประทานซึ่งสามารถปลูกข้าวได้ต่อเนื่อง 2-3 ครั้งต่อปี หลังจากเก็บเกี่ยวข้าวแล้วไม่ต้องเผาตอซังและฟางข้าว ให้ทำการไถกลบตอซังและฟางข้าวแล้วปล่อยน้ำเข้านา โดยให้ระดับน้ำพอท่วมวัสดุ หลังจากนั้นใช้ปุ๋ยอินทรีย์น้ำอัตรา 5 ลิตรต่อไร่ เจือจางกับน้ำ 100 ลิตร คิดเป็นอัตราส่วน 1 : 20 ราดลงในแปลงข้าวเพื่อช่วยให้ตอซังข้าวย่อยสลายได้ง่าย หมักไว้ประมาณ 2 สัปดาห์ แล้วจึงทำเทือกเพื่อเตรียมเพาะปลูกข้าวครั้งใหม่ต่อไป หรือสามารถปลูกพืชไร่เศรษฐกิจชนิดอื่นได้ เช่น พืชตระกูลถั่ว ข้าวโพด ข้างฟ่าง ฯลฯ

พื้นที่เขตเกษตรน้ำฝน ในกรณีที่เกษตรกรมีการปลูกข้าวเป็นพืชหลักเพียงอย่างเดียวตลอดฤดูเพาะปลูกโดยอาศัยน้ำฝน หลังจากการเก็บเกี่ยวข้าวให้ทิ้งฟางข้าวและตอซังไว้ในพื้นที่ของเกษตรกร เพื่อเป็นการคลุมผิวหน้าดิน จากนั้นเมื่อเข้าสู่ต้นฤดูฝนประมาณปลายเดือนเมษายน หรือต้นเดือนพฤษภาคม ให้ทำการเตรียมดินพร้อมกับการไถกลบตอซังและฟางข้าว แล้วปฏิบัติเช่นเดียวกับในเขตชลประทาน โดยทำการปล่อยน้ำเข้านาให้ระดับน้ำท่วมวัสดุที่ไถกลบ หลังจากนั้นใส่ปุ๋ยอินทรีย์น้ำในพื้นที่ 1 ไร่ ใช้อัตรา 5 ลิตร โดยให้เจือจางกับน้ำ 100 ลิตร ก่อนราดลงในแปลงนาข้าว หมักทิ้งไว้ประมาณ 2 สัปดาห์ เพื่อให้ตอซังข้าวเกิดการย่อยสลาย แล้วจึงทำเทือกเตรียมแปลงพร้อมที่จะปลูกข้าวต่อไป

ผลเสียจากการเผาตอซัง

เกษตรกรที่เตรียมพื้นที่สำหรับปลูกข้าวโดยทำการเผาตอซังข้าวเพื่อให้เกิดความสะดวกในการไถเตรียมดิน หรือเพื่อต้องการกำจัดวัชพืชและแมลงศัตรูพืชนั้นจะมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง
สมบัติของดินทั้งทางด้านกายภาพ เคมี และชีวภาพ เนื่องจากความร้อนจากการเผาตอซัง กล่าวคือ

1. ทำให้โครงสร้างของดินเปลี่ยนแปลงไป อนุภาคของดินจับตัวกันแน่นและแข็ง ทำให้รากพืชแคระแกร็น ไม่สมบูรณ์และอ่อนแอ การหาอาหารลดลงรวมทั้งเชื้อโรคพืชสามารถเข้าทำลายได้ง่าย

2. สูญเสียอินทรียวัตถุและธาตุอาหารในดิน คาร์บอนและอินทรียวัตถุในดินเมื่อถูกเผาจะกลายเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูญเสียไปในบรรยากาศ ส่วนธาตุอาหารจะแปรสภาพให้อยู่ในรูปที่สามารถสูญเสียไปจากดินได้ง่าย

3. ทำลายจุลินทรีย์และแมลงที่เป็นประโยชน์ในดิน ทำให้ปริมาณและกิจกรรมของจุลินทรีย์ดินลดลง เช่น กิจกรรมการเปลี่ยนก๊าซไนโตรเจนจากบรรยากาศให้อยู่ในรูปของสารประกอบไนโตรเจนที่พืชใช้ประโยชน์ได้ การแปรสภาพอนินทรีย์ฟอสฟอรัสให้อยู่ในรูปของฟอสเฟตที่ละลายน้ำได้ และการย่อยสลายอินทรียสารเป็นการเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน นอกจากนั้นตัวอ่อนของแมลงศัตรูพืช เช่น ตัวห้ำ ตัวเบียนที่อาศัยอยู่ในดินหรือตอซังพืชรวมทั้งจุลินทรีย์ที่สามารถควบคุมโรคพืชถูกเผาทำลายไป ซึ่งหากระบบนิเวศน์ของดินไม่สมดุลจะทำให้การแพร่ระบาดของโรคเกิดได้ง่ายขึ้น

4. สูญเสียน้ำในดิน การเผาตอซังพืชทำให้ผิวดินมีอุณหภูมิสูงถึง 90 องศาเซลเซียส น้ำในดินจะระเหยสู่บรรยากาศอย่างรวดเร็ว ให้ความชื้นของดินลดลง

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อ ชุดย่อยสลายตอฟาง กับ Lazada : http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อ ชุดย่อยสลายตอฟาง กับ Shopee : http://www.farmkaset..link..
โรคราแป้งยางพารา
โรคราแป้งยางพารา
ในการเพาะปลูกพืชแต่ละชนิดถ้าผู้ปลูกคำนึงถึงการจัดการศัตรูพืชเพื่อลดความเสี่ยงจากการทำลายของ ศัตรูพืชแต่ละชนิดคงจะดีมาก เพราะ การลดความเสี่ยงนี้ คือ ความสามารถในการจัดการพืชให้รอดปลอดภัยจาก โรคและแมลงศัตรูพืช

ในช่วงเดือน ธันวาคม –มกราคม ใบยางพาราร่วงหล่น เป็นอีกสัญญาณหนึ่งที่ชาวสวนยางต้องเฝ้าสังเกต ต้นยางอย่างใกล้ชิดมากขึ้นเพราะเมื่อใบเก่าร่วงไป ใบใหม่ก็ต้องมาทดแทน ซึ่งโรคราแป้งในยางพาราก็มักจะเกิด ในช่วงแตกใบอ่อน ดังนั้นแล้วก็ต้องเฝ้าระวัง

ราแป้ง เกิดจากเชื้อเชื้อราOidium heveae Steinm ( Oidium Leaf Disease)

เชื้อสาเหตุมีลักษณะเป็นฝุ่นแป้งบนใบอ่อนยางพารามักพบการระบาดในช่วงที่ฝนตกปรอยๆ อุณหภูมิลดลง ๓ – ๔ องศาเซลเซียส หรือสภาพอากาศเย็นอุณหภูมิประมาณ ๑๘ – ๒๐ องศาเซลเซียส ใบอ่อนยางพาราจะมีสีขาวคล้ายฝุ่นแป้ง กระจายทั่วทั้งใบ ประมาณ ๒ – ๔ วัน หลังจากนั้นใบจะร่วง มีอาการคล้ายน้ำร้อนลวก อาการรุนแรงร่วงโกรนทั้งต้น ไม่รุนแรงใบจะมีรอยจุด หรือบิดงอใบยางพาราที่เจริญงอกมาแทนใบร่วงโกรนใบจะเล็กกว่าปกติ

ผลกระทบ: กรณีใบร่วงโกรนทั้งต้น ยางพาราจะใช้เวลาเพิ่มที่จะพัฒนาเป็นแก่จัดพร้อมเปิดประมาณ ๓๐ – ๓๕ วันและผลผลิตลดลง กรณีใบเป็นจุดผลผลิตจะลดลง

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ ใบจุด

FK-1 ฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการแตกยอด แตกใบใหม่ ส่งเสริมผลผลิต

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
โรคราแป้งองุ่น และ โรคราน้ำค้างองุ่น
โรคราแป้งองุ่น และ โรคราน้ำค้างองุ่น
การปลูกองุ่นในประเทศไทยสามารถให้ผลผลิตที่มีคุณภาพได้ แต่ไทยเป็นประเทศที่อยู่ในเขตร้อนชื้น จึงมักพบโรคและแมลงศัตรูที่สำคัญที่สร้างความเสียหายให้กับองุ่น เช่น โรคราน้ำค้าง โรคราแป้ง โรคแอนแทรคโนส เพลี้ยไฟ เพลี้ยแป้ง และหนอนกระทู้ เป็นต้น ทำให้เกษตรกรใช้สารเคมีเพื่อป้องกันกำจัดโรคและแมลงศัตรูองุ่นในปริมาณที่มากเกินความจำเป็น ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเกษตร ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม ดังนั้นการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน (Integrated Pest Management; IPM) จึงเป็นทางเลือกหนึ่งในการป้องกันกำจัดโรคและแมลงศัตรูพืชที่เป็นมิตรต่อคนและสิ่งแวดล้อม เป็นการเลือกใช้วิธีการจัดการศัตรูพืชตั้งแต่ 2 วิธีการขึ้นไปมาใช้ร่วมกันอย่างเหมาะสม เป็นการลดการใช้สารเคมีเกษตรในการป้องกันกำจัดศัตรูพืช หรือใช้เท่าที่จำเป็นเท่านั้นเพื่อลดระดับปริมาณศัตรูพืชให้อยู่ในระดับที่ไม่ก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจ และเกิดความสมดุลของระบบนิเวศ โรคและแมลงศัตรูองุ่นที่สำคัญ ได้แก่

โรคราน้ำค้างองุ่น (Downy mildew)

เชื้อสาเหตุ : Plasmopara viticola

ลักษณะอาการ : เป็นขุยสีขาวที่ใต้ใบองุ่น ด้านบนใบจะเห็นเป็นสีเหลืองเป็นจ้ำๆ ถ้าเป็นรุนแรงใบจะไหม้ ช่อดอกและผลอ่อนเหี่ยวแห้ง

การระบาด : ระบาดในช่วงฤดูฝน หรือในช่วงที่มีความชื้นสูง

การป้องกันกำจัด :

1. หมั่นตรวจสอบแปลงและป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มพบโรค
2. กำจัดวัชพืชในโรงเรือนและรอบโรงเรือน
3. งดให้น้ำในช่วงเย็น
4. การใช้สารปลอดภัย


โรคราแป้งองุ่น (Powdery mildew)

เชื้อสาเหตุ : Oidium tuckeri

ลักษณะอาการ : เป็นขุยแป้งขี้เถาสีขาว เกิดบนใบ กิ่ง และผล

การระบาด : ระบาดในช่วงปลายฤดูฝน-ฤดูหนาว

การป้องกันกำจัด :

1. หมั่นตรวจสอบแปลงและป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มพบโรค
2. กำจัดวัชพืชในโรงเรือนและรอบโรงเรือน
3. การใช้สารปลอดภัย

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ราแป้ง ราน้ำค้าง โรคใบไหม้ ใบจุด

FK-1 ฟื้นฟู บำรุง ส่งเสริมการแตกยอด แตกใบใหม่ ส่งเสริมผลผลิต

รายละเอียดด้านล่างนะคะ
1164 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 116 หน้า, หน้าที่ 117 มี 4 รายการ
|-Page 106 of 117-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 | 115 | 116 | 117 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในงา
Update: 2566/05/13 09:39:11 - Views: 3083
โรคพืช จะรุนแรงขึ้น เมื่อสภาพแวดล้อมเหมาะสมกับการระบาด และ พืชอ่อนแอ ดูแลพืชให้แข็งแรง ก็ต้านทานต่อโรคได้ เหมือนคนที่แข็งแรง
Update: 2564/08/19 22:28:57 - Views: 2992
การต่อสู้กับโรคราน้ำค้าง: การใช้สารประกอบอินทรีย์เพื่อป้องกันและกำจัดโรคพืชจากเชื้อราในแตงโม
Update: 2566/05/15 10:27:34 - Views: 3094
กล้วยใบม่วงหลังใบอ่อน เกิดจุดกระเป็นริ้วเขียวอมเหลือง เพราะ กล้วยขาดธาตุสังกะสี
Update: 2564/03/18 02:27:04 - Views: 3238
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในผลสละอย่างมีประสิทธิผล
Update: 2566/05/13 09:46:19 - Views: 3120
Fujinon xf 35mm f1.4 และ xf 35mm f2.0 เลนส์สามัญประจำชาว Fuji ที่น่าจะมีไว้สักตัว
Update: 2564/04/25 02:38:08 - Views: 5755
โรคมะพร้าวใบจุด โรคมะพร้าวยอดเน่า โรคมะพร้าวผลร่วง เป็นโรคมะพร้าว ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
Update: 2564/08/19 05:40:02 - Views: 4222
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในผักกาดหอม
Update: 2566/05/13 09:57:14 - Views: 3073
ถั่วเหลือง โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ขยายขนาด ผลใหญ่ ผลดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/04/01 15:42:12 - Views: 86
ทำไมต้อง เกษตรอินทรีย์ ?
Update: 2565/08/23 05:37:11 - Views: 3026
วิถีชาวบ้าน การหาปลาด้วยการ ยกยอหาปลา ทำกับหลายๆคน
Update: 2563/05/05 10:15:42 - Views: 3024
การต่อสู้กับโรคเชื้อราแอนแทรคโนสในต้นชมพู่ด้วยสารอินทรีย์
Update: 2566/05/15 10:51:42 - Views: 3017
ยาแช่ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง ปุ๋ยเร่งโตมันสำปะหลัง ปุ๋ยเร่งหัวมันสำปะหลัง ปุ๋ยน้ำฉีดมันสำปะหลัง FK
Update: 2564/08/27 23:33:50 - Views: 3244
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคเน่า หรือไฟทอปทอร่า ในทุเรียน ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/13 14:39:05 - Views: 3003
โรคราแป้งทุเรียน (Powdery Mildew)
Update: 2564/06/17 17:48:13 - Views: 3085
ยารักษาโรคพืช กำจัดโรคดอกกระถิน ใน ต้นข้าว โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด(ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/05/31 16:00:24 - Views: 7477
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในถั่วเขียวอย่างได้ผล
Update: 2566/05/13 10:26:44 - Views: 3003
โรคราน้ำค้างแตงโม
Update: 2564/08/21 21:51:25 - Views: 3470
แก้วมังกรเงินล้านของเกษตรกรตัวอย่าง-สกลฯ
Update: ././. .:.:. - Views: 3019
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรครากเน่า ใน ดอกโป๊ยเซียน ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/18 10:34:00 - Views: 3277
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022