[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - หนอนใยผัก
108 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 10 หน้า, หน้าที่ 11 มี 8 รายการ

ป้องกัน กำจัด ยาฆ่าหนอน อินทผาลัม หนอนหน้าแมว หนอนเจาะผลอินทผาลัม หนอนอินทผลัม หนอนต่างๆ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
ป้องกัน กำจัด ยาฆ่าหนอน อินทผาลัม หนอนหน้าแมว หนอนเจาะผลอินทผาลัม หนอนอินทผลัม หนอนต่างๆ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ป้องกัน กำจัดหนอนหลายชนิด อัตรส่วนการใช้ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นบริเวณที่มีการระบาด

คุณสมบัติไอกี้บีที - เชื้อบีที (B.T.)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bacillus thuringiensis
Bacillus thuringiensis หรือ เชื้อบีที เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก

ไอกี้ – บีที เพิ่มศักยภาพในการกำจัดหนอนศัตรูพืชให้กับเกษตรกร โดยการรวมประสิทธิภาพการกำจัดหนอนของเชื้อ Bacillus thuringiensis 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ Kurstaki และ Aizawai เข้าไว้ด้วยกัน

เพื่อเพิ่มการปลดปล่อยสารพิษทำลายหนอนชนิดต่างๆ ด้วยสารพิษผลึกโปรตีน delta – endotoxins ที่มีอยู่ในเชื้อ Bacillus thuringiensis เมื่อหนอนพืชได้รับสารพิษนี้เข้าไป จะทำให้เกิดพิษในกระเพาะอาหาร เป็นอัมพาต ลำตัวเหี่ยวแห้ง และตายภายในเวลา 24-48 ชั่วโมง

ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม แมลงศัตรูธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้บริโภค และ เนื่องจากเชื้อบีทีละลายน้ำได้ไม่ดี จำเป็นต้องผสมสารจับใบ (Sticker) ไปด้วยทุกครั้ง เพื่อกำจัด หนอนชอนใบ หนอนเจาะลำต้น หนอนม้วนใบ หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนเจาะผล หนอนแก้วส้ม หนอนกระท้อน หนอนรัง หนอนเจาะเมล็ด หนอนหนังเหนียว หนอนคืบ หนอนร่าน หนอนเจาะขั้ว หนอนแมลงวัน หนอนใยผักหนอนผีเสื้อ หนอนหนังเหนียว หนอนกัดใบ เป็นต้น

การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
หนอนฝรั่ง หนอนเจาะผลฝรั่ง หนอนแมลงวันทอง หนอนผีเสื้อ ศัตรูพืชในฝรั่ง หนอนต่างๆ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
หนอนฝรั่ง หนอนเจาะผลฝรั่ง หนอนแมลงวันทอง หนอนผีเสื้อ ศัตรูพืชในฝรั่ง หนอนต่างๆ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
ตัวแมลงวันทอง เข้าทำลายฝรั่งในระยะตัวหนอน มันจะวางไข่ใต้ผิวของลูกฝรั่งสุก หรือระยะที่ฝรั่งมีผิวอ่อน ตัวอ่อนของแมลงวันทอง จะฟักจากไข่ เป็นตัวหนอนและกินเนื้อฝรั่งเป็นอาหาร ฝรั่งจะอ่อนนิ่ว และเละ เป็นหนอน สร้างความเสียหายแก่ผลผลิต ทำให้รายได้น้อยลง

ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ป้องกัน กำจัดหนอนหลายชนิด อัตรส่วนการใช้ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นบริเวณที่มีการระบาด

คุณสมบัติไอกี้บีที - เชื้อบีที (B.T.)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bacillus thuringiensis
Bacillus thuringiensis หรือ เชื้อบีที เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก

ไอกี้ – บีที เพิ่มศักยภาพในการกำจัดหนอนศัตรูพืชให้กับเกษตรกร โดยการรวมประสิทธิภาพการกำจัดหนอนของเชื้อ Bacillus thuringiensis 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ Kurstaki และ Aizawai เข้าไว้ด้วยกัน

เพื่อเพิ่มการปลดปล่อยสารพิษทำลายหนอนชนิดต่างๆ ด้วยสารพิษผลึกโปรตีน delta – endotoxins ที่มีอยู่ในเชื้อ Bacillus thuringiensis เมื่อหนอนพืชได้รับสารพิษนี้เข้าไป จะทำให้เกิดพิษในกระเพาะอาหาร เป็นอัมพาต ลำตัวเหี่ยวแห้ง และตายภายในเวลา 24-48 ชั่วโมง

ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม แมลงศัตรูธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้บริโภค และ เนื่องจากเชื้อบีทีละลายน้ำได้ไม่ดี จำเป็นต้องผสมสารจับใบ (Sticker) ไปด้วยทุกครั้ง เพื่อกำจัด หนอนชอนใบ หนอนเจาะลำต้น หนอนม้วนใบ หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนเจาะผล หนอนแก้วส้ม หนอนกระท้อน หนอนรัง หนอนเจาะเมล็ด หนอนหนังเหนียว หนอนคืบ หนอนร่าน หนอนเจาะขั้ว หนอนแมลงวัน หนอนใยผักหนอนผีเสื้อ หนอนหนังเหนียว หนอนกัดใบ เป็นต้น

การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
หนอนมะเขือเทศ หนอนชอนใบมะเขือเทศ หนอนต่างๆ ป้องกันกำจัดหนอน ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
หนอนมะเขือเทศ หนอนชอนใบมะเขือเทศ หนอนต่างๆ ป้องกันกำจัดหนอน ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ป้องกัน กำจัดหนอนหลายชนิด อัตรส่วนการใช้ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นบริเวณที่มีการระบาด

คุณสมบัติไอกี้บีที - เชื้อบีที (B.T.)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bacillus thuringiensis
Bacillus thuringiensis หรือ เชื้อบีที เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก

ไอกี้ – บีที เพิ่มศักยภาพในการกำจัดหนอนศัตรูพืชให้กับเกษตรกร โดยการรวมประสิทธิภาพการกำจัดหนอนของเชื้อ Bacillus thuringiensis 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ Kurstaki และ Aizawai เข้าไว้ด้วยกัน

เพื่อเพิ่มการปลดปล่อยสารพิษทำลายหนอนชนิดต่างๆ ด้วยสารพิษผลึกโปรตีน delta – endotoxins ที่มีอยู่ในเชื้อ Bacillus thuringiensis เมื่อหนอนพืชได้รับสารพิษนี้เข้าไป จะทำให้เกิดพิษในกระเพาะอาหาร เป็นอัมพาต ลำตัวเหี่ยวแห้ง และตายภายในเวลา 24-48 ชั่วโมง

ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม แมลงศัตรูธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้บริโภค และ เนื่องจากเชื้อบีทีละลายน้ำได้ไม่ดี จำเป็นต้องผสมสารจับใบ (Sticker) ไปด้วยทุกครั้ง เพื่อกำจัด หนอนชอนใบ หนอนเจาะลำต้น หนอนม้วนใบ หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนเจาะผล หนอนแก้วส้ม หนอนกระท้อน หนอนรัง หนอนเจาะเมล็ด หนอนหนังเหนียว หนอนคืบ หนอนร่าน หนอนเจาะขั้ว หนอนแมลงวัน หนอนใยผักหนอนผีเสื้อ หนอนหนังเหนียว หนอนกัดใบ เป็นต้น

การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
หนอนเจาะผลมะยงชิด หนอนชอนใบ เจาะผล ผลเน่า ร่วงหล่น ป้องกันกำจัดหนอน ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
หนอนเจาะผลมะยงชิด หนอนชอนใบ เจาะผล ผลเน่า ร่วงหล่น ป้องกันกำจัดหนอน ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ป้องกัน กำจัดหนอนหลายชนิด อัตรส่วนการใช้ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นบริเวณที่มีการระบาด

คุณสมบัติไอกี้บีที - เชื้อบีที (B.T.)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bacillus thuringiensis
Bacillus thuringiensis หรือ เชื้อบีที เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก

ไอกี้ – บีที เพิ่มศักยภาพในการกำจัดหนอนศัตรูพืชให้กับเกษตรกร โดยการรวมประสิทธิภาพการกำจัดหนอนของเชื้อ Bacillus thuringiensis 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ Kurstaki และ Aizawai เข้าไว้ด้วยกัน

เพื่อเพิ่มการปลดปล่อยสารพิษทำลายหนอนชนิดต่างๆ ด้วยสารพิษผลึกโปรตีน delta – endotoxins ที่มีอยู่ในเชื้อ Bacillus thuringiensis เมื่อหนอนพืชได้รับสารพิษนี้เข้าไป จะทำให้เกิดพิษในกระเพาะอาหาร เป็นอัมพาต ลำตัวเหี่ยวแห้ง และตายภายในเวลา 24-48 ชั่วโมง

ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม แมลงศัตรูธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้บริโภค และ เนื่องจากเชื้อบีทีละลายน้ำได้ไม่ดี จำเป็นต้องผสมสารจับใบ (Sticker) ไปด้วยทุกครั้ง เพื่อกำจัด หนอนชอนใบ หนอนเจาะลำต้น หนอนม้วนใบ หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนเจาะผล หนอนแก้วส้ม หนอนกระท้อน หนอนรัง หนอนเจาะเมล็ด หนอนหนังเหนียว หนอนคืบ หนอนร่าน หนอนเจาะขั้ว หนอนแมลงวัน หนอนใยผักหนอนผีเสื้อ หนอนหนังเหนียว หนอนกัดใบ เป็นต้น

การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
หนอน ในผักคะน้า หนอนใยผักคะน้า หนอนต่างๆ ป้องกันกำจัดหนอน ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
หนอน ในผักคะน้า หนอนใยผักคะน้า หนอนต่างๆ ป้องกันกำจัดหนอน ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
หนอนใยผัก ในคะน้า มักพบตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่บนใบและใต้ใบพืชเป็นฟองเดี่ยวหรือกลุ่มเล็ก ส่วนใหญ่จะพบไข่ที่ใต้ใบพืช หนอนมีตัวเรียวยาว หัวแหลมท้ายแหลม ส่วนท้ายมีปุ่มยื่นออกเป็นสองแฉก เมื่อถูกตัวหนอนจะดิ้นอย่างแรง และสร้างใยพาตัวเองขึ้นลงระหว่างพื้นดินกับใบพืชได้ หนอนจะเข้าทำลายกัดกินผิวใบ ทำให้ใบผักเป็นรูพรุนคล้ายร่างแห จากนั้นหนอนจะชักใยบางๆ คลุมตัวไว้ติดอยู่กับใบพืชเพื่อเข้าดักแด้

ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ป้องกัน กำจัดหนอนหลายชนิด อัตรส่วนการใช้ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นบริเวณที่มีการระบาด

คุณสมบัติไอกี้บีที - เชื้อบีที (B.T.)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bacillus thuringiensis
Bacillus thuringiensis หรือ เชื้อบีที เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก

ไอกี้ – บีที เพิ่มศักยภาพในการกำจัดหนอนศัตรูพืชให้กับเกษตรกร โดยการรวมประสิทธิภาพการกำจัดหนอนของเชื้อ Bacillus thuringiensis 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ Kurstaki และ Aizawai เข้าไว้ด้วยกัน

เพื่อเพิ่มการปลดปล่อยสารพิษทำลายหนอนชนิดต่างๆ ด้วยสารพิษผลึกโปรตีน delta – endotoxins ที่มีอยู่ในเชื้อ Bacillus thuringiensis เมื่อหนอนพืชได้รับสารพิษนี้เข้าไป จะทำให้เกิดพิษในกระเพาะอาหาร เป็นอัมพาต ลำตัวเหี่ยวแห้ง และตายภายในเวลา 24-48 ชั่วโมง

ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม แมลงศัตรูธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้บริโภค และ เนื่องจากเชื้อบีทีละลายน้ำได้ไม่ดี จำเป็นต้องผสมสารจับใบ (Sticker) ไปด้วยทุกครั้ง เพื่อกำจัด หนอนชอนใบ หนอนเจาะลำต้น หนอนม้วนใบ หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนเจาะผล หนอนแก้วส้ม หนอนกระท้อน หนอนรัง หนอนเจาะเมล็ด หนอนหนังเหนียว หนอนคืบ หนอนร่าน หนอนเจาะขั้ว หนอนแมลงวัน หนอนใยผักหนอนผีเสื้อ หนอนหนังเหนียว หนอนกัดใบ เป็นต้น

การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
หนอนมะม่วง หนอนเจาะผลมะม่วง หนอนเจาะลำต้นมะม่วง หนอนต่างๆ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
หนอนมะม่วง หนอนเจาะผลมะม่วง หนอนเจาะลำต้นมะม่วง หนอนต่างๆ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
หนอนเจาะผลมะม่วง หนอนแมลงวัน ตัวหนอนชนิดนี้ เกิดจากแมลงวันตัวเมีย วางไข่ใต้ผิวของผลมะม่วง จากนั้นไข่จะโตเป็นหนอน และเจากินเนื้อมะม่วง ทำให้มะม่วงเน่า เสียหาย ร่วงหล่น

หนอนด้วงมะม่วง หนอนเจาะลำต้นมะม่วง ตัวเต็มวัยเป็นด้วงปีกแข็ง มีงวงยาว ด้วงนี้จะวางไข่ในผลอ่อน ตัว หนอนมะม่วง จะโตอยู่ในเมล็ด พอตัวหนอนแก่ จะกัดกินเนื้อออะมา หนอนด้วงชนิดนี้ เข้าทำลาย เจาะลำต้นมะม่วงด้วย

ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ (ชีวภาพ) ป้องกัน กำจัดหนอนหลายชนิด อัตรส่วนการใช้ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นบริเวณที่มีการระบาด

คุณสมบัติไอกี้บีที - เชื้อบีที (B.T.)
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bacillus thuringiensis
Bacillus thuringiensis หรือ เชื้อบีที เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมบวก

ไอกี้ – บีที เพิ่มศักยภาพในการกำจัดหนอนศัตรูพืชให้กับเกษตรกร โดยการรวมประสิทธิภาพการกำจัดหนอนของเชื้อ Bacillus thuringiensis 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ Kurstaki และ Aizawai เข้าไว้ด้วยกัน

เพื่อเพิ่มการปลดปล่อยสารพิษทำลายหนอนชนิดต่างๆ ด้วยสารพิษผลึกโปรตีน delta – endotoxins ที่มีอยู่ในเชื้อ Bacillus thuringiensis เมื่อหนอนพืชได้รับสารพิษนี้เข้าไป จะทำให้เกิดพิษในกระเพาะอาหาร เป็นอัมพาต ลำตัวเหี่ยวแห้ง และตายภายในเวลา 24-48 ชั่วโมง

ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม แมลงศัตรูธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้บริโภค และ เนื่องจากเชื้อบีทีละลายน้ำได้ไม่ดี จำเป็นต้องผสมสารจับใบ (Sticker) ไปด้วยทุกครั้ง เพื่อกำจัด หนอนชอนใบ หนอนเจาะลำต้น หนอนม้วนใบ หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนเจาะผล หนอนแก้วส้ม หนอนกระท้อน หนอนรัง หนอนเจาะเมล็ด หนอนหนังเหนียว หนอนคืบ หนอนร่าน หนอนเจาะขั้ว หนอนแมลงวัน หนอนใยผักหนอนผีเสื้อ หนอนหนังเหนียว หนอนกัดใบ เป็นต้น

การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
การใช้ตะไคร้หอมกำจัดหนอนใยผัก
การใช้ตะไคร้หอมกำจัดหนอนใยผัก
การใช้ตะไคร้หอมกำจัดหนอนใยผัก
เกษตรกรที่ปลูกผักไม่ว่าจะปลูกเพื่อจำหน่ายหรือปลูกเพื่อเชิงพาณิชย์ โดยเฉพาะผักตระกูลกระหล่ำและผักกาดขาว มักจะประสบกับปัญหาหนอนใยผักกัดกินยอดของพืชผักทั้งบนใบและใต้ใบ ทำให้ผลผลิตที่ได้นั่นเกิดความเสียหายนำไปขายไม่ได้ต้องคัดทิ้ง ทำให้ต้นทุนในการปลูกเพิ่มมากยิ่งขึ้น จากการสัมภาษณ์คุณโชคชัย บุญยัง หัวหน้ากลุ่มงานอารักขาศัตรูพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี เกี่ยวกับการกำจัดหนอนใยผักศัตรูตัวร้ายของพืชตระกูลกระหล่ำด้วยตะไคร้หอม

คุณโชคชัย บุญยัง หัวหน้ากลุ่มงานอารักขาศัตรูพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดสุราษฎร์ธานี กล่าวว่า หนอนใยผักจะเป็นศัตรูพืชที่ขยายพันธุ์ได้อย่างรวดเร็ว ฉะนั้นเกษตรกรบางรายจะหันไปใช้สารเคมีในการจัดการแมลงชนิดกันเป็นจำนวนมากเพราะกลัวว่าผลผลิตจะได้รับความเสียหายจากศัตรูพืชต่าง ๆ แต่กลับขาดความรู้ความเข้าใจในพืชสมุนไพรที่สามารถนำมาใช้จัดการแทนสารเคมีที่ปลอดภัยได้ ซึ่งมีอยู่ชนิดหนึ่งที่สามารถใช้เข้ควบคุมกำจัด และป้องกันได้ ก็คือ ตะไคร้หอม ซึ่งเกษตรกรสามารถนำตะไคร้หอม(มีลักษณะใบสีขาวอมม่วง) ต้นที่แก่จัด(จะเห็นสีม่วงชัดเจน) มาใช้ในการป้องกันกำจัดได้ เนื่องจาก ต้นที่แก่จัดของตะไคร้หอมนั้น จะมีสารออกฤทธิ์หรือสรรพคุณในการนำมาใช้ป้องกันกำจัดได้ดีกว่าตะไคร้หอมต้นที่ไม่แก่จัดหรือตะไคร้บ้านที่ปลูกกันโดยทั่วไป

โดยมีวิธีการนำมาใช้ป้องกัน-กำจัดหนอนใยผักอย่างได้ผล ดังนี้

1. นำต้นตะไคร้หอมที่แก่จัดทั้งต้นมาหั่นหรือสับ ให้ได้ น้ำหนักประมาณ 5 ขีด

2. นำไปผสมกับน้ำครึ่งปี๊บ(ประมาณ 10 ลิตร) หมัก ทิ้งไว้ 1 วัน (24 ชั่วโมง)

3. กรองเอาแต่น้ำ ไปผสมกับสบู่หรือแชมพู ฉีดพ่นแปลงพืชผักที่พบว่ามีหนอนใยผักเข้าทำลายทุก ๆ 3 วัน ในช่วงเย็น

** จะช่วยป้องกันและจำกัดหนอนใยผักได้เป็นอย่างดี พร้อมยังเป็นการลดใช้สารเคมีที่จะไปเพิ่มต้นทุนในการผลิตให้สูงขึ้น และ บั่นทอนสุขภาพของเกษตรกร/ผู้บริโภคได้อีกด้วย

หมายเหตุ : เกษตรกรควรหมั่นกำจัดวัชพืชซึ่งเป็นที่อยู่อาศัย/หลบซ่อนของแมลงศัตรูพืช ที่อยู่ในแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ และตระไคร้ที่นำมาใช้ต้องเป็นตระไคร้หอมเท่านั้น ซึ่งถ้าปลูกผักจำนวนมากสามารถเพิ่มอัตราส่วนได้โดยการเปรียบเทียบตามสูตรได้ตามความเหมาะสมของพื้นที่และขนาดแปลงผักที่ปลูก

เรียบเรียงโดย :นงพงา ไกรวิลาศ. เจ้าหน้าศูนย์ประสานงานร่วมด้วยช่วยกัน จังหวัดชุมพร.

ที่มา http://www.farmkaset..link..

สำหรับสินค้าจากเรา ไอกี้-บีที เป็นสารชีวินทรีย์ปลอดภัย สำหรับ ป้องกัน และ กำจัดหนอน สามารถใช้ป้องกัน กำจัด ตระกูลหนอนได้หลายชนิด
หนอนใยผัก การกำจัด และป้องกัน
หนอนใยผัก การกำจัด และป้องกัน
หนอนใยผัก การกำจัด และป้องกัน
ตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่เป็นฟอง เดี่ยวๆ หรือกลุ่มเล็กๆ ทั้งบนใบ และใต้ใบพืช แต่จะพบใต้ใบพืช เป็นส่วนใหญ่ หนอนมีลักษณะ เรียวยาว หัวแหลมท้ายแหลม ส่วนท้ายมีปุ่มยื่นออกเป็น 2 แฉกเมื่อถูกตัวจะดิ้นอย่างแรง และสร้างใยพาตัวขึ้นลงระหว่างพื้นดินกับใบพืชได้ หนอนกัดกิน ผิวใบทำให้ผักเป็นรูพรุนคล้าย ร่างแห จากนั้นเข้าดักแด้บริเวณ ใบพืช โดยมีใยบางๆ ปกคลุมติด ใบพืช

แนวทางป้องกัน/แก้ไข :

๑. การใช้กับดักชนิดต่างๆ ได้แก่ - กับดักกาวเหนียวสีเหลือง เป็นกับดักทรงกระบอก หรือ กระป๋องน้ ามันเครื่องสีเหลืองทาด้วยกาวเหนียว ทุก ๗- ๑๐ วันครั้ง สามารถจับผีเสื้อหนอนใยผักได้เฉลี่ย ๑๖ ตัว ต่อวันต่อกับดัก โดยจับผีเสื้อเพศเมีย : เพศผู้ ได้ ๐.๗๙ : ๑ และเมื่อติดตั้งกับดักกาวเหนียวสีเหลืองจ านวน ๘๐ กับดักต่อไร่สามารถลดการใช้สารฆ่าแมลงมากกว่า ๕๐ เปอร์เซ็นต์

- กับดักแสงไฟ หลอดสีน้ าเงิน ๒๐ วัตต์ เป็นหลอดเรือง แสงที่เหมาะสมในการใช้จับผีเสื้อหนอนใยผักมากที่สุด มี ราคาถูกกว่าหลอด blacklight-blue ๒๐ วัตต์ และ ปลอดภัยไม่มีอันตรายจากแสงอุลตร้าไวโอเล็ต ในการติดตั้งกับดักแสงไฟควรติดตั้งรอบนอกแปลงผัก และควรดำเนินการติดตั้งพร้อมกันในพื้นที่

๒. การใช้โรงเรือนตาข่ายไนล่อน หรือการปลูกผักกางมุ้ง โดยการปลูกผักในโรงเรือนที่คลุมด้วยตาข่ายไนล่อน ขนาด ๑๖ mesh (๒๕๖ ช่องต่อตารางนิ้ว) สามารถ ป้องกันการเข้าทำลายของหนอนใยผักและหนอนผีเสื้อ อื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้โรงเรือนตาข่ายไนล่อน ต้องปิดอย่างมิดชิดตลอดเวลาเพื่อป้องกันผีเสื้อเพศเมียเล็ดลอดเข้าไปวางไข่

๓. การใช้ศัตรูธรรมชาติ ได้แก่ - การใช้เชื้อแบคทีเรีย (บาซิลลัส ทูริงเยนซิส) ปกติใน ธรรมชาติจะพบเชื้อแบคทีเรียชนิดนี้ซึ่งมีประสิทธิภาพใน การกำจัดหนอนใยผัก แต่เนื่องจากสภาพแวดล้อมเป็น ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อปริมาณเชื้อแบคทีเรียที่จะทำให้ หนอนใยผักตาย ปัจจุบันจึงมีการผลิตเชื้อแบคทีเรียในรูป การค้าออกจำหน่ายที่สำคัญมี ๒ สายพันธุ์ คือ Bacillus thuringiensis subsp. aizawai และ Bacillus thuringiensis subsp. kurstaki อัตรา ๑๐๐-๒๐๐ มิลลิลิตรต่อน้ำ ๒๐ ลิตร (ไม่ควรใช้ในแหล่งปลูกผักภาคกลาง ในช่วงที่มีการระบาดมากพิจารณาการใช้อัตราสูง และช่วงเวลาพ่นถี่ขึ้น หรือพ่นสลับสารฆ่าแมลง)

๔. การใช้วิธีทางเขตกรรม สามารถช่วยลดการระบาดของ หนอนใยผักได้ เช่น การไถพรวนดินตากแดด หรือการ ทำลายซากพืชอาหาร หรือการปลูกพืชหมุนเวียน ทั้งนี้ เพื่อขัดขวางการขยายพันธุ์อย่างต่อเนื่องของหนอนใยผัก

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
ไอกี้-บีที คือ Bacillus thuringiensis subsp. aizawai และ Bacillus thuringiensis subsp. kurstaki สำหรับ ป้องกัน และกำจัดหนอน
การควบคุมโรคพืช และแมลงศัตรูพืช ด้วยสารสกัดสมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพ
การควบคุมโรคพืช และแมลงศัตรูพืช ด้วยสารสกัดสมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพ
ในปัจจุบันสภาพแวดล้อมก าลังเข้าขั้นวิกฤติ สืบเนื่องมาจากการกระท าของมนุษย์
โดยเฉพาะการใช้สารเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิต และการก าจัดศัตรูพืช ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อ
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ก่อให้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน น้ า และระบบ
นิเวศวิทยา การท ากสิกรรมธรรมชาติ เพื่อผลิตอาหารที่มีคุณภาพ ถูกหลักอนามัย ปลอดภัย และ
ประหยัดต้นทุนนั้น เกษตรกรจ าเป็นต้องหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี และหันมาใช้สารสกัดจาก
สมุนไพรทดแทนถึงแม้ว่าสารสกัดสมุนไพร จะมีผลในการท าลายแมลงที่เป็นประโยชน์พวกแมลงตัว
ห้ า หรือแมลงตัวเบียนบ้างก็ตาม แต่ก็น้อยกว่าสารเคมีเพราะพิษจากสมุนไพรสลายตัวได้รวดเร็ว
และไม่ตกค้างนาน การใช้สารสมุนไพรทดแทนการใช้สารเคมี จะมีความจ าเป็นในช่วงแรก ๆ ของ
การเปลี่ยนแปลง เพราะเกษตรกรใช้สารเคมีติดต่อกันมาเป็นเวลานาน จนท าให้ความสมดุล
ระหว่างแมลงศัตรูพืช กับแมลงที่เป็นประโยชน์สูญเสียไป เมื่องดสารเคมี และใช้สารสมุนไพร
ทดแทนไปสักระยะจนสามารถอนุรักษ์ และเพิ่มจ านวนประชากรของแมลงที่เป็นประโยชน์ได้มาก
จนเกิดความสมดุลภายในแปลงได้แล้วจึงค่อย ๆ ลดการใช้สารสมุนไพรลง โดยใช้เฉพาะเท่าที่
จ าเป็นเท่านั้น การใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในคน สัตว์ และพืช การน าสมุนไพรมาใช้ในการ
ควบคุมโรคนั้น ควรมีความเข้าใจพื้นฐานของฤทธิ์ยาสมุนไพร และสรรพคุณของวัตถุนานาชนิด ที่
จะน ามาใช้ปรุงเป็นยาเสียก่อน โดยสรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิดนั้นจะขึ้นอยู่กับรสของสมุนไพร
นั้น ๆ รสยาแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1 ยารสประธาน หมายถึง ยาที่ปรุงเป็นต ารับแล้ว แบ่งเป็น 3 รส คือ รสเย็น รส
ร้อน และรสสุขุม
2 ยา 9 รส หมายถึง สรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิด คือ
1) รสฝาด สรรพคุณ ใช้ในการสมานแผลต่าง ๆ
2) รสหวาน สรรพคุณ ซึมซาบไปตามผิว
3) รสเบื่อเมา สรรพคุณ แก้พิษ ดับพิษโลหิต
4) รสขม สรรพคุณ แก้ทางโลหิตและดี
5) รสมัน สรรพคุณ เป็นยาอายุวัฒนะ
6) รสหอมเย็น สรรพคุณ บ ารุงหัวใจ บ ารุงโลหิต
7) รสเค็ม สรรพคุณ ฟอกโลหิต ดับพิษร้อน
8) รสเปรี้ยว สรรพคุณ บ ารุงเลือด แก้กระหายน้ า
9) รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ แก้โรคลม บ ารุงธาตุไฟ
และบางต ารายังได้เพิ่มอีก 1 รส คือ รสจืด สรรพคุณ ดับพิษ แก้ไข้ ขับปัสสาวะแก้ทางเตโชธาตุ
พิการ เช่นกันกับการน าสมุนไพรมาใช้ในการควบคุมโรคพืช และแมลงศัตรูพืชนั้น ก็ต้องมีความ
เข้าใจในพื้นฐานของฤทธิ์ยาสมุนไพร และสรรพคุณของวัตถุต่าง ๆ ที่จะน ามาใช้ปรุงเป็นยาป้องกัน
หรือยารักษาโรคพืชรวมทั้งยาฆ่า - ท าลายวงจรชีวิต และป้องกันแมลงด้วยโดยสรรพคุณของตัวยา
สมุนไพรที่ใช้ในการเกษตรสามารถแบ่งออกตามรสของสมุนไพรได้ประมาณ 5 รส คือ
1) สมุนไพรรสขม ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ป้องกันแมลง อาทิเช่น ฟ้าทลายโจร บอระเพ็ด
สะเดา และหญ้าใต้ใบ
2) สมุนไพรรสเบื่อเมา ฆ่าหนอนเพลี้ย แมลงอื่น ๆ อาทิเช่น หางไหล หนอนตาย
หยาก ขอบชะนางแดง - ขาว ใบน้อยหน่า สลัดได พญาไร้ใบ แสยก และเมล็ดมะกล่ า
3) สมุนไพรที่มีรสฝาด แก้เชื้อราโรคพืช อาทิเช่น เปลือกแค เปลือกมังคุด ใบฝรั่ง
และใบทับทิม
4) สมุนไพรหอมระเหย ไล่แมลง เปลี่ยนกลิ่นต้นพืช อาทิเช่น ตะไคร้หอม สาบเสือ
โหระพา กะเพรา ผักชี กะทกรก สาบแร้งสาบกา และผักแพรวแดง
5) สมุนไพรที่มีรสเปรี้ยว ไล่แมลง แสบร้อน อาทิเช่น เปลือกส้ม มะกรูด มะนาว และ
มะขาม
วิธีการปรุง หรือสกัดยาสมุนไพร เพื่อใช้ในการเกษตร สามารถประยุกต์เทคนิคการปรุง หรือสกัด
ยาสมุนไพร เพื่อน ามาใช้ในการเกษตรได้หลายวิธี อาทิเช่น
1) บดผง น าไปโรย หรือคลุมดินป้องกันศัตรูพืช
2) แช่น้ า (1 - 2 วัน) น าไปฉีดพ่น
3) ดองเหล้า (1 - 3 วัน) น าไปฉีดพ่น
4) ต้ม น าไปฉีดพ่น และรดราด
5) สกัดด้วยไอน้ า และความดัน ซึ่งเป็นเทคนิคต้องใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่แข็งแรง
6) การหมัก ซึ่งเป็นวิธีการที่ประหยัด และเก็บรักษาสรรพคุณของยาไว้ได้ทนนาน
นอกจากนี้ยังได้สารฮอร์โมน วิตามินและแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์ ต่อพืชอีกด้วย
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติโป่งแรด ตั้งอยู่เลขที่ 44/2 หมู่ 3 ต าบลพลับพลา อ าเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี
ในปัจจุบันสภาพแวดล้อมก าลังเข้าขั้นวิกฤติ สืบเนื่องมาจากการกระท าของมนุษย์
โดยเฉพาะการใช้สารเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิต และการก าจัดศัตรูพืช ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อ
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ก่อให้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน น้ า และระบบ
นิเวศวิทยา การท ากสิกรรมธรรมชาติ เพื่อผลิตอาหารที่มีคุณภาพ ถูกหลักอนามัย ปลอดภัย และ
ประหยัดต้นทุนนั้น เกษตรกรจ าเป็นต้องหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี และหันมาใช้สารสกัดจาก
สมุนไพรทดแทนถึงแม้ว่าสารสกัดสมุนไพร จะมีผลในการท าลายแมลงที่เป็นประโยชน์พวกแมลงตัว
ห้ า หรือแมลงตัวเบียนบ้างก็ตาม แต่ก็น้อยกว่าสารเคมีเพราะพิษจากสมุนไพรสลายตัวได้รวดเร็ว
และไม่ตกค้างนาน การใช้สารสมุนไพรทดแทนการใช้สารเคมี จะมีความจ าเป็นในช่วงแรก ๆ ของ
การเปลี่ยนแปลง เพราะเกษตรกรใช้สารเคมีติดต่อกันมาเป็นเวลานาน จนท าให้ความสมดุล
ระหว่างแมลงศัตรูพืช กับแมลงที่เป็นประโยชน์สูญเสียไป เมื่องดสารเคมี และใช้สารสมุนไพร
ทดแทนไปสักระยะจนสามารถอนุรักษ์ และเพิ่มจ านวนประชากรของแมลงที่เป็นประโยชน์ได้มาก
จนเกิดความสมดุลภายในแปลงได้แล้วจึงค่อย ๆ ลดการใช้สารสมุนไพรลง โดยใช้เฉพาะเท่าที่
จ าเป็นเท่านั้น การใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในคน สัตว์ และพืชการน าสมุนไพรมาใช้ในการควบคุม
โรคนั้น ควรมีความเข้าใจพื้นฐานของฤทธิ์ยาสมุนไพร และสรรพคุณของวัตถุนานาชนิด ที่จะ
น ามาใช้ปรุงเป็นยาเสียก่อน โดยสรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิดนั้นจะขึ้นอยู่กับรสของสมุนไพร
นั้น ๆ รสยาแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
ยารสประธาน หมายถึง ยาที่ปรุงเป็นต ารับแล้ว แบ่งเป็น 3 รส ย่อย คือ รสเย็น รสร้อน และ
รสสุขุม
5.6.2 ยา 9 รส หมายถึง สรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิด คือ
1) รสฝาด สรรพคุณ ใช้ในการสมานแผลต่าง ๆ
2) รสหวาน สรรพคุณ ซึมซาบไปตามผิว
3) รสเบื่อเมา สรรพคุณ แก้พิษ ดับพิษโลหิต
4) รสขม สรรพคุณ แก้ทางโลหิตและดี
5) รสมัน สรรพคุณ เป็นยาอายุวัฒนะ
6) รสหอมเย็น สรรพคุณ บ ารุงหัวใจ บ ารุงโลหิต
7) รสเค็ม สรรพคุณ ฟอกโลหิต ดับพิษร้อน
8) รสเปรี้ยว สรรพคุณ บ ารุงเลือด แก้กระหายน้ า
9) รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ แก้โรคลม บ ารุงธาตุไฟ
และบางต ารายังได้เพิ่มอีก 1 รส คือ รสจืด สรรพคุณ ดับพิษ แก้ไข้ ขับปัสสาวะแก้
ทางเตโชธาตุพิการ เช่นกันกับการน าสมุนไพรมาใช้ในการควบคุมโรคพืช และแมลงศัตรูพืชนั้น ก็
ต้องมีความเข้าใจในพื้นฐานของฤทธิ์ยาสมุนไพร และสรรพคุณของวัตถุต่าง ๆ ที่จะน ามาใช้ปรุงเป็น
ยาป้องกัน หรือยารักษาโรคพืชรวมทั้งยาฆ่า - ท าลายวงจรชีวิต และป้องกันแมลงด้วยโดยสรรพคุณ
ของตัวยา
สมุนไพรที่ใช้ในการเกษตรสามารถแบ่งออกตามรสของสมุนไพรได้ประมาณ 5 รส คือ
1) สมุนไพรรสขม ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ป้องกันแมลง อาทิเช่น ฟ้าทลายโจร บอระเพ็ด
สะเดา และหญ้าใต้ใบ
2) สมุนไพรรสเบื่อเมา ฆ่าหนอนเพลี้ย แมลงอื่น ๆ อาทิเช่น หางไหล หนอนตาย
หยาก ขอบชะนางแดง - ขาว ใบน้อยหน่า สลัดได พญาไร้ใบ แสยก และเมล็ดมะกล่ า
3) สมุนไพรที่มีรสฝาด แก้เชื้อราโรคพืช อาทิเช่น เปลือกแค เปลือกมังคุด ใบฝรั่ง
และใบทับทิม
4) สมุนไพรหอมระเหย ไล่แมลง เปลี่ยนกลิ่นต้นพืช อาทิเช่น ตะไคร้หอม สาบเสือ
โหระพา กะเพรา ผักชี กะทกรก สาบแร้งสาบกา และผักแพรวแดง
5) สมุนไพรที่มีรสเปรี้ยว ไล่แมลง แสบร้อน อาทิเช่น เปลือกส้ม มะกรูด มะนาว และ
มะขาม
วิธีการปรุง
หรือสกัดยาสมุนไพร เพื่อใช้ในการเกษตร สามารถประยุกต์เทคนิคการปรุง หรือสกัด
ยาสมุนไพร เพื่อน ามาใช้ในการเกษตรได้หลายวิธี อาทิเช่น
1) บดผง น าไปโรย หรือคลุมดินป้องกันศัตรูพืช
2) แช่น้ า (1 - 2 วัน) น าไปฉีดพ่น
3) ดองเหล้า (1 - 3 วัน) น าไปฉีดพ่น
4) ต้ม น าไปฉีดพ่น และรดราด
5) สกัดด้วยไอน้ า และความดัน ซึ่งเป็นเทคนิคต้องใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่แข็งแรง
6) การหมัก ซึ่งเป็นวิธีการที่ประหยัด และเก็บรักษาสรรพคุณของยาไว้ได้ทนนาน
นอกจากนี้ยังได้สารฮอร์โมน วิตามินและแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์ ต่อพืชอีกด้วย
สมุนไพรสูตร (ต ารับ)
ใช้เป็นสารไล่แมลง และบ ารุงพืชที่ก าลังได้รับความนิยมใช้กันโดยทั่วไป กว่า 60
จังหวัดทั่วประเทศ พอจะประมวลประสบการณ์จากศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง จังหวัดชลบุรี
มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ศูนย์กสิกรรมสมุนไพรวังจันทร์ จังหวัดระยอง ศูนย์เรียนรู้ชุมชน กลุ่ม
ปุ๋ยชีวภาพ งานวิชาการเกษตร ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชด าริ
จังหวัดจันทบุรี โครงการเกษตรอินทรีย์สุรินทร์ เครือข่ายกสิกรรมไร้สารพิษแห่งประเทศไทย
เครือข่ายชุมชนชาวอโศก พอสรุปได้ดังนี้สารสมุนไพร ก าจัดเพลี้ยชนิดต่าง ๆ เช่น เพลี้ยอ่อน
เพลี้ยไรแดงเพลี้ยแป้ง เพลี้ยหอย เพลี้ยไฟ เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยกระโดดสีน้ าตาล และหมัดกระโดด
สูตร 1
ส่วนประกอบ
1) หนอนตายหยาก 2 กิโลกรัม
2) บอระเพ็ด 1 กิโลกรัม
3) ขมิ้นชัน 1 กิโลกรัม
4) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
5) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 2 กิโลกรัม
6) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
สับบดสมุนไพรแล้วหมักรวมกันไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 4 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น
สูตร 2
ส่วนประกอบ
1) ว่านน้ า 1 กิโลกรัม
2) สาบเสือ 1 กิโลกรัม
3) ยาฉุน ½ กิโลกรัม
4) ตะไคร้หอม 1 กิโลกรัม
5) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
6) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 กิโลกรัม
7) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
สับบดสมุนไพรหมักรวมกัน 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 4 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น
สูตร 3
ส่วนประกอบ
1) ยาฉุน ½ กิโลกรัม
2) สะเดา ½ กิโลกรัม
3) ข่า 1 กิโลกรัม
4) ตะไคร้หอม 1 กิโลกรัม
5) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
6) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 กิโลกรัม
7) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
สับบดหมักทิ้งไว้ 7 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 5 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น
สูตร 4
ส่วนประกอบ
1) หางไหลสด 1 กิโลกรัม
2) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า ทุบให้แตก แช่น้ า 1 วัน
วิธีใช้ ผสมน้ า 1:20 ฉีดพ่นทุก ๆ 7 วัน
สูตร 5
ส่วนประกอบ
1) ใบเสม็ดขาว 1 กิโลกรัม
2) เหล้า 10 ลิตร
วิธีท า สับบดดองเหล้าไว้ 3 วัน
วิธีใช้ ผสมน้ า ½ ลิตร ต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น
สารสมุนไพร ก าจัดหนอนกระทู้ หนอนชอนใบ หนอนใยผัก หนอนหนังเหนียว
หนอนใต้หนอนเจาะสมอฝ้าย
สูตร 1
ส่วนประกอบ
1) ฟ้าทะลายโจร 1 กิโลกรัม
2) เปลือกหัน 1 กิโลกรัม
3) เปลือกแค 1 กิโลกรัม
4) หางไหล 1 กิโลกรัม
5) ตะไคร้หอม 1 กิโลกรัม
6) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
7) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 ลิตร
8) น้ าสะอาด 15 ลิตร
วิธีท า
สับบดหมักรวมไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 1:100 ฉีดพ่น และรดราด
สูตร 2
ส่วนประกอบ
1) หนอนตายหยาก 1 ลิตร
2) โทงเทง 1 ลิตร
3) สาบเสือ 1 ลิตร
4) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
5) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 ลิตร
6) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
สับบดหมักทิ้งไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 1:100 ฉีดพ่นและรดราด
สารสมุนไพรก าจัดโรคพืช
สูตร 1
ส่วนประกอบ
1) เปลือกแค 1 กิโลกรัม
2) กระเทียม 1 กิโลกรัม
3) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
4) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 ลิตร
5) น้ าสะอาด 1 กิโลกรัม
วิธีท า
สับบดหมักไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 1:100-1:200 ฉีดพ่นและรดราด
สูตร 2
ส่วนประกอบ
1) ว่านหางจระเข้ 1 กิโลกรัม
2) ใบดอกรัก 1 กิโลกรัม
3) กระเทียม 1 กิโลกรัม
4) ขมิ้นชัน 1 กิโลกรัม
5) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
6) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 กิโลกรัม
7) น้ าสะอาด 15 ลิตร
วิธีท า
สับบดหมักไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 1:100 - 1:200 ฉีดพ่นและรดราด
สูตร 3
ส่วนประกอบ
1) ว่านหางจระเข้ 200 กรัม
2) กระเทียม 200 กรัม
3) น้ าสบู่ 4 ช้อนโต๊ะ
4) น้ าส้มสายชู 100 ซี.ซี.
5) น้ าสะอาด 20 ลิตร
วิธีท า
สับบด หมักไว้ 7 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 4 ช้อนต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น ทุก ๆ 7 วัน
สารสมุนไพร ก าจัดหอยเชอรี่
ส่วนประกอบ
1) น้ าปูนใส 1 ลิตร
2) มะกรูด 1 กิโลกรัม
3) กระเทียม 1 กิโลกรัม
4) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
5) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 กิโลกรัม
6) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
หมักมะกรูด กระเทียม หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น น้ าตาล และน้ า รวมกันไว้ 7 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ าปูนใส กับส่วนผสมที่หมักไว้ ในอัตราส่วน 1: 1 หยดลงในนาที่มีหอยเชอรี่
หมายเหตุ การฉีดพ่นสมุนไพรก าจัดโรค และแมลงควรฉีดพ่นในช่วงเช้ามือ หรือช่วงเย็น ๆ ถ้า
มีโรคระบาด หรือแมลงระบาด ควรฉีดพ่น และรดราดดินติดต่อกันทุกวัน เป็นเวลา 3 วัน
ติดต่อกันอย่างไรก็ตามการควบคุมโรค และแมลงให้ได้ผลดีควรท าทั้งการอนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติ
และการใช้สมุนไพรควบคู่กันไปจนกว่าธรรมชาติในแปลงจะสมดุล
สารสมุนไพร จากสะเดา
ส่วนผสม
1) สะเดาทั้ง 5 2 กิโลกรัม (ได้เมล็ดด้วยยิ่งดี)
2) บอระเพ็ดทั้ง 5 4 กิโลกรัม
3) ข่าทั้ง 5 1 กิโลกรัม
4) ตะไคร้หอมทั้ง 5 1 กิโลกรัม
5) หางไหล หรือโล่ติ้น 1 กิโลกรัม
6) ผลไม้สุก 3 ชนิด 1 กิโลกรัม (กล้วยสุก มะละกอสุก ฟักทอง
อย่างละเท่า ๆ กัน)
7) ยาฉุน 2 กิโลกรัม
8) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
9) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 3 กิโลกรัม
10) น้ าสะอาด 40 ลิตร
วิธีท า
หั่น หรือสับสะเดา บอระเพ็ด ข่า ตะไคร้หอม หางไหล และผลไม้สุก ให้ได้ความ
ยาวประมาณ 1 - 2 ข้อมือ ผสมน้ าสะอาด กับน้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาลใส่ลงในถังหมัก
น าส่วนผสมที่หั่น หรือสับแล้วใส่ลงในถังหมักปิดฝาให้สนิทและเก็บไว้ในที่ร่ม 1 เดือน
วิธีใช้
ผสมน้ าหมัก 1 ลิตร ต่อน้ าสะอาด 300 ลิตร ฉีดพ่นในเวลาเช้ามืด หรือหลัง
ตะวันตกดิน
หมายเหตุ ได้ประโยชน์ทั้งเป็นสารขับไล่แมลง เป็นฮอร์โมนบ ารุงพืชให้ติดดอกออกผลดี และยัง
เป็นปุ๋ย อินทรีย์ชีวภาพอีกด้วย
เทคนิคส าคัญในการผลิต และการใช้สารสกัดสมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพ
1 การหมักสารสกัดสมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพ ควรหมักในถังพลาสติกที่มีฝาปิดสนิท
และควรมีลักษณะทึบแสง
2 ควรเก็บรักษาไว้ในที่ร่ม ไม่ควรโดนแสงแดด
3 ตลอดระยะเวลาการหมักไม่ควรเปิดฝาก่อนถึงเวลา เพราะอาจท าให้การหมักไม่
สมบูรณ์ น ามาใช้ประโยชน์ไม่ได้ แต่ในกรณีถ้าถังบวมมาก จนอาจระเบิดได้ ก็อนุโลมให้แง้มฝา
เล็กน้อย เพื่อปล่อยก๊าซออกบ้าง แล้วให้รีบปิดให้สนิทเหมือนเดิม
4 ควรคลุมดิน (อย่าเปลือยดิน) โดยใช้เศษฟาง เศษใบไม้ หรือวัชพืชจ าพวกหญ้า
ต่าง ๆ คลุมให้ทั่วบริเวณใต้ทรงพุ่ม หรือเลยออกมาเล็กน้อย ควรเว้นระยะห่างจากโคนต้น
ประมาณ 1 คืบ และหนาประมาณ 1 ฝ่ามือ
5 การฉีดพ่นใบ หรือรดราดดิน ควรผสมตามอัตราส่วนที่ก าหนดและควรฉีดพ่น
หรือรดราดลงบนดินให้ทั่วบริเวณทรงพุ่ม โดยฉีดพ่น หรือรดราดลงบนเศษฟาง หรือใบไม้กิ่งไม้ที่
คลุมดินอยู่
6 ไม่ควรใช้ยาฆ่าหญ้า เพราะจะท าให้ประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพรอินทรีย์
ชีวภาพลดลง ให้ใช้การตัดหรือนาบแทน
7 ไม่ควรใช้ร่วมกับสารเคมี หรือยาฆ่าแมลง เพราะประสิทธิภาพของสารสกัด
สมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพจะลดลง และสิ่งส าคัญ คือ แมลงที่เป็นประโยชน์ต่าง ๆ (ตัวห้ า ตัวเบียน)
จะตายลง
ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านชุมชนปฐมอโศก ตั้งอยู่เลขที่ 66 หมู่ 5 ต าบลพระประโทน อ าเภอเมือง
จังหวัดนครปฐม
คุณสมบัติของสมุนไพรแต่ละชนิดในการป้องกันและก าจัด (แมลงโรคพืช)
พืชสมุนไพร
หางไหล : หนอนกินช่อ เพลี้ยไฟ ไรขาว ไรแดง เพลี้ยจักจั่น
ขมิ้นชัน : ดวงเจาะเมล็ด ด้วงงวงข้าว มอดข้าวเปลือก หนอนกระทู้ ไรแดง
สบู่ต้น : หนอนชอนใบ หนอนม้วนใบ หนอนแปะใบ หนอนแก้ว
ตะไคร้หอม : หนอนกระทู้ หนอนคืบ หนอนใย หนอนหลอด ราน้ าค้าง หนอนม้วน
ใบ ราแป้ง หนอนเจาะยอด / ดอก / ผล ราสนิม
กระเทียม : เพลี้ยอ่อน หนอนกระทู้ ราน้ าค้าง ราแป้ง ราสนิม
ใบมะเขือเทศสด : ด้วงหมัดผัก หนอนเจาะต้น ไส้เดือนฝอย รา / แบคทีเรียบางชนิด
หนอนใย
ยาสูบ / ยาฉุน : เพลี้ย ไร รา ด้วงหมัดผัก ด้วงเจาะสมอ หนอนกระ หล่ า หนอน
ชอนใบ หนอนมวนใบ หนอนกระทู้
พริกสด : โรคจากไวรัสทุกชนิด ขับไล่แมลง
ใบแก่มะรุม : (ใช้รองก้นหลุม) ราในดิน รากเน่า โคนเน่า ผลเน่า (แตง _ ฟัก) เน่า
คอดิน แง่งขิงเน่า
สาบเสือ : หนอนกระทู้ หนอนใย เพลี้ยกระโดด เพลี้ยไฟ เพลี้ยจักจั่น
แมลงโรคพืช
เพลี้ยไฟ : ใช้พืชสมุนไพร หางไหล สะเดา ยาสูบ ยาฉุน สาบเสือ ตะไคร้หอม /
แกง ใบดาวเรือง กระเทียม ข่า พริก ดีปลี
แมลงหวี่ขาว : ใช้พืชสมุนไพร กระเทียม พริก มะกรูด ขึ้นฉาย ตะไคร้หอม /
แกง
หมัดกระโดด : (ใช้ทางใบ)ตะไคร้หอม/แกงขิง ข่า พริก ใบน้อยหน่า หางไหล หนอน
ตายหยาก (ใช้ทางดิน) สะเดา เมล็ดน้อยหน่า ตะไคร้หอม / แกง ยาฉุน
เพลี้ยอ่อน : ใช้พืชสมุนไพร สะเดา ยาสูบ ยี่หร่า หางไหล (เหล้าขาว +
น้ าส้มสายชู)
เพลี้ยแป้ง : ใช้พืชสมุนไพร ยาสูบ ยาฉุน สะเดา บอระเพ็ด ตะไคร้หอม / แกง
สาบเสือ กระเทียม (ไวท์ออย + น้ ามันก๊าซ)
รากเน่าโคนเน่า : ใช้พืชสมุนไพร เปลือกมะม่วงหิมพานต์ เทียนหยด ราก หม่อน
ผลเน่า : ใช้พืชสมุนไพร ต้นกระดูกไก่ด า / ขาว ว่านน้ า ตะไคร้หอม กระ
เพรา โหระพา ใบยูคาลิปตัส
ไส้เดือนฝอย : ใช้พืชสมุนไพร สะเดา ละหุ่ง ใบยูคาลิปตัส สาบเสือ แขยง เลี่ยน
ปะทัดจีน ใบดาวเรือง ตะไคร้หอม
โรคเน่าคอดิน: ใช้พืชสมุนไพร ใบมะรุมแห้ง กระเทียม ผิวมะกรูด รากหม่อน
โรคเหี่ยว : ใช้พืชสมุนไพร เปลือกเงาะ ขึ้นฉาย ใบมะรุมแห้ง
โรคใบจุด : ใช้พืชสมุนไพร ว่านน้ า ใบกระดูกไก่ด า / ขาว ลูกประค าดีควาย
เปลือก มะม่วงหิมพานต์

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
🐛กำจัดหนอน! ทำไมพืชยังเหี่ยวเฉา ใบเหลืองร่วง โตช้า แคระแกรน ทั้งที่บำรุงอย่างดี.. เป็นหนอนรึเปล่านะ?
🐛กำจัดหนอน! ทำไมพืชยังเหี่ยวเฉา ใบเหลืองร่วง โตช้า แคระแกรน ทั้งที่บำรุงอย่างดี.. เป็นหนอนรึเปล่านะ?
🎗ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอน ปลอดภัย กำจัดตระกูลหนอน ไม่เป็นอันตรายต่่อ คน เด็ก และสัตว์เลี้ยง

💦ฉีดพ่นทางใบ และลำต้น ผสม 40-50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ป้องกัน-กำจัด-ลดจำนวนประชากร หนอนชอนใบ หนอนเจาลำต้น หนอนเจาะผลทุเรียน หนอนเจาะผลไม้ต่างๆ หนอนคืบกะหล่ำ หนอนใยผัก หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนม้วนใบ

💧ราดลงโคนต้น ราดลงดิน ผสม 40-50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ป้องกัน-กำจัด-ลดจำนวน หนอนด้วง หนอนกัดกินรากพืช

💁‍♀️ราคา 490บาท บรรจุ 500กรัม ใช้ได้ 2.5-5 ไร่ โดยประมาณ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ > http://www.farmkaset..link..

🎖คลิกลิงค์เพื่อสั่งซื้อผ่านหน้าเว็บ > http://www.farmkaset..link..

🐛ข้อมูลไอกี้-บีที

กำจัดหนอนแมลงศัตรูพืชด้วยสารชีวินทรีย์ประสิทธิภาพสูง ไอกี้-บีที เพิ่มศักยภาพในการกำจัดแมลงศัตรูพืชให้กับเกษตรกร

โดยการรวมประสิทธิภาพการกำจัดแมลงของเชื้อ Bacillus thuringiensis 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ Kustaki และ Aizawai เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อเพิ่มการปลดปล่อยสารพิษในการทำลายแมลงศัตรูพืช

ด้วยการสร้างสารพิษผลึกโปรตีน delta-endotoxins ที่มีอยู่ในเชื้อ Bacillus thuringiensis เมื่อแมลงศัตรูพืชได้รับสารพิษนี้เข้าไป จะทำให้เกิดพิษในกระเพาะอาหารเป็นอัมพาต ลำตัวเหี่ยวแห้ง และตายภายในเวลา 24-48 ชั่วโมง

โดยไม่เป็นอันตราต่อสิ่งแวดล้อม แมลงศัตูธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ รวมทั้งปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค
อ่าน:3455
108 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 10 หน้า, หน้าที่ 11 มี 8 รายการ
|-Page 10 of 11-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ผักสลัด ใบจุด ใบไหม้ กำจัดโรคจากเชื้อราต่างๆในผักสลัด ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวน ปุ๋ย
Update: 2565/11/04 10:28:05 - Views: 3440
มะระจีนใบเหลือง เกิดจากสาเหตุอะไร มะระใบไหม้ ต้องแก้อย่างไร
Update: 2564/04/25 08:09:26 - Views: 3896
โรคสับปะรด ที่เกิดจากเชื้อราต่างๆ ทำให้เกิดอาการสับปะรดยอดเน่า รากเน่า ใบไหม้ ยกตัวอย่างได้ดังต่อไปนี้
Update: 2566/11/08 06:16:07 - Views: 10127
คู่มือป้องกันกำจัดโรคราต่างๆในแมคคาเดเมีย แมคคาเดเมียใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ราต่างๆ
Update: 2566/05/01 15:18:59 - Views: 10209
ระเบิดราก เร่งต้น เร่งใบ เพิ่มผลผลิต ด้วย FK-1
Update: 2563/10/09 07:49:39 - Views: 3440
พืชใบหงิกงอ พืชใบม้วน ใบด่าง ควรใช้ยาอะไร ต้องสังเกตุที่ต้นเหตุ แล้วเลือกใช้ยาแก้อาการ - ฟาร์มเกษตร
Update: 2563/06/01 09:52:03 - Views: 3654
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคเน่าคอดิน ในคะน้า ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/27 13:45:31 - Views: 3401
โรคใบติดทุเรียน โรคราสีชมพูในทุเรียน โรคทุเรียนกิ่งแห้ง ต้องหมั่นสังเกตุตรวจดูแลสวน หากพบ ให้เร่งป้องกันกำจัด
Update: 2566/11/04 14:14:10 - Views: 10246
โรคอินทผลัม โรคเชื้อราเขม่าผง Graphiola Leaf Spot (False Smut) of Palm
Update: 2564/02/25 02:42:40 - Views: 3568
ควบคุมวัชพืชในสวนพริกด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG): กลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมและรักษาสวนพริก
Update: 2567/02/13 09:22:56 - Views: 3547
เที่ยวเกษตรที่สูง ภูหินร่องกล้า
Update: 2558/10/24 23:50:40 - Views: 3527
ดอกชบา การปลูกชบา การดูแล ป้องกันกำจัดโรค และแมลง
Update: 2564/03/27 00:40:19 - Views: 3907
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 15-5-30+3 MgO: เพิ่มขนาดและคุณภาพของผลผลิตมันสำปะหลัง
Update: 2567/02/13 10:53:04 - Views: 3498
ผสมปุ๋ย สูตร เร่งดอก เร่งผล สูตร 9-25-25 หรือ 8-24-24 ใช้เองง่ายๆ ใช้แอพผสมปุ๋ยช่วยคำนวณส่วนผสม
Update: 2566/01/31 09:26:28 - Views: 3913
โรคข่าเหลือง โรคหัวเน่าในข่าเหลือง
Update: 2564/08/29 23:18:01 - Views: 3714
ระวัง! เนื้อวัวดิบ อันตรายต่อสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นได้
Update: 2565/11/18 12:49:30 - Views: 3404
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 สูตรเร่งผลใหญ่ ผลดก เพิ่มผลผลิตสำหรับต้นฟักทอง
Update: 2567/03/14 15:00:13 - Views: 3636
เทคนิคการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง เพิ่มขนาดและน้ำหนักหัวมันสำปะหลัง Technology of increate cassava yield
Update: 2563/06/16 21:06:09 - Views: 3739
โรคกัญชาใบไหม้ โรคกัญชงใบไหม้ โรครากัญชา โรครากัญชง โรคกัญชาใบจุด โรคราสนิมกัญชา
Update: 2564/08/09 11:05:25 - Views: 4038
การเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังให้สูงสุดด้วยปุ๋ย FK-1 และ FK-3
Update: 2566/01/05 13:07:55 - Views: 3394
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022