[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - ป้องกันกำจัดหนอน
101 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 10 หน้า, หน้าที่ 11 มี 1 รายการ

หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด (Fall Armyworm)
หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด (Fall Armyworm)
หนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด (Fall armyworm : Spodoptera frugiperda JE Smith)

เป็นศัตรูสำคัญของข้าวโพด เดิมระบาดในทวีปอเมริกา ระบาดสู่แอฟริกาในปี 2559 และกลางปี 2561 มีรายงานการระบาดในอินเดีย ปลายปี 2561 เริ่มพบระบาดในประเทศไทย

วงจรชีวิตของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด ใช้เวลา 30-40 วัน เมื่อผสมพันธุ์แล้ว ผีเสื้อเพศเมียจะวางไข่ในเวลากลางคืน โดยวางไข่เป็นกลุ่ม ประมาณ 100-200 ฟอง มีขนปกคลุมไข่ ผีเสื้อเพศเมียหนึ่งตัววางไข่ได้ประมาณ 1_500-2_000 ฟอง ระยะไข่ 2-3 วัน หนอนมี 6 วัย ระยะหนอน 14-22 วัน หนอนที่โตเต็มที่มีขนาดลำตัวยาว 3.2-4.0 เซนติเมตร จะทิ้งตัวลงดินเพื่อเข้าดักแด้ ระยะดักแด้ 7-13 วัน จึงเป็นตัวเต็มวัย มีชีวิต 10-21 วัน สามารถบินเคลื่อนย้ายระหว่างแปลง และอพยพระยะไกลระหว่างประเทศ หรือภูมิภาคได้

ลักษณะการทำลาย
ผีเสื้อหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด เริ่มวางไข่บนต้นข้าวโพด ตั้งแต่ข้าวโพดงอก อายุ 3-4 วัน โดยพบกลุ่มไข่ทั้งด้านบนใบ ใต้ใบ และที่ลำต้น หลังจากฟักจากไข่ หนอนขนาดเล็กจะรวมกลุ่มกัดกินผิวใบ เริ่มเห็นรอยทำลายสีขาวที่ผิวใบเมื่อข้าวโพดอายุ 6-7 วัน (10-11 วันหลังปลูก) ลักษณะเป็นจุดหรือเป็นแถบสีขาว หนอนตัวเล็กที่เพิ่งฟักสามารถกระจายไปยังต้นข้างเคียงโดยปลิวไปกับลม หนอนวัย 3-6 เป็นระยะที่ทำความเสียหายมาก กัดกินอยู่ในยอดข้าวโพด ทำให้ใบขาดเป็นรู เว้าแหว่ง ยอดกุด ระยะก่อนที่ดอกตัวผู้จะโผล่หนอนจะกัดกินเกสรตัวผู้ หลังจากใบยอดคลี่ทั้งหมด ดอกตัวผู้โผล่พ้นใบที่หุ้มอยู่ หนอนจะย้ายไปที่ฝัก กัดกินไหม และเจาะเปลือกหุ้มฝักเข้าไปกัดกินภายในฝัก

ปกติหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด จะทำลายใบ อยู่ในยอดข้าวโพด ในกรณีที่อากาศร้อนจัด ก่อนเข้าสู่ฤดูฝน (เดือนกุมภาพันธ์-เมษายน) อุณหภูมิ 36-41 องศา หรือ ในช่วงที่มีอากาศร้อน แห้งแล้ง ฝนทิ้งช่วง สภาพดังกล่าวนี้ หนอนที่มีอายุประมาณ 5 วัน มักจะหลบอาศัยใต้ผิวดิน กัดกินเนื้อเยื่อเจริญส่วนโคนต้น ทำให้เกิดอาการยอดเหี่ยว (dead heart) ต้นตาย ต้นข้าวโพดที่ยอดตายบางต้นมักจะมีการแตกหน่อข้าง ถ้าดินมีสภาพเปียก แฉะ หรือ ถ้าช่วงที่มีอากาศเย็นตอนที่ปลูกข้าวโพดฤดูแล้งหลังนา หนอนมักจะไม่ลงมาทำลายใต้ดินบริเวณโคนต้น มักไม่พบอาการยอดเหี่ยว หรือพบน้อย การคลุกเมล็ดด้วยสารเคมีป้องกันกำจัดแมลงก่อนปลูก สามารถลดปัญหาการลงมาเจาะที่โคนต้นได้เมื่อเทียบกับการไม่คลุกเมล็ด

การปลูกข้าวโพดในฤดูฝน หากมีการกระจายของฝนดี ฝนตกต่อเนื่องอย่างสม่ำเสมอ ความรุนแรงในการระบาดของหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดจะลดลง ฝนที่ตกหนักจะชะกลุ่มไข่ หรือ หนอนขนาดเล็กที่เพิ่งฟัก หรือทำให้หนอนที่อยู่ในดินซึ่งกำลังจะเข้าดักแด้ รวมทั้งดักแด้ที่อยู่ในดินมีชีวิตรอดน้อยลง ทำให้สามารถเว้นระยะห่างในการพ่นสารและลดจำนวนครั้งในการพ่นสารลงได้ อย่างไรก็ตามควรมีการติดตามสำรวจแปลงอย่างสม่ำเสมอ

ช่วงที่ต้องมีการป้องกันกำจัดหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุดคือระยะตั้งแต่ข้าวโพดงอกจนถึงอายุประมาณ 30-43 วัน เนื่องจากเป็นช่วงที่มีการระบาดสูงที่สุด และเป็นช่วงที่ข้าวโพดฟื้นตัวได้ หลังจากช่วงนี้ไปแล้วการระบาดลดลงตามธรรมชาติ (Oliveira et al._ 1995) ประกอบกับศัตรูธรรมชาติเริ่มมีปริมาณมากขึ้น การป้องกันกำจัดในช่วงดังกล่าวจะลดปริมาณหนอนที่จะเข้าทำลายในระยะติดฝักซึ่งเป็นระยะที่ข้าวโพดต้นสูง การพ่นสารทำได้ยาก ไม่ปลอดภัย และไม่มีประสิทธิภาพในการกำจัดหนอนที่เจาะอยู่ในฝัก

ในข้าวโพด พบว่าผีเสื้อหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด มาวางไข่บนใบข้าวโพดอย่างต่อเนื่อง โดยจะวางไข่มากในช่วง ระยะ 3 สัปดาห์แรกหลังจากข้าวโพดงอก เกษตรกรที่ปลูกข้าวโพด จึงควรหมั่นสำรวจแปลงหลังจากข้าวโพดงอก สังเกตกลุ่มไข่ และรอยทำลายสีขาวที่ผิวใบ เมื่อพบต้นถูกทำลาย จนมีรอยกัดขาดเป็นรู ป้องกันกำจัดตามคำแนะนำของสำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช กรมวิชาการเกษตร เน้นพ่นสารลงในกรวยยอด

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกัน กำจัด หนอนกระทู้ข้าวโพด ด้วย ไอกี้บีที และ FK-1
ยาป้องกัน กำจัด หนอน หนอนทุกชนิด ใช้ได้ทุกพืช ไอกี้-บีที + FK-1 บำรุง ฟื้นตัว สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
ยาป้องกัน กำจัด หนอน หนอนทุกชนิด ใช้ได้ทุกพืช ไอกี้-บีที + FK-1 บำรุง ฟื้นตัว สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
หนอนตาย เพราะ ปรับตัวไม่ทัน เมื่อพบกับชีวภัณฑ์ แบคทีเรียสองสายพันธุ์ Kustaki และ Aizawai ออกฤทธิ์ทำลายหนอนพร้อมกัน ทำให้ตายใน 24-48 ชั่วโมง ตายช้ากว่ายาเคมี แต่ตายยกรัง เนื่องจากหนอนที่รับ บีที เข้าไป กลับไปตายรัง และพวกเดียวกันกินกินซาก จึงตายต่อกัน เนื่องจาก บีที เป็น ชีวภัณฑ์ ที่ขยายตัวตกผลึกในท้องหนอน และออกฤทธิ์เฉพาะกับหนอนเท่านั้น

หนอนชอนใบ เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืน มีขนาดเล็กมาก ลำตัวสีหม่น ปีกขาวนวล เพศเมียจะวางไข่หลังผสมพันธุ์ใน 24 ชั่วโมง ที่เส้นใต้ใบพืช ในเวลาไม่เกิน 3 วัน หลังจากฟักออก จะเป็นตัวหนอน กัดกิน ชอนไชอยู่ระหว่างผิวใบพืช รอยการทำลายจะอยู่ด้านใต้ใบ มากกว่าด้านบนใบ สังเกตุได้ง่าย จะเห็นใบพืช เป็นลาย เป็นเส้นทางคดเคี้ยวไปมา

หากระบาดมาก หนอนจะเจาะเข้าทำลายกิ่งอ่อน และผลอ่อนของพืชด้วย

กำจัดหนอน ด้วย ไอกี้-บีที ปลอดภัยแน่นอน เพราะ บีที ไม่ออกฤทธิ์ กับ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม คนและสัตว์เลี้ยง จึงปลอดภัย 100%

#ยาฆ่าหนอน #ยากำจัดหนอน #หนอนเจาะสมอฝ้าย #ยาอินทรีย์ฆ่าหนอน #ยาอินทรีย์กำจัดหนอน #ยาฆ่าหนอนชอนใบ #หนอนชอนใบ #หนอนชอนใบส้ม #หนอนชอนใบมะนาว

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอกี้-บีที และ FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอกี้-บีที อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอกี้-บีที และ FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอกี้-บีที อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..


ข้อมูลและอัตราผสมใช้

🐛 ไอกี้-บีที อัตตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 1ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอกี้-บีที ได้เลย

🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🐛 ข้อมูลจำเพาะ ไอกี้-บีที

ใช้แก้ปัญหา : โรคหนอนกออ้อย หนอนกอในนาข้าว หนอนห่อใบข้าว หนอนม้วนใบ หนอนทรายในสวนยางพารา หนอนชักใยปาล์มน้ำมัน หนอนปลอกใหญ่ หนอนเจาะฝักข้าวโพด หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด

ประกอบด้วยจุลินทรีย์สายพันธ์ บีที (BT) ที่มีประสิทธิภาพสูง คือ Bacillus thuringiensis var. aizawai และ Bacillus thuringi
ฆ่าหนอน กำจัดหนอน ปลอดสารพิษ

ไอกี้-บีที บีที
ชื่อสามัญ : บาซิลลัส ทูริงเยนซิส [ Bacillus truringiensis ] กลุ่มสารเคมี : Bacterium
สารสำคัญ : Bacillus thuringiensis var. kurstaki

นำหนักสุทธิ : 500 กรัม

ฆ่าหนอน กำจัดหนอนแมลงศัตรูพืชด้วยสารชีวินทรีย์ประสิทธิภาพสูง เอนไซม์สกัด บีที เพิ่มศักยภาพในการกำจัดแมลงศัตรูพืชให้กับเกษตรกร โดยการรวมประสิทธิภาพการกำจัดแมลงของเชื้อ Bacillus thuringiensis 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ Kustaki และ Aizawai เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อเพิ่มการปลดปล่อยสารพิษในการทำลายแมลงศัตรูพืช ด้วยการสร้างสารพิษผลึกโปรตีน delta-endotoxins ที่มีอยู่ในเชื้อ Bacillus thuringiensis เมื่อแมลงศัตรูพืชได้รับสารพิษนี้เข้าไป จะทำให้เกิดพิษในกระเพาะอาหารเป็นอัมพาต ลำตัวเหี่ยวแห้ง และตายภายในเวลา 24-48 ชั่วโมง โดยไม่เป็นอันตราต่อสิ่งแวดล้อม แมลงศัตูธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ รวมทั้งปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
หนอนคอรวงข้าว หากปีที่แล้วเคยระบาด ปีนี้ป้องกันไว้ดีกว่าแก้
หนอนคอรวงข้าว หากปีที่แล้วเคยระบาด ปีนี้ป้องกันไว้ดีกว่าแก้
หนอนกระทู้คอรวง Mythimna separata (Walker) ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อกลางคืน ปีกคู่หน้าสีน้ำตาลอ่อน แทรกสีน้ำตาลแดง ปีกกว้างประมาณ 4.5-5 เซนติเมตร วางไข่เป็นกลุ่มตามกาบใบและลำต้นหรือฐานของใบที่ม้วน ไข่ไม่มีขนปกคลุม วางไข่เป็นกลุ่มๆละประมาณ 100 ฟอง ระยะไข่นาน 6-8 วัน หนอนที่ฟักออกใหม่กัดกินใบหญ้าอ่อนจนอายุประมาณ 15 วัน จึงเริ่มกัดกินใบและรวงข้าว ระยะหนอนประมาณ 25-30 วัน หนอนมีขนาดค่อนข้างใหญ่กว้างประมาณ 3.5-4 มิลลิเมตร ยาวประมาณ 2.8 มิลลิเมตร ลำตัวสีน้ำตาลอ่อน หนอนเข้าดักแด้ที่โคนกอข้าวหรือตามรอแตกของดิน ดักแด้มีสีน้ำตาลแดง ระยะดักแด้ 10-12 วัน

หนอนกระทู้คอรวง(rice ear-cutting caterpillar)

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mythimna separata (Walker)
วงศ์ : Noctuidae
อันดับ : Lepidoptera
ชื่อสามัญอื่น :หนอนกระทู้ควายพระอินทร์

ลักษณะการทำลายของ หนอนกระทู้คอรวงข้าว

หนอนกระทู้คอรวงชอบกัดกินส่วนคอรวงหรือระแง้ของรวงข้าวที่กำลังจะ สุก(rippening stage) ทำให้คอรวงขาด สามารถทำลายรวงข้าวได้มาถึง 80% โดยลักษณะการทำลายคล้ายหนอนกระทู้กล้า มักเข้าทำลายต้นข้าวช่วงกลางคืนหรือตอนพลบค่ำถึงเช้าตรู่ กลางวันอาศัยตามใบหรือโคนต้นข้าวหรือวัชพืชตระกูลหญ้า หนอนจะกัดกินต้นข้าวทุกวันจนกระทั่งเข้าดักแด้ พบระบาดมากหลังน้ำท่วมหรือฝนตกหนักหลังผ่านช่วงแล้งที่ยาวนานแล้วตามด้วยฝน ตกหนัก การทำลายจะเสียหายรุนแรง จนชาวนาเรียกกันว่า “ หนอนกระทู้ควายพระอินทร์”

การป้องกันกำจัดหนอนกระทู้

1. กำจัดวัชพืชรอบๆ แปลงนา

2. ฉีดพ่น ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ ปลอดสารพิษ สำหรับป้องกันกำจัดหนอนต่างๆ ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน

3. ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี
[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

# http://farmkaset..link..
อ่าน:3483
ชมพู่แดง ชมพู่ทับทิมจันทร์ เร่งโต เพิ่มผลผลิต ป้องกันโรค และแมลง และหนอน
ชมพู่แดง ชมพู่ทับทิมจันทร์ เร่งโต เพิ่มผลผลิต ป้องกันโรค และแมลง และหนอน
ป้องกันกำจัดหนอนในชมพู่ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร

ป้องกันกำจัดโรคชุมพู่​ โรคใบไหม้ โรคราสนิม และโรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร

แมลง เพลี้ย รบกวน เข้าทำลายชมพู่ ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร

ส่งเสริมการเจริญเติบโต และผลผลิตของชมพู ฉีดพ่น FK-1 [FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]
อ่าน:3542
เงาะ การป้องกันกำจัดหนอนเงาะ และป้องกันราแป้ง กำจัดเพลี้ย ในเงาะ
เงาะ การป้องกันกำจัดหนอนเงาะ และป้องกันราแป้ง กำจัดเพลี้ย ในเงาะ
ช่วงแตกใบอ่อน

หนอนคืบกินใบเงาะ จะเข้าทำลายใบเงาะได้ง่าย ในช่วงแตกใบอ่อน ป้องกันได้โดยการ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที สารชีวภาพ หรือสารชีวินทรีย์ สำหรับป้องกันกำจัดหนอน สามารถกำจัดหนอนได้หลายชนิด

ช่วงออกดอกและติดผล

หมั่นเฝ้าระวัง ราแป้ง อาการขอบใบแห้ง ราสนิม ต้นที่เริ่มพบให้ใช้กำมะถันผงฉีดพ่นในช่วงเช้าหรือเย็น หากยังคงระบาดลุกลาม ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 3-7 วัน หากพบว่า ใช้เกิน 3-4 ครั้งแล้ว ยังลุกลามต่อเนื่อง ควรหายาอื่นมาสลับ เพื่อป้องกันการดื้อยาของโรค

เพลี้ยต่างๆที่เข้าทำลายเงาะ

ป้องกันกำจัดเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ ป้องกันและกำจัดเพลี้ย ปลอดภัย ฉีดพ่นในอัตรส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 3-5 วัน ต่อเนื่อง 2-4 ครั้ง ตามความรุนแรงของการระบาด หากจำเป็นต้องใช้เป็นเวลานาน ควรสลับยา เพื่อป้องกันเพลี้ยดื้อยา
อ่าน:3621
หนอนแมคคาเดเมีย ป้องกันกำจัดหนอน แมคคาเดเมีย ด้วยสาวชีวินทรีย์ ไอกี้-บีที ปลอดสารพิษ
หนอนแมคคาเดเมีย ป้องกันกำจัดหนอน แมคคาเดเมีย ด้วยสาวชีวินทรีย์ ไอกี้-บีที ปลอดสารพิษ
หนอนกาแฟสีแดง (red coffee borer: zeuzeracoffeaenietner)

การทำลายมะคาเดเมียของหนอนกาแฟสีแดงมีน้อยมาก พบการทำลายเฉพาะในกิ่งขนาดเล็ก และเป็นกิ่งปลายๆ เท่านั้น โดยกิ่งส่วนที่อยู่เหนือรูเจาะทำลายขึ้นไปจะแห้งตาย เป็นสีน้ำตาล ส่วนลำต้นของแมคคาเดเมียไม่พบการทำลายของหนอนชนิดนี้ การป้องกันกำจัดโดยตัดแต่งกิ่งที่ถูกทำลายออกเผาทิ้ง เพื่อทำลายตัวหนอนที่ยังอยู่ภายใน และป้องกันการขยายพันธุ์ต่อไป

หนอนเจาะลำต้นกาแฟ (xylotrechusquedripeschev.)

ตัวเต็มวัยเป็นด้วงหนวดยาว ซึ่งวางไข่ที่เปลือกของลำต้นระดับคอดิน หนอนระยะแรกแทะกินอยู่ใต้เปลือกลำต้น เมื่อมีขนาดใหญ่ขึ้น จะเจาะเข้าไปภายในลำต้น การป้องกันโดยการใช้ฟางหรือหญ้าแห้งคลุมรอบโคนต้น จะป้องกันได้ดีกว่าการใช้สารฆ่าแมลง

หนอนเจาะผล (nut boror)

ตัวเต็มวัยวางไข่ที่เปลือกผลบริเวณแนวรอยแตกตามยาวของเปลือก และบริเวณรอบๆ ขั้วผล เมื่อเป็นระยะตัวหนอน จะทำลายเนื้อในภายในกะลา แต่ทำลายเพียงเล็กน้อย โดยชอนเข้าไปอยู่ภายในเปลือก ซึ่งอาจเป็นสาเหตุให้ผลอ่อนร่วง และทำให้คุณภาพเนื้อในลดลง การสำรวจชนิดของหนอนเจาะผลและการเข้าทำลายในสภาพบนที่สูง พบว่า มีหนอน 2 ชนิด ซึ่งยังไม่ทราบชื่อแน่นอน ชนิดแรกมีขนาด 0.5x1.5 เซนติเมตร ชนิดที่ 2 ขนาด 0.15x1.0 เซนติเมตร ทั้ง 2 ชนิด เริ่มเข้าทำลายผล ตั้งแต่ผลมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.3-3.4 เซนติเมตร ไปจนถึงระยะเก็บเกี่ยว แต่ยังมีการระบาด และทำความเสียหายเพียงเล็กน้อย ไม่รุนแรง

Reference
Main content from: sites.google.com/site /extension5701222068/
อ่าน:3504
หนอนหมากเม่า การป้องกันกำจัดหนอนหมากเม่า ตัดแต่งกิ่งให้โปร่ง และใช้ยาชีวินทรีย์ปลอดภัย เพื่อป้องกันกำจัดหนอน
หนอนหมากเม่า การป้องกันกำจัดหนอนหมากเม่า ตัดแต่งกิ่งให้โปร่ง และใช้ยาชีวินทรีย์ปลอดภัย เพื่อป้องกันกำจัดหนอน
🐛หนอนเจาะลำต้นและกิ่งหมากเม่า

ลักษณะของตัวหนอนเมื่อแก่เต็มวัย ลำตัวมีสีชมพูแดงยาวประมาณ 2 ซ.ม.มีขนสีแดงขึ้นตามลำตัว ลำตัวมี 9 ปล้อง ส่วนหัวและก้นมีสีเหลืองคาดดำ

ปากมีสีแดง โดยจะเริ่มจากการวางไข่ของตัวหนอนแก่เต็มวัย บริเวณเปลือกของต้นหมากเม่าที่ขรุขระ เมื่อฟักเป็นตัว ตัวหนอนจะเจาะกินเปลือกเข้าไปในลำต้น

และทำลายไร้ทิดทาง ส่งผลให้ท่อน้ำท่ออาหารขาด ต้นหมากเม่าจะแสดงอาการเหี่ยวและใบเหลืองแห้งตายกะทันหัน ลำต้นจะหักพับลง หนอนชนิดนี้ระบาด

ได้ตลอดปี โดยเฉพาะในฤดูแล้งหลังจากหมดฤดูฝน

🐛หนอนเจาะเปลือกต้นหมากเม่า

ลักษณะของตัวหนอน ลำตัวเป็นปล้องๆยาว 3- 6 เซนติเมตร มีสีเหลืองอ่อนหัวมีขนาดใหญ่กว่าลำตัว ปากและก้นมีสีดำ ตัวหนอนจะกัดกินเนื้อเยื่ออ่อนๆ

และไชกัดกินเนื้อไม้ท่อน้ำท่ออาหารแบบชนิดไร้ทิศทาง จะสังเกตเห็นได้ง่ายคือ สิ่งขับถ่ายออกมาเป็นก้อนๆคล้ายขี้เลื่อยตกอยู่ตามพื้นดิน

การป้องกันกำจัด

1.ตัดแต่งกิ่งให้โปร่งอยู่เสมอ ให้แสงแดดส่องถึงโคนต้น

2.ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ ปลอดภัย เพื่อป้องกันกำจัดหนอน


reference:
sites.google.com/site/ wrrnwngsfrutwin/ 7-satru-khxng-hmak-mea
you-health.net
อ่าน:3524
หนอนชอนใบ หนอนกินใบ หนอนที่พบในไม้ดอกไม้ประดับ ป้องกันกำจัดหนอน ฆ่าหนอน ด้วย ไอกี้-บีที
หนอนชอนใบ หนอนกินใบ หนอนที่พบในไม้ดอกไม้ประดับ ป้องกันกำจัดหนอน ฆ่าหนอน ด้วย ไอกี้-บีที
ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอน ใช้ได้ในที่พักอาศัย ปลอดภัย ไม่มีอันตราย

ปลอดสารพิษ ไอกี้-บีที เป็นแบคทีเรียแกรมบวก ที่ออกฤทธิ์ทำลายหนอน และออกฤทธิ์เฉพาะกับหนอนเท่านั้น

ไม่เป็นอันตรายใดๆกับผู้ใช้ ไม่อันตรายต่อผู้บริโภค ในกรณีที่เป็นพืชผักผลไม้ สามารถฉีดพ่น และเก็บมาล้างรับประทานได้เลย ไม่มีสารตกค้างอันตราย

ไม่เป็นอันตรายต่อสัตว์เลี้ยงอื่นๆ (ยกเว้นแต่สัตว์เลี้ยงของคุณจะเป็นหนอน ซึ่งโดยทั่วๆไปแล้วไม่พบว่าใครเลี้ยงหนอนเป็นสัตว์เลี้ยง)
อ่าน:3446
หนอนผีเสือเจาะผลมะม่วง หนอนเจาะผลมะม่วง หนอนมะม่วง ป้องกันกำจัดด้วย ไอกี้-บีที
หนอนผีเสือเจาะผลมะม่วง หนอนเจาะผลมะม่วง หนอนมะม่วง ป้องกันกำจัดด้วย ไอกี้-บีที
หมั่นสำรวจสวนและเฝ้าระวังการระบาดของหนอนผีเสื้อเจาะผลมะม่วง

ตัวเต็มวัยเป็นผีเสื้อสีน้ำตาลเข้ม ไม่มีลายบนปีก ลำตัวยาวประมาณ 1.2 ซม. เมื่อกางปีก ปีกกว้างประมาณ 2.5 ซม.จะวางไข่เป็นฟองเดี่ยว ๆ ที่ขั้วผลมะม่วง

หลังจากนั้นจะฟักเป็นตัวหนอน ตัวหนอนมีสีแดงสลับขาวพาดตามขวางของลำตัว ตัวหนอนจะเจาะผลมะม่วงบริเวณก้นผลเข้าไปอาศัยและกัดกินอยู่ภายในผลและเจาะเข้าไปจนถึงเมล็ดอ่อนของมะม่วง และขับมูลออกทางรูที่เจาะเข้าไป

ผลที่ถูกทำลายจะมีขี้ขุยออกมาบริเวณเปลือกของผล ภายในผลที่ถูกทำลายจะพบหนอน 5-10 ตัวต่อผล เมื่อผ่าผลมะม่วงดูจะพบรอยทำลายเป็นทางยาวเข้าเมล็ด ทำให้ผลเน่าเสียและร่วงหล่น อาจพบผลร่วงตั้งแต่ขณะยังเป็นผลเล็ก แต่ในบางครั้งจะไม่ร่วงเพราะระหว่างผลและก้นขั้วผลมีใยถักยึดไว้ตั้งแต่เมื่อหนอนเริ่มฟักออกจากไข่ พบการทำลายทั้งผลเล็กและเริ่มแก่

วิธีการป้องกันกำจัดหนอนผีเสื้อเจาะผลมะม่วง

1. การป้องกันจะให้ผลดีกว่าการกำจัดเพราะตัวหนอนกัดกินอยู่ภายในผล การพ่นยา ไอกี้-บีที ควรพ่นขณะที่มะม่วงยังติดผลอ่อนอยู่ ซึ่งจะเป็นวิธีป้องกันผีเสื้อวางไข่

2. ฉีดพ่น ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ ป้องกันและกำจัดหนอน ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน หมั่นสั่งเกตุอาการ ควรหายาอื่นๆ มาสลับใช้ หากจำเป็นต้องใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานาน เพื่อป้องกันการดื้อยา

3. เก็บผลมะม่วงที่ถูกหนอนทำลายที่ติดอยู่บนต้น และที่หล่นมาเผาหรือฝังทำลาย

4. การห่อผลมะม่วงตั้งแต่ขนาดผลอ่อนจะช่วยป้องกันไม่ให้ผีเสื้อมาวางไข่

5. ใช้ FK-1 ฉีดพ่น เพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูพืช จากการเข้าทำลายของโรค หรือสามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ การใช้ ไอกี้-บีที เพื่อป้องกันกำจัดหนอนได้ในครั้งเดียวกัน

Reference: main content from samutprakan.doae.go.th
อ่าน:3622
เมล่อนโคนเน่า ราน้ำค้างเมล่อน ราแป้ง เพลี้ยไฟเมล่อน ฉีดพ่นด้วย ยาอินทรีย์ ไอเอส มาคา และ ไอกี้-บีที เร่งฟื้นฟูด้วย FK-1
เมล่อนโคนเน่า ราน้ำค้างเมล่อน ราแป้ง เพลี้ยไฟเมล่อน ฉีดพ่นด้วย ยาอินทรีย์ ไอเอส มาคา และ ไอกี้-บีที เร่งฟื้นฟูด้วย FK-1
โรคราน้ำค้างเมล่อน (Downy Mildew) เกิดจากเชื้อ Pseudoperonospora cubensis (Berkeley & Curtis) Roslowzew
อาการของโรค ราน้ำค้างในเมล่อน จะเกิดจุดสีน้ำตาล หรืออาจจะเป็นสีเหลือง เป็นจุดเล็กๆ และค่อยขยายใหญ่ขึ้น ขอบใบจะค่อยๆม้วนและร่วง

โรคเหี่ยว ในเมล่อน เกิดจากเชื้อรา Fusarium oxysporum f.sq. melonis ใบเมล่อนเหี่ยว เป็นสีเหลืองจากยอดลงมา ซอกใบเน่า โคนเน่า และตายในที่สุด

โรคราแป้งในเมล่อน เกิดจากเชื้อรา Erysiphe cichoracearum De candolle Sphaerotheca fuliginea อาการที่สังเกตุได้ จะเป็นจุดเหลืองที่ยอดอ่อน ลำต้น และจุดเหลืองจะใหญ่ขึ้น ส่งผลให้ใบแห้งตาย

เมล่อนต้นแตก เมล่อนยางไหล เกิดจากเชื้อรา Mycosphaerella melonis จะเกิดจุดวงกลมสีน้ำตาล หรือสีดำ จากขอบใบและขยายสู่กลางใบ จนทำให้ใบร่วง

โรคเมล่อนต่างๆ ทีมีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่นด้วย ไอเอส เพื่อยังยั้งการระบาดของเชื้อรา ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อเร่งฟื้นตัว จากการเข้าทำลายของโรค และกลับมาเจริญเติบโตได้เป็นอย่างดี

แมลหวีขาว เป็นพาหะนำโรคมาติดสู่เมล่อนในแปลงของเรา เป็นแมลงศัตรูพืชที่ต้องกำจัด

เพลี้ยไฟเมล่อน สามารถระบาดแพร่กระจายตัวได้อย่างรวดเร็ว การพัดของกระแสลม ทำให้เพลี้ยระบาดไปได้ในพื้นที่กว้าง เพลี้ยไฟจะเข้าทำลายโดยการดูดน้ำเลี้ยง ทำให้ผลเมล่อนแคระ ไม่โต ต้นเมล่อนอ่อนแอ แห้งตายได้

ฉีดพ่นด้วย มาคา เพื่อกำจัดเพลี้ย และแมลงหวีขาว ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อเร่งฟื้นตัว จากการเข้าทำลายของแมลง

แมลงวันทอง จะเจาเข้าไปในผลเมล่อน เพื่อวางไข่ เป็นการเข้าทำลายเมล่อนโดยตรง

กำจัดหนอนต่างๆในเมล่อน ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ป้องกันกำจัดหนอน ผสมด้วย FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน

ยาอินทรีย์ป้องกันและกำจัดโรค แนะนำ สำหรับ เมล่อน

ยาป้องกันและยับยั้ง โรคใบไหม้ โรคเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ เพลี้ยกระโดด และเพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ยาป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิต เร่งให้พืชให้ฟื้นตัว จากการเข้าทำลาย ของโรคและแมลงศัตรูพืช ใช้ FK-1

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3483
101 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 10 หน้า, หน้าที่ 11 มี 1 รายการ
|-Page 10 of 11-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
โรคแตงโมเถาเหี่ยว โรคราน้ำค้างแตงโม เพลี้ยไฟแตงโม
Update: 2564/05/27 11:38:29 - Views: 3510
ผสมปุ๋ยสำหรับอ้อยตอ สูตร 15-5-20 ใช้เอง ลดต้นทุน เร่งอ้อยโตให้โตไวผลผลิตดี
Update: 2566/01/30 07:27:06 - Views: 3675
รู้หรือยัง! การขอ อย. ขั้นตอนและหลักฐานที่สำคัญ
Update: 2565/11/17 14:55:17 - Views: 3408
ป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ในต้นยางพารา (โรคใบไหม้อเมริกาใต้)
Update: 2566/01/10 07:25:03 - Views: 3437
การป้องกันกำจัดเพลี้ยทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน ควบคุมเพี้ยไก่แจ้ ด้วยศัตรูธรรมชาติ กระตุ้นใบอ่อนลดเวลาการทำลาย ใช้ ยาฆ่าเพลี้ยอินทรีย์
Update: 2564/02/27 23:36:16 - Views: 3551
ป้องกัน กำจัด เพลี้ยอ่อนข้าวโพด เพลี้ยต่างๆ และ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ใช้ได้กับพืชทุกชนิด (1ลิตร ผสมน้ำได้ 400ลิตร)
Update: 2564/08/14 03:08:43 - Views: 3403
กำจัดโรคราสีชมพู โรคที่เกิดจากเชื้อรา ศัตรูพืชในทุเรียน ไอเอส และ FK-T ธรรมชาตินิยม ฟื้นฟูจากการทำลายของเชื้อรา
Update: 2566/05/26 11:27:48 - Views: 3426
การดูแลมะม่วงตลอดปี ให้โตไว สมบูรณ์แข็งแรง ได้ผลผลิตสูงขึ้น
Update: 2567/11/08 09:36:05 - Views: 70
กำจัดเพลี้ย ใน แคนตาลูป เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/10 14:02:20 - Views: 3394
โรคเชื้อราในฟักทอง คู่มือป้องกันและกำจัดโรคฟักทอง
Update: 2566/04/30 10:04:18 - Views: 3642
องุ่น รากเน่า ใบไหม้ ผลเน่า ใบจุด กำจัดโรคองุ่น จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
Update: 2565/10/28 10:08:56 - Views: 3474
หนอนคืบ กินใบลำไย(Leaf eating looper) ระบาดในหลายพื้นที่
Update: 2564/08/15 03:05:42 - Views: 3657
หนอนกระทู้หอม หอมเลื้อย โรคหอมรากเน่า หอมใบจุด ใบด่าง เพลี้ยหอม ดูยาให้ถูกกับโรค แก้ได้..
Update: 2563/02/17 11:25:43 - Views: 3438
บำรุงต้นมะเขือเทศ เพิ่มผลผลิตด้วย ปุ๋ยฮิวมิค ตรา ฟาร์มิค
Update: 2567/03/12 13:45:01 - Views: 3421
โรคราน้ำค้างคะน้า คะน้าใบไหม้ คะน้าใบจุดสีน้ำตาล โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/09/13 03:06:19 - Views: 3423
การดูแลมะพร้าวให้โตไว สมบูรณ์ และมีผลผลิตดีด้วยฮิวมิคFK และปุ๋ยทางใบ FK-1
Update: 2567/11/11 09:54:59 - Views: 56
การใช้สารอินทรีย์ และ ธาตุอาหารพืช เพื่อต่อสู้และป้องกัน โรคข้าวใบไหม้ อย่างได้ผล
Update: 2566/01/07 12:37:38 - Views: 3409
ปุ๋ยข้าวโพด FK-1 และ FK-3 ฉีดพ่นข้าวโพด ส่งเสริมการเจริญเติบโต ได้ผลผลิตมากขึ้น ด้วยธาตุอาหารที่จำเป็นดังนี้
Update: 2565/12/13 07:48:35 - Views: 3421
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น มะนาว ผลใหญ่ ดกเต็มต้น น้ำหนักดี ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/02/28 14:11:39 - Views: 3461
หนอนชอนใบ แตงกวา แตงโม เมล่อน หนอนต่างๆ กำจัดด้วย ไอกี้-บีที
Update: 2562/08/15 09:06:28 - Views: 3565
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022