<กลับหน้าค้นข้อมูล แจ้งลิงค์ในเนื้อหาเสีย

ปศุสัตว์ เล็งออกมาตรฐานฟาร์มไก่ไข่รุ่น

162.158.170.125 2565/11/18 14:52:36 , View: 3427, e
ปศุสัตว์ เล็งออกมาตรฐานฟาร์มไก่ไข่รุ่น

นายสัตวแพทย์โสภัชย์ ชวาลกุล รองอธิบดีกรมปศุสัตว์ เปิดในการสัมมนาระดมความเห็นต่อร่างมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มไก่ไข่รุ่น ว่า กรมปศุสัตว์มีหน้าที่ในการป้องกันและควบคุมโรคระบาดในสัตว์ การส่งเสริมและสนับสนุนการผลิต และกำกับดูแลกระบวนการผลิตสินค้าปศุสัตว์ให้มีคุณภาพมาตรฐานอาหารปลอดภัยต่อผู้บริโภคตลอดห่วงโซ่กระบวนการผลิต ครอบคลุมตั้งแต่ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ได้มาตรฐาน โรงฆ่าสัตว์และโรงแปรรูปมีคุณภาพและถูกสุขอนามัย จนถึงผู้บริโภค

ซึ่งไข่ไก่นับเป็นสินค้าปศุสัตว์ที่มีความสำคัญ เป็นแหล่งอาหารโปรตีนที่ผู้บริโภคนิยมนำมาปรุงประกอบการทำอาหารเพื่อรับประทานได้ทุกวัน และอุตสาหกรรมการผลิตไข่ไก่ในประเทศไทยมีการพัฒนารูปแบบที่หลากหลายมากขึ้นเพื่อผลิตไข่ไก่ที่มีคุณภาพมาตรฐานตอบสนองความต้องการอย่างเพียงพอกับการบริโภคภายในประเทศและสามารถส่งออกต่างประเทศ สร้างรายได้ให้ประเทศไทย

ปัจจุบันการเลี้ยงไก่ไข่ในประเทศไทยมีการพัฒนารูปแบบการเลี้ยงในลักษณะเชิงอุตสาหกรรมเพิ่มมากขึ้น โดยมีการนำเทคโนโลยีมาช่วยในระบบการผลิต การปรับปรุงสายพันธุ์ การจัดการอาหาร และการควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ไก่ไข่ที่เลี้ยงมีสุขภาพดี ได้ไข่ไก่ที่มีคุณภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค ในปี 2564 มีแม่ไก่ไข่ยืนกรงจำนวนเฉลี่ย 50.9 ล้านตัว ผลิตไข่ไก่ถึง 15_420 ล้านฟอง นับเป็นมูลค่าสูงถึง 42_405 ล้านบาท

อย่างไรก็ตาม เนื่องจากปัญหาวิกฤติทางเศรษฐกิจของโลกส่งผลกระทบต่อสถานการณ์ทางการค้าของสินค้าเกษตรไทย ทำให้ตลาดเกิดการแข่งขันทางการค้า จึงเป็นการดีที่จะมีนโยบายจัดทำมาตรฐานสินค้า เพื่อส่งเสริมให้สินค้าเกษตรมีมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับและสร้างความเชื่อมั่นจากผู้บริโภคทั้งในประเทศและต่างประเทศได้ ความสำคัญในการจัดทำร่างมาตรฐานสินค้าเกษตร เรื่อง การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มไก่ไข่รุ่น

มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการเลี้ยงไก่ไข่รุ่น ลดความเสี่ยงและควบคุมปัญหาโรคระบาดที่เกิดจากฟาร์มที่ยังไม่เข้าสู่ระบบมาตรฐาน เพื่อให้มีมาตรฐานสินค้าเกษตรครอบคลุมการผลิตไข่ไก่ตลอดห่วงโซ่การผลิต เป็นประโยชน์ในการยกระดับคุณภาพสินค้าเกษตร โดยคำนึงถึงด้านสิ่งแวดล้อม ความปลอดภัย สุขภาพและสวัสดิภาพสัตว์ รวมทั้งเพิ่มศักยภาพการแข่งขันในตลาด ASEAN Economic Community (AEC) และต่างประเทศได้

ดำเกิง คำแหง นักวิชาการด้านปศุสัตว์ กล่าวว่า การเลี้ยงไก่ไข่เป็นอาชีพของเกษตรกรไทยมายาวนาน มีผู้เลี้ยงรายเล็กรายย่อยทั่วประเทศนับแสนคน ตลาดไข่ไก่เป็นการรวมตัวกันของเกษตรกรเกิดเป็นสหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่จังหวัดนั้นจังหวัดนี้มากมาย เช่น

สหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่จังหวัดชลบุรี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดเชียงใหม่ ฯลฯ ไข่ไก่เป็นสินค้าเกษตรที่ระดับราคามีขึ้นมีลงจากปัจจัยหลากหลายที่เข้ามากระทบ ไม่ว่าจะเป็นเทศกาลต่างๆ กินเจ ปิดเทอม อากาศร้อนแล้ง ภาวะโรค ปริมาณการเลี้ยงแม่พันธุ์ไก่ไข่ ... ไข่จึงเป็นสินค้าเกษตรที่อ่อนไหวมากหากมีผลผลิตออกสู่ตลาดเยอะราคาก็ตกต่ำเกษตรกรขาดทุน เมื่อไหร่ที่เกษตรกรขาดทุนหนัก และเลี้ยงลดลง ปริมาณไข่ในตลาดน้อยลงราคาก็กลับมาดี เป็นแบบนี้ตามกลไกตลาดเสมอ

กรมปศุสัตว์ เป็นภาครัฐที่ทำหน้าที่กำกับดูแลคนเลี้ยงไก่ไข่ และกรมปศุสัตว์ในยุคปัจจุบันก็ได้ชื่อว่าเป็นยุคที่ทำงานถึงลูกถึงคนเข้ามาช่วยแก้ปัญหาต่างๆอย่างทันการณ์เพื่อให้ไข่ไก่เกิดเสถียรภาพ มีการวางแผนการผลิต ตั้งแต่ต้นทางคือการควบคุมปริมาณปู่ย่าพันธุ์ พ่อแม่พันธุ์ ไปจนถึงลูกไก่ และแม่ไก่ยืนกรง เพื่อให้ปริมาณผลผลิตไข่ไก่สมดุลกับปริมาณการบริโภคให้มากที่สุด อันจะนำไปสู่ราคาไข่ไก่ที่เหมาะสม เกษตรกรอยู่ได้และผู้บริโภคไม่เดือดร้อน

กรมฯยังทำหน้าที่ยกระดับมาตรฐานฟาร์ม ให้เกษตรกรมีมาตรฐานการผลิตไข่ที่ดีและมีระบบป้องกันโรคที่ดี เมื่อผนวกความสามัคคี ร่วมแรงร่วมใจของคนในแวดวงเดียวกันก็ทำให้ทุกวันนี้วงการไก่ไข่มีเสถียรภาพมากขึ้นและมีแนวโน้มที่ดีที่จะเติบโตต่อไปได้อย่างยั่งยืน ทั้งๆที่เป็นงานยาก เพราะไข่ไก่เป็นสินค้าอ่อนไหวที่เมื่อมีอะไรมากระทบเล็กน้อยก็สามารถล้นตลาดหรือขาดตลาดได้ทันที

ความเสียสละของผู้เลี้ยงไก่ไข่เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ต้องพูดถึง ในยามที่คนเลี้ยงไก่ไข่ทั้งหมดบอบช้ำจากราคาไข่ตกต่ำติดดินเพราะผลผลิตล้นตลาด กรมปศุสัตว์ขอความร่วมมือผู้เลี้ยงพ่อแม่พันธุ์ในขณะนั้น ให้ช่วยปลดพ่อแม่พันธุ์ก่อนอายุปลด ซึ่งก็ได้เห็นผู้เสียสละหลายรายเฉือนเนื้อตัวเอง ปลดพ่อแม่พันธุ์และส่งออกไข่ไก่ รวมเป็นมูลค่าถึงร้อยล้านบาท เพื่อยกระดับราคาไข่ไก่ให้สูงขึ้น เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมและต่อชีวิตเกษตรกรรายเล็กรายน้อย... นี่คือความช่วยเหลือกันในวงการไข่ไก่ที่ผมเคยเห็น

ผู้คร่ำหวอดของวงการไข่ไก่ เล่าเหตุการณ์ย้อนรอยอดีตให้ฟังว่า เดิมประเทศไทยปล่อยเสรีพ่อแม่พันธุ์ (PS) ซึ่งมีบริษัทผู้ผลิต 23 ราย ต่อมาไข่ล้นตลาด ทำให้ธุรกิจไก่ไข่ตกต่ำมาก บริษัทพ่อแม่พันธุ์ล้มหายตายจากไปบางส่วน เหลืออยู่เพียง 16 ราย เกษตรกรผู้เลี้ยงจึงขอร้องให้ กรมปศุสัตว์ ลดปริมาณพ่อแม่พันธุ์ เพื่อหยุดซัพพลายที่มากเกินไป เป็นที่มาของการที่กรมปฏิบัติตามคำขอของเกษตรกร จำกัดบริษัทที่เหลือ 16 รายไม่ให้มีเพิ่มขึ้น ตามคำขอนั้น จากจำนวนพ่อแม่พันธุ์ตอนนั้น (2560) มีอยู่ราว 6 แสนตัว 16 บริษัทจึงเริ่มต้นทำกิจกรรมลดแม่ไก่เป็นขั้นบันได

คือให้เหลือ 5.5 แสนตัวในปี 2561 และเหลือ 4.4 แสนตัวในปี 2562 ทุกบริษัทลดในสัดส่วนเปอร์เซ็นต์ที่เท่ากัน ดังนั้น ใครมีแม่ไก่จำนวนมากก็ต้องเสียสละปลดมาก เป็นต้น นับเป็นครั้งสำคัญที่ได้เห็น 16 บริษัท ร่วมมือร่วมใจกันทำเพื่อเกษตรกรและเพื่อส่วนรวมของวงการไก่ไข่ เป็นไปตามเงื่อนไขของกรมปศุสัตว์ ซึ่งทุกรายเป็นผู้ปฏิบัติ หรือกล่าวได้ว่า จำนวนพ่อแม่พันธุ์ไก่ไข่ (PS) ถูกกำหนดโดยเอ้กบอร์ด นักวิชาการ และผู้รู้ที่เกี่ยวข้อง ทำการประเมินและคำนวณมาแล้วว่าความเหมาะสมอยู่ที่เท่าไหร่ กระทั่งได้เริ่มเห็นผลสัมฤทธิ์ในปีนี้ที่ราคาไข่มีเสถียรภาพมากขึ้น

ปัจจุบันการเปิดฟาร์มพ่อแม่พันธุ์ ไม่ใช่สิ่งต้องห้าม เพียงมีต้องเสนอแผนการผลิตและมีตลาดรองรับผลผลิตที่ชัดเจนว่าจะไม่ส่งผลกระทบถึงระดับราคาไข่ไก่โดยรวมของประเทศ เท่านี้ก็สามารถเปิดได้แล้ว ... เอ้กบอร์ด (คณะกรรมการนโยบายพัฒนาไก่ไข่และผลิตภัณฑ์-Egg Board) เป็นกลางและยึดหลักความยั่งยืนของทั้งอุตสาหกรรมเสมอ

สำหรับประเด็นปู่ย่าพันธุ์ (GP) นั้นเปรียบเหมือนความมั่นคงทางอาหารในด้านพันธุ์ไก่ของประเทศ ซึ่งเป็นเรื่องสำคัญมาก หากประเทศใดไม่มีฟาร์ม GP ย่อมต้องพึ่งพิงการนำเข้าจากต่างประเทศตลอดเวลา ซึ่งมีความเสี่ยงหลายด้าน อาทิ โรคระบาดสัตว์ ปัญหาสงคราม หรือการขนส่ง ย่อมกระทบเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ และความมั่นคงทางอาหารของประเทศทันที โชคดีที่ประเทศไทยมีปู่ย่าพันธุ์อยู่ภายในประเทศ ซึ่งจำนวนที่ผลิตก็เป็นไปตามข้อกำหนดของเอ้กบอร์ด

คงต้องขอเป็นกำลังใจให้ กรมปศุสัตว์ ที่นอกจากจะต้องจัดการปัญหาเสถียรภาพราคาไข่ไก่แล้ว ยังต้องรับมือผู้เลี้ยงไก่ไข่หลายรูปแบบ โดยเฉพาะ คนที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน ที่เมื่อตอนคนอื่นเสียสละกลับอยู่เฉย แต่พอภาวะไข่ดีขึ้นกลับออกมาเรียกร้องจากสังคม ขอให้กรมปศุสัตว์ทำหน้าที่ของตนเองต่อไป ดูแลเกษตรกรผู้เลี้ยงไก่ไข่ในองค์รวมให้ได้ประกอบอาชีพที่ดี และผลิตไข่เพื่อผู้บริโภคไทยได้อย่างยั่งยืน


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..

ตรวจคุณภาพ มาตรฐาน ฟาร์มไข่ไก่ มาตรฐานสินค้าเกษตร ตรวจมาตรฐาน GMP
สนใจสั่งซื้อสินค้า
โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset



โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้







ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก

บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ติดตามสินค้าที่คุณสั่ง
คุณ นพพร..., Thursday 21 November 2024 15:02:47, เลขจัดส่ง SMAM000รออัพเดท
คุณ เจี๊..., Thursday 21 November 2024 15:01:08, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ มาเล..., Thursday 21 November 2024 15:00:07, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ วิบา..., Thursday 21 November 2024 14:58:59, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ พิเช..., Thursday 21 November 2024 14:58:12, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ อมรร..., Thursday 21 November 2024 14:57:13, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ อนิร..., Thursday 21 November 2024 14:56:15, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ ภูมิ..., Thursday 21 November 2024 14:55:16, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ สมพิ..., Thursday 21 November 2024 14:54:28, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
คุณ หาญ ..., Thursday 21 November 2024 14:38:26, เลขจัดส่ง FLASH EXPRESS
ดูรายการจัดส่งทั้งหมด
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยไฟ ในสตอร์เบอร์รี่ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/18 14:21:18 - Views: 3398
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค - บำบัดดินและสู่การเจริญเติบโตของดอกกุหลาบ
Update: 2567/02/13 09:50:38 - Views: 3553
หนอนในต้นเสาวรส: วิธีแก้ปัญหาแมลงที่เข้าทำลายพืช
Update: 2566/11/17 13:36:41 - Views: 3409
ต้นมันฝรั่ง อากาศเย็น ระวัง โรคใบไหม้ เหี่ยวเขียว สร้างความเสียหายได้มาก จัดการได้อย่างไร
Update: 2566/11/07 12:50:18 - Views: 3410
เร่งผลมะพร้าวให้โต น้ำหนักดี รสชาติอร่อย ให้เน้นธาตุโพแทสเซียม เมื่อมะพร้าวเริ่มติดผล
Update: 2566/01/06 09:26:30 - Views: 3453
การผสมปุ๋ยใช้เอง
Update: 2566/01/26 20:03:38 - Views: 3452
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบไหม้ ในต้นข้าว ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/05 10:05:02 - Views: 3417
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น น้อยหน่า บำรุง ผลใหญ่ ผลผลิตดี ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/03/09 09:46:17 - Views: 3392
พช.โคราช นำร่อง “1 วัด 1 สวนสมุนไพร ต้านภัยโควิด – 19” เพิ่มพื้นที่ขยายผลการปลูกพืชสมุนไพรไทย
Update: 2564/08/12 00:22:05 - Views: 3598
กรมการข้าวเตือน ระวังโรคไหม้ระบาด
Update: 2564/08/09 10:23:01 - Views: 3397
ทำความรู้จักโรค Anthracnose: ผลกระทบในต้นอินทผาลัมและวิธีการป้องกัน
Update: 2566/11/10 09:20:27 - Views: 3431
แก้โรคใบไหม้ รักษาโรคใบไหม้ด้วยยาอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีทางใบ (ปุ๋ยเคมี ไม่ได้อันตรายเหมือนยาเคมี)
Update: 2563/09/11 07:33:59 - Views: 3562
เคล็ดลับการใช้ปุ๋ยฉีดทางใบเพิ่มประสิทธิภาพในการเร่งการเจริญเติบโต ของ มะยงชิด และมะปราง
Update: 2566/11/11 13:10:39 - Views: 3418
ลำไย โตไว ใบเขียว ผลใหญ่ แข็งแรง ผลผลิตดี อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/05 13:33:28 - Views: 3392
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 : ตัวช่วยเพิ่มผลผลิตพุทราให้ใหญ่ ดก และมีคุณภาพ
Update: 2567/03/06 11:01:02 - Views: 3396
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยแป้ง สายเขียว และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/08 12:38:27 - Views: 3436
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค: เทคโนโลยีสุดล้ำสำหรับปรับปรุงดินและส่งเสริมการเจริญเติบโตของทุเรียน
Update: 2567/02/13 09:58:27 - Views: 3553
การจัดการหนอนศัตรูพืชในต้นบวบ: วิธีป้องกันและควบคุมเพื่อส่งเสริมผลผลิตที่ยั่งยืน
Update: 2566/11/23 10:14:15 - Views: 3408
โรคเน่าเปียก หรือ โรคราขนแมว ที่เกิดกับพริก (เชื้อรา Choanephora cucurbitarum )
Update: 2564/09/02 04:12:08 - Views: 3579
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคใบจุดวง ในมะเขือเทศ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง 100%
Update: 2565/12/23 09:31:51 - Views: 3394
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022