[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - โรคพืช
1136 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 113 หน้า, หน้าที่ 114 มี 6 รายการ

ศัตรูพืช และ การป้องกันกำจัด
ศัตรูพืช และ การป้องกันกำจัด
ศัตรูพืชจัดว่าเป็นปัญหาสำคัญของการกสิกรรม ทั้งนี้เพราะว่ากว่า 30 เปอร์เซ็นต์ของผลผลิตพืชอาหารของโลกต้องลดลง เนื่องจากการทำลายและการรบกวนของศัตรูพืช ทำให้กสิกรต้องหาหนทางและวิธีการต่างๆ นำมาใช้เพื่อการควบคุมศัตรูพืช พบว่าในแต่ละปีกสิกรได้ใช้จ่ายทั้งเงิน เวลา และความรู้ต่างๆ รวมกันเป็นมูลค่าถึง 10 เปอร์เซ็นต์ของมูลค่าผลผลิตที่ได้รับ ดังนั้นจึงกล่าวโดยสรุปรวมกันว่าในแต่ละปีกสิกรได้สูญเสียแก่ศัตรูพืช และการควบคุมศัตรูพืชถึงกว่า 40 เปอร์เซ็นต์ของมูลค่าผลผลิตรวม (Shaw_ 1982) สำหรับในประเทศไทยก็ได้มีรายงานว่าในแต่ละปีประมาณการสูญเสียผลผลิตพืชถึง 10-30 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากศัตรูพืชชนิดต่างๆ (Soontorn et al._ 1996) ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องศึกษาเกี่ยวกับศัตรูพืช และวิธีการควบคุมเพื่อใช้เป็นพื้นฐานของการจัดการศัตรูพืชในการผลิตพืชให้ได้ผลผลิตตามศักยภาพของพันธุกรรมพืช

ในหัวข้อศัตรูพืชและการป้องกันกำจัดเบื้องต้นนี้จะขอกล่าวถึงเฉพาะเรื่องต่อไปนี้คือ ชนิดของศัตรูพืช แหล่งที่มาของศัตรูพืช สาเหตุการแพร่ระบาดของศัตรูพืช ปัจจัยที่ควบคุมการแพร่ระบาด ความเสียหายเนื่องจากศัตรูพืช ระดับของความเสียหาย หลักการควบคุมศัตรูพืช วิธีการควบคุมศัตรูพืช และหลักปฏิบัติในการศัตรูพืชโดยวิธีใช้สารเคมี

ชนิดของศัตรูพืช
ศัตรูพืช (pest) หมายถึง ปัจจัยชีวภาพ (biotic factors) ในการกสิกรรม ที่ก่อความเสียหายต่อพืชปลูก และเป็นสาเหตุทำให้ศักยภาพของการกสิกรรมลดลง หรืออาจหมายถึงสิ่งมีชีวิตซึ่งทำให้ผลผลิตของพืชปลูกลดลง ศัตรูพืชที่สำคัญได้แก่ แมลง ศัตรูพืช (insect pest) โรคพืช (plant disease) วัชพืช (weed) และ ศัตรูอื่นๆ (other) เช่น นก หนู กระรอก ปู ไรแดง หอยทาก เป็นต้น

แมลงศัตรูพืช
แมลงศัตรูพืช หมายถึงสัตว์ที่มีลำตัวเป็นปล้อง (urthropods) จัดอยู่ในชั้น (class) Insecta ประกอบด้วยสัตว์ประมาณ 26 อันดับ (order) ซึ่งสัตว์เหล่านี้ได้ก่อความเสียหายแก่พืชเพาะปลูก แมลงเป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลำตัวแบ่งออกเป็นสามส่วน คือ ส่วนศรีษะ (head) อก (thorax) และท้อง (abdomen) ซึ่งบนส่วนอกมี 3 ปล้อง ซึ่งแต่ละปล้องมีขา 1 คู่ ส่วนท้องมี 8-11 ปล้อง แมลงมีผนังหุ้มลำ..

อ่านต่อ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3413
ควบคุม ป้องกัน กำจัด แมลงศัตรูพืช และโรคพืช ที่ติดเชื้อ และไม่ติดเชื้อ
ควบคุม ป้องกัน กำจัด แมลงศัตรูพืช และโรคพืช ที่ติดเชื้อ และไม่ติดเชื้อ
ศัตรูพืช ได้แก่ โรค แมลง และวัชพืช
สร้างความเสียหายให้กับพืช ทั้งก่อนและหลังเก็บเกี่ยวได้มากกว่า 50% การป้องกัน กำจัด โรคพืช แมลงศัตรูพืช และกำจัดวัชพืช จะช่วยเพิ่มผลผลิตได้มาก 80-90 เปอร์เซ็นต์

อ่านต่อที่
http://www.farmkaset..link..
#โรคพืชที่ติดเชื้อ #โรคพืชที่ไม่ติดเชื้อ #โรคพืชจากเชื้อรา #โรคพืชจากแบคทีเรีย #โรคพืชจากไวรัส #โรคพืชจากไวรอยด์ #โรคพืชจากไฟโตพลาสมา
อ่าน:3628
รับมือ 5 โรคพืชที่พบบ่อย โรคราน้ำค้าง โรคราสนิมขาว โรคเน่าคอดิน โรคใบจุด และ โรคเหี่ยว
รับมือ 5 โรคพืชที่พบบ่อย โรคราน้ำค้าง โรคราสนิมขาว โรคเน่าคอดิน โรคใบจุด และ โรคเหี่ยว
เตือนเกษตรกรสำรวจโรคพืชในทุกระยะ หากฝนตกติดต่อกันเกินกว่า 2 – 3 วัน ควรมีการวางแผนที่ดีเพื่อป้องกันโรคที่ตามมาในหน้าฝน ซึ่งเชื้อราเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดโรคพืชมาก..
อ่านต่อที่ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3489
รู้จัก โรคพืช จากเชื้อรา ใน 1 นาที 53 วินาที

http://www.farmkaset..link..
มาวันนี้ กล่าวถึง โรคเชื้อรา
มีที่มา ที่ไป อย่างไรเล่า
ราคือพืช เล็กเล็ก บนโลกเรา
จัดในพวก เห็ดรา กลุ่มฟันไจ (Kingdom funji)

ต่างจากพืช ราไม่มี คลอโรฟิลล์
สังเคราห์แสง สร้างอาหาร เองไม่ได้
สร้างสปอร์ สืบพันธุ์ ฟุ้งกระจาย
ปลิวไปไกล ตกที่ใด ก็เติบโต

การดำรง ชีวิต ของเชื้อรา
แบ่งออกมา ได้สามกลุ่ม เขาว่าไว้
ราไม่ดี ก่อโรค เข้าทำลาย
ราอีกพวก ย่อยสลาย ซากอินทรีย์

ราสุดท้าย แบบพึ่ง พาอาศัย
อยู่พืชใด สร้างประโยชน์ ให้พืชนั้น
เช่นไมคอร์ ไรซา เขาว่ากัน
ช่วยพืชพันธุ์ ทนแล้ง และโตไว
ราประเภท ก่อโรคร้าย ทำลายพืช
ดูไม่จืด ผลผลิต พืชเสียหาย
โรคใบไหม้ แคงเกอร์ ใบจุดลาย
ช่างวุ่นวาย แอนแทรคโนส โหดร้ายจัง

ทั้งรากเน่า โคนเน่า ราน้ำค้าง
โรคใบติด ใบด่าง ราสนิม
โรคราดำ ใบร่วง เน่าคอดิน
กำจัดสิ้น ใช้ไอเอส ปลอดโรคภัย

เมื่อกล่าวถึง ไอเอส ยาแก้รา
ยับยั้งรา มิให้ ลุกลามได้
ใช้ได้หมด ไม่ว่า พืชอะไร
เมื่อเป็นโรค ใดใด จากเชื้อรา

กลอนบทนี้ เป็นลิขสิทธิ์ของ ฟาร์มเกษตร (FarmKaset.ORG) เผยแพร่ต่อได้ โดยต้องอ้างถึงเว็บไซต์ FarmKaset.ORG
อ่าน:3596
🔥โรคใบไหม้ ราสนิม ราน้ำค้าง โรคพืชต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส ใช้ได้กับทุกพืช เร่งพืชฟื้นตัว กลับมาโตไวให้ผลผลิตดี ด้วย FK-1
🔥โรคใบไหม้ ราสนิม ราน้ำค้าง โรคพืชต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส ใช้ได้กับทุกพืช เร่งพืชฟื้นตัว กลับมาโตไวให้ผลผลิตดี ด้วย FK-1
จัดส่งฟรีถึงบ้านทั่วไทย ชำระเงินปลายทางเฉพาะค่าสินค้า ราคา ไอเอส 450บาท FK-1 890บาท ทั้งชุด 1340บาท

สั่งซื้อได้ที่ http://www.farmkaset..link..
หรือทักแชท
หรือไลน์ไอดี FarmKaset
หรือโทร 090-592-8614

อัตราผสม ไอเอส 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร

อัตราผสม FK-1 แกะกล่องมามีสองถุง ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ฉีดพ่นทั่วแปลงที่มีการระบาด เว้น 3 วันพ่นซ้ำ ต่อเนื่อง 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความรุนแรงของการระบาด
อ่าน:3420
โรคแคงเกอร์มะนาว โรคทุเรียนใบติด ใบไหม้ โรคพริก แอนแทรคโนส กุ้งแห้ง โรคพืชต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
โรคแคงเกอร์มะนาว โรคทุเรียนใบติด ใบไหม้ โรคพริก แอนแทรคโนส กุ้งแห้ง โรคพืชต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

http://www.farmkaset..link..
สั่งซื้อ
โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี FarmKaset
หรือทักแชทที่เพจ ฟาร์มเกษตร

ไอเอส 450 บาท บรรจุ 1 ลิตร
ไอเอส 900 บาท บรรจุ 3 ลิตร
มาคา 470 บาท บรรจุ 1 ลิตร
ไอกี้ 490 บาท บรรจุ 500 กรัม
FK-1 890 บาท บรรจุ 2 กิโลกรัม

อัตราการการใช้
ยาชนิดน้ำ 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ยาชนิดผง 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
อ่าน:3526
แก้โรคใบไหม้ รักษาโรคใบไหม้ด้วยยาอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีทางใบ (ปุ๋ยเคมี ไม่ได้อันตรายเหมือนยาเคมี)
แก้โรคใบไหม้ รักษาโรคใบไหม้ด้วยยาอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีทางใบ (ปุ๋ยเคมี ไม่ได้อันตรายเหมือนยาเคมี)
แก้โรคใบไหม้ รักษาโรคใบไหม้ด้วยยาอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีทางใบ (ปุ๋ยเคมี ไม่ได้อันตรายเหมือนยาเคมี)
ในปัจจุบัน การรักษาอาหารโรคใบไหม้ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ในพืชใบเขียวต่างๆทุกชนิด ประสิทธิภาพของยาอินทรีย์ในปัจจุบันนั้น ไม่ได้ด้อยกว่ายาเคมีเลย และที่สำคัญ ยาอินทรีนั้นปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ไม่มีสารตกค้างที่เป็นอันตราย

โรคใบไหม้ เกิดได้กับพืชทั่วไป พืชใบเขียวทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็น ไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชสวน พืชไร่ ก็เกิดอาการโรคใบไหม้ ที่มีสาเหตุจากเชื้อราได้ในทุกๆพืช ไม่ว่าจะเป็นไม้ผลอย่าง ทุเรียน เงาะ ลำไย มังคุด พืชเศรษฐกิจอย่างเช่น ยางพารา ปาล์มน้ำมัน พืชไร่อย่างเช่น นาข้าว กาแฟ มันสำปะหลัง ข้าวโพด ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พืชผักสวนครัวต่างๆ เช่น พริก ก็เป็นได้ทั้งโรคกุ้งแห้ง แคงเกอร์ ใบไหม้ ใบเหี่ยว กะหล่ำ กวางตุ้ง พืชตระกูลแตงต่างๆ แตงกวา แตงโม แตงร้าน แตงไทย แคลตาลูป ฯลฯ อีกมากมายเลย ล้วนแล้วแต่มีปัญหาโรคใบไหม้ ได้ทั้งนั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงอาการร้อน ชื้น อบอ้าว โรคใบไหม้ มีสาเหตุจากเชื้อรา ซึ่งเชื้อรานี้ สามารถแพร่กระจายไปตามลมที่พัดพา ไปติดในพื้นที่ต่างๆ จึงลุกลามได้อย่างรวดเร็ว

การป้องกัน รักษาโรคใบไหม้ ในพืชที่ปลูก
- หากเป็นการเริ่มปลูกรอบใหม่ การไถพลิกดินตากแดดสองสัปดาห์ ช่วยฆ่าเชื้อราในดินได้เป็นอย่างดี

- หากเป็นพืชที่มีสายพันธุ์หลากหลาย เช่น มันสำปะหลัง หรือยางพารา สามารถศึกษา เลือกใช้พันธุ์ที่ต้านทานต่อโรคได้สูง

- การเว้นระยะห่างของการปลูกพืชอย่างเพียงพอ ให้แดดส่องถึง อาการถ่ายเทได้ดี เป็นการทำให้สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม ต่อการเจริญเติบโตของเชื้อรา

- การให้น้ำในเวลาเช้าตรู่ เพื่อให้พืชมีเวลาแห้งระหว่างวัน

- เมื่อพบ โรคใบไหม้ ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อ ผสมกับ FK-1 ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด ทุก 3-5 วัน ในช่วงของการรักษา ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง และหากพื้นที่รอบข้าง หรือแปลงข้างเคียงยังมีการระบาด ควรฉีดพ่นป้องกันอย่างต่อเนื้อง ทุกๆ 7 หรือ 15 หรือ 30 วัน ตามความรุนแรงของการระบาด

สั่งซื้อสินค้าได้ที่ http://www.farmkaset..link..
ดูโบรชัวร์ ข้อมูลรายะเอียดสินค้า คลิกที่นี่
หรือโทรสั่งซื้อได้ที่ 090-592-8614
หรือไลน์ไอดี FarmKaset
หรือสั่งซื้อที่เพจ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..
หรือที่ ช็อปปี้ http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3562
โรคทุเรียนกิ่งแห้ง มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคทุเรียนโคนเน่า ทุเรียนผลเน่า โรคใบติดทุเรียน ก็เช่นกัน แก้ด้วย ไอเอส ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง
โรคทุเรียนกิ่งแห้ง มีสาเหตุจากเชื้อรา โรคทุเรียนโคนเน่า ทุเรียนผลเน่า โรคใบติดทุเรียน ก็เช่นกัน แก้ด้วย ไอเอส ฉีดพ่นให้ทั่วแปลง
ทุเรียนกิ่งแห้ง เชื้อราฟิวซาเรียม โซลาไน เป็นเชื้อสาเหตุ

เชื้อราไฟทอปทอร่า พาลมิวอร่า (Phytophthora palmivora) ในทุเรียน เป็นต้นเหตุของ โรคโคนเน่า มีแผลสีน้ำตาลเข้มที่โคนต้นทุเรียน

ทุเรียนผลเน่า เกิดจากเชื้อรา ลาสิโอดิปโพลเดีย ทีโอโบรมี (Lasiodiplodia theobromae)

โรคใบติดทุเรียน อาการทุเรียนใบติด เกิดจาก เชื้อราไรซอคโทเนีย โซลาไน (Rhizoctonia solani)

สำหรับโรคทุเรียน ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอเอส (เฉพาะโรคทุเรียน ที่มีต้นเหตุจากเชื้อราต่างๆ) ในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นให้ครอบคลุมบริเวณแปลงที่มีการระบาด สามารถฉีดพ่นผสมไปพร้อมกับ FK-1 เพื่อเร่งให้ทุเรียนฟื้นตัว จากการเข้าทำลายของโรคต่างๆจากเชื้อรา

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

อ้างอิงข้อมูลโรคพืชจาก
thaifarmer.lib.ku.ac.th/news /5e17df218e29a10f270b4b8d
อ่าน:3561
ยาแก้ โรคกุ้งแห้งพริก หรือ โรคแอนแทรคโนส ในพริก (Anthracnose)
ยาแก้ โรคกุ้งแห้งพริก หรือ โรคแอนแทรคโนส ในพริก (Anthracnose)
อาการของ โรคพริกกุ้งแห้ง หรือ แอนแทรคโนสพริก ผลพริก จะเป็นแผลรูปวงรี หรือวงกลมสีน้ำตาล แผลจะขยายกว้างออกไปได้เรื่อยๆ ทำให้ผลเน่าจะหมด เนื้อเยื้อแผลยุบลึกลงไป มีเส้นใยราเป็นขนสั้นๆ ในสภาพอากาศชื้น จะมีสปอร์ของเชื้อราเป็นสีชมพูอ่อนหรือสีครีมอ่อนๆ ทำให้ผลพริกเน่า ลุกลามแพร่ระบาดได้อย่างรวดเร็ว ส่วนรอบๆแผลที่ไม่ถูกทำลายจะเจริญไปเรื่อยๆ ทำให้เกิดอาการโค้งงอบิดเบี้ยวโดยมีเซลล์ที่ตายอยู่ด้านในลักษณะคล้ายกุ้งแห้ง

สาเหตุของ โรคกุ้งแห้ง หรือ แอนแทรคโนสพริก เกิดจากเชื้อรา Collectrichum casici

การแพร่ระบาด โรคนี้ปกติจะเกิดขึ้นเฉพาะกับผลพริกในกรณีที่ระบาดรุนแรง และสภาพแวดล้อมเหมาะสมอาจจะเข้าทำลายลำต้นและใบได้ โรคนี้ระบาดมากในฤดูฝน หรือในสภาพความชื้นสัมพัทธ์สูงกว่า 95% และอุณหภูมิ ระหว่าง 27 องศาเซลเซียส 32 องศาเซลเซียส

การป้องกันกำจัด โรคกุ้งแห้งในพริก หรือแอนแทรโนสพริก

ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน และยับยั้งเชื้อรา ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นให้ครอบคลุมทั่วทั้งแปลงที่มีการระบาด ต่อเนื่อง 2-4 ครั้ง ตามแต่ความรุนแรง ของการระบาด หากต้องการให้พริกฟื้นตัวเร็ว กลับมาเจริญเติบโตดี สมบูรณ์ แข็งแรง สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกันกับ ไอเอส

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3560
เมล่อนโคนเน่า ราน้ำค้างเมล่อน ราแป้ง เพลี้ยไฟเมล่อน ฉีดพ่นด้วย ยาอินทรีย์ ไอเอส มาคา และ ไอกี้-บีที เร่งฟื้นฟูด้วย FK-1
เมล่อนโคนเน่า ราน้ำค้างเมล่อน ราแป้ง เพลี้ยไฟเมล่อน ฉีดพ่นด้วย ยาอินทรีย์ ไอเอส มาคา และ ไอกี้-บีที เร่งฟื้นฟูด้วย FK-1
โรคราน้ำค้างเมล่อน (Downy Mildew) เกิดจากเชื้อ Pseudoperonospora cubensis (Berkeley & Curtis) Roslowzew
อาการของโรค ราน้ำค้างในเมล่อน จะเกิดจุดสีน้ำตาล หรืออาจจะเป็นสีเหลือง เป็นจุดเล็กๆ และค่อยขยายใหญ่ขึ้น ขอบใบจะค่อยๆม้วนและร่วง

โรคเหี่ยว ในเมล่อน เกิดจากเชื้อรา Fusarium oxysporum f.sq. melonis ใบเมล่อนเหี่ยว เป็นสีเหลืองจากยอดลงมา ซอกใบเน่า โคนเน่า และตายในที่สุด

โรคราแป้งในเมล่อน เกิดจากเชื้อรา Erysiphe cichoracearum De candolle Sphaerotheca fuliginea อาการที่สังเกตุได้ จะเป็นจุดเหลืองที่ยอดอ่อน ลำต้น และจุดเหลืองจะใหญ่ขึ้น ส่งผลให้ใบแห้งตาย

เมล่อนต้นแตก เมล่อนยางไหล เกิดจากเชื้อรา Mycosphaerella melonis จะเกิดจุดวงกลมสีน้ำตาล หรือสีดำ จากขอบใบและขยายสู่กลางใบ จนทำให้ใบร่วง

โรคเมล่อนต่างๆ ทีมีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่นด้วย ไอเอส เพื่อยังยั้งการระบาดของเชื้อรา ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อเร่งฟื้นตัว จากการเข้าทำลายของโรค และกลับมาเจริญเติบโตได้เป็นอย่างดี

แมลหวีขาว เป็นพาหะนำโรคมาติดสู่เมล่อนในแปลงของเรา เป็นแมลงศัตรูพืชที่ต้องกำจัด

เพลี้ยไฟเมล่อน สามารถระบาดแพร่กระจายตัวได้อย่างรวดเร็ว การพัดของกระแสลม ทำให้เพลี้ยระบาดไปได้ในพื้นที่กว้าง เพลี้ยไฟจะเข้าทำลายโดยการดูดน้ำเลี้ยง ทำให้ผลเมล่อนแคระ ไม่โต ต้นเมล่อนอ่อนแอ แห้งตายได้

ฉีดพ่นด้วย มาคา เพื่อกำจัดเพลี้ย และแมลงหวีขาว ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อเร่งฟื้นตัว จากการเข้าทำลายของแมลง

แมลงวันทอง จะเจาเข้าไปในผลเมล่อน เพื่อวางไข่ เป็นการเข้าทำลายเมล่อนโดยตรง

กำจัดหนอนต่างๆในเมล่อน ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ป้องกันกำจัดหนอน ผสมด้วย FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน

ยาอินทรีย์ป้องกันและกำจัดโรค แนะนำ สำหรับ เมล่อน

ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดด และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3483
1136 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 113 หน้า, หน้าที่ 114 มี 6 รายการ
|-Page 109 of 114-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 | 92 | 93 | 94 | 95 | 96 | 97 | 98 | 99 | 100 | 101 | 102 | 103 | 104 | 105 | 106 | 107 | 108 | 109 | 110 | 111 | 112 | 113 | 114 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
เทคนิคการบำรุง สวนมะพร้าว ให้ได้ผลผลิตสูง
Update: 2567/11/07 09:02:03 - Views: 57
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคเน่าดำ ใน ถั่วเหลือง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/16 13:51:45 - Views: 3411
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO: เร่งการออกดอกและเจริญเติบโตของต้นมะละกออย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2567/02/12 14:07:05 - Views: 3413
หนอนผีเสือเจาะผลมะม่วง หนอนเจาะผลมะม่วง หนอนมะม่วง ป้องกันกำจัดด้วย ไอกี้-บีที
Update: 2564/03/03 00:13:01 - Views: 3621
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบไหม้ ในมะเขือเทศ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/23 10:07:32 - Views: 3387
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยไฟ ในต้นกล้วย และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/30 10:03:49 - Views: 3416
กำจัดเพลี้ย ใน ดอกมะลิ เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/06 16:00:11 - Views: 3446
โรคมันสำปะหลัง มันใบไหม้ โรคใบจุดมันสำปะหลัง โรคเชื้อราในมันสำปะหลัง ไอเอส สารอินทรีย์
Update: 2566/10/21 10:22:33 - Views: 3453
กำจัดเชื้อรา ทุเรียน ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/30 10:06:22 - Views: 3462
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสีชมพู ใน ยางพารา ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/17 14:39:39 - Views: 3554
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคเน่าเละ ใน ต้นหอม ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/12 10:36:34 - Views: 3436
การป้องกันกำจัดเพลี้ยทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน ควบคุมเพี้ยไก่แจ้ ด้วยศัตรูธรรมชาติ กระตุ้นใบอ่อนลดเวลาการทำลาย ใช้ ยาฆ่าเพลี้ยอินทรีย์
Update: 2564/02/27 23:36:16 - Views: 3550
สุดยอดสมุนไพรจีนมากคุณค่า 13 ชนิดที่ควรรู้
Update: 2563/02/14 08:49:19 - Views: 3601
โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)
Update: 2564/04/27 09:44:54 - Views: 3713
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค - สู่สวนผลผลิตที่ยั่งยืน สำหรับต้นกล้วย
Update: 2567/02/13 09:50:16 - Views: 3458
ต้นหอม รากเน่า!! ใบไหม้ ใบจุด ใบเหลือง โรคแอนแทรคโนส โรคหอมเลื้อย โรคราต่างๆป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และ ฟื้นฟู ด้วย FK-T
Update: 2567/03/22 10:52:43 - Views: 3578
กำจัดเพลี้ย ใน กระเพรา เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/08 13:59:06 - Views: 3413
หนอนในต้นเสาวรส: วิธีแก้ปัญหาแมลงที่เข้าทำลายพืช
Update: 2566/11/17 13:36:41 - Views: 3410
อาการใบหงิกม้วนในมะเขือเทศเชอร์รี่แดง
Update: 2564/08/27 02:23:08 - Views: 3620
ปุ๋ยสำหรับพริก ยาแก้พริกใบไหม้ แก้รา ยาปราบศัตรูพริก #ปุ๋ยพริก #ยารักษาโรคพริก #พริกใบไหม้
Update: 2564/10/28 09:54:32 - Views: 3394
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022