[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - ทุเรียน
420 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 42 หน้า, หน้าที่ 43 มี 0 รายการ

🎗การรักษาโรคพืชจากเชื้อรา ที่ถูกวิธี คือใช้ยายับยั้งไม่ให้ลุกลาม และบำรุงให้ฟื้นตัวแข็งแรงต้านทานต่อโรคไม่ให้เป็นซ้ำ
🎗การรักษาโรคพืชจากเชื้อรา ที่ถูกวิธี คือใช้ยายับยั้งไม่ให้ลุกลาม และบำรุงให้ฟื้นตัวแข็งแรงต้านทานต่อโรคไม่ให้เป็นซ้ำ
🎗การรักษาโรคพืชจากเชื้อรา ที่ถูกวิธี คือใช้ยายับยั้งไม่ให้ลุกลาม และบำรุงให้ฟื้นตัวแข็งแรงต้านทานต่อโรคไม่ให้เป็นซ้ำ
โรคพืชที่มีสาเหตุจะเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ โรคใบติดทุเรียน ใบจุดสีน้ำตาล ใบจุดสนิม ราสนิม ใบขีดสีน้ำตาล ราน้ำค้าง รากเน่า โคนเน่า กิ่งแห้ง เหล่านี้ เป็นต้น

โรคเชื้อราต่างๆนั้น ระบาดลุกลามได้ ติดต่อกันในบริเวณใกล้เคียง สามารถติดข้ามพืชได้ พืชต้นที่แข็งแรง จะต้านทานต่อโรคสูงกว่าพืชต้นที่อ่อนแอ บางครั้งอยู่บริเวณเดียวกัน แต่มีบางต้นติดโรค บางต้นก็ไม่ติด เนื่องจากมีภูมิต้านทานสูงกว่า การติดโรครานั้น เมื่อรักษาหาย หยุดระบาดแล้ว สักพัก อาจจะติดเป็นซ้ำได้ เนื่องจาก โรคจากเชื้อรานั้น ปลิวไปกับอากาศ ลม ฝน และแมลงพาหะ สามารถติดจากแปลงปลูกหนึ่ง ไปอีกแปลงหนึ่ง ที่อยู่ห่างกันได้หลายกิโลเมตร

การรักษาโรคเชื้อรา จึงต้องใช้ยาระงับการลุกลาม ระงับการระบาด พร้อมกับการให้ปุ๋ยธาตุหลัก และที่สำคัญธาตุรอง ธาตุเสริม เพื่อให้พืชฟื้นตัว จากการเข้าทำลายของโรคได้ดีขึ้น รวมถึงส่งเสริมการเจริญเติบโต สร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง และเมื่อพืชแข็งแรง ก็จะมีภูมิต้านทานต่อโรคได้สูงขึ้น

1.ฉีดพ่น ไอเอส เพื่อยับยั้งการลุกลามของโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

2.ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงฟื้นฟู เสริมสร้างการเจริญเติบโต ดังกฎต่ำสุดด่านล่าง

กฎต่ำสุด "Law of the minimum"

พืชจะถูกจำกัดการเจริญเติบโต ด้วยธาตุอาหารที่มีอยู่น้อยที่สุด

หากขาดธาตุอาหารที่จำเป็นอย่างใดอย่างหนึ่ง การเจริญเติบโตของพืชก็จะไม่ดี แม้ว่าจะมีธาตุอาหารที่จำเป็นอื่นๆ มากมาย เป็นคำอธิบายของ Law of the minimum ของ Liebig ต้อนฉบับของประโยคข้างต้นเขียนไว้ว่า "If one of the essential plant nutrients is deficient_ plant growth will be poor even when all other essential nutrients are abundant."

บันทึกใน WikiPedia http://www.farmkaset..link..
จึงเป็นคำตอบของปัญหา ที่เกษตรกรพบในการเพาะปลูก โดยเฉพาะการปลูกพืชซ้ำๆ ในแปลงปลูกขนาดใหญ่ เช่น ไร่อ้อย ไร่ข้าวโพด ไร่มันสำปะหลัง

ทั้งที่ใส่ปุ๋ยมาก แต่พืชก็ตอบสนองไม่ดี ไม่โตไวเหมือนปีก่อนๆ สาเหตุเป็นเพราะว่า เกษตรกรใสสัดส่วนจำนวนมาก ให้อาหารพืชโดยการใส่ปุ๋ยเฉพาะ N-P-K หรือ ไนโตเจน-ฟอสฟอรัส-โพแทสเซียม ให้ซ้ำๆในทุกๆปี เช่น ปุ๋ยสูตร 13-13-21 ก็จะประกอบไปด้วย ไนโตรเจน 13 เปอร์เซนต์ ฟอสฟอรัส 13 เปอร์เซนต์ โพแตสเซียม 21 เปอร์เซนต์ และเปลี่ยนไปปุ๋ยสูตรอื่นๆ ก็เพียงแค่ เพิ่มลดสัดส่วน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแตสเซียม ในการให้ปุ๋ยแต่ละครั้ง ถึงแม้ว่าสามธาตุนี้ เป็นธาตุอาหารพืช ที่จำเป็นมากที่สุด ต่อการเจริญเติบโต สร้างระบบราก และเพิ่มผลผลิตพืช แต่ธาตุอาหารอื่นๆ ถึงแม้พืชจะต้องการน้อย แต่เราไม่เคยเติม หรือไม่เคยให้พืชเลย พืชก็จะไม่สามารถนำ 3 ธาตุหลัก ไปใช้ได้อย่างเต็มที่

ยกตัวอย่างเช่น

- พืชขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- พืชขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- พืชขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

จะเห็นได้ชัดเจนแล้วว่า ธาตุอาหารพืชต่างๆนั้น ทำงานสอดคล้อง สนับสนุนกัน หากเราไม่เติมธาตุที่ขาด ใส่เฉพาะ N-P-K ไปมากๆ ก็ได้ประโยชน์น้อย เป็นการเปลืองต้นทุนโดยไม่ได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่

🍂 ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🌿 ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี [FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..
🍂ข้อมูล ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค
*การใช้ ไอเอส ในช่วงรักษาโรคพืชจากเชื้อรา กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿เกี่ยวกับ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig's law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น

🎖คลิกลิงค์เพื่อสั่งซื้อผ่านหน้าเว็บ http://www.farmkaset..link..

อ้างอิงข้อมูล

Wiki pedia : http://www.farmkaset..link..
Website: http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3027
🎗โรคใบติด ระวัง โรคใบติดทุเรียน โรคทุเรียนกิ่งแห้ง ระบาดมากใน สวนทุเรียนภาคใต้ และสวนทุเรียนภาคตะวันออก
🎗โรคใบติด ระวัง โรคใบติดทุเรียน โรคทุเรียนกิ่งแห้ง ระบาดมากใน สวนทุเรียนภาคใต้ และสวนทุเรียนภาคตะวันออก
🎗โรคใบติด ระวัง โรคใบติดทุเรียน โรคทุเรียนกิ่งแห้ง ระบาดมากใน สวนทุเรียนภาคใต้ และสวนทุเรียนภาคตะวันออก
ทุเรียนใบติด เป็นอาการของ โรคทุเรียนใบไหม้ มีสาเหตุจากเชื้อรา Rhizoctonia sp. (ไรซ็อกโทเนีย) ซึ่งเจริญได้ดีในช่วงฝนสลับร้อน อากาศร้อนชื้น พบมากในระยะทุเรียนแตกใบอ่อน

โรคใบติดทุเรียน อาการเริ่มแรก พบแผลคล้ายน้ำร้อนลวกบนใบทุเรียน จากนั้นแผลเริ่มขยายตัวเป็นสีน้ำตาล และลุกลามใบยังใบปกติข้างเคียง โดยเฉพาะใบที่อยู่ด้านล่าง แท้จริงแล้วคือโรคใบไหม้ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา คล้ายพืชอื่น แต่สำหรับในทุเรียนนั้น จะมีเส้นใยคล้ายใยแมงมุม ยึดใบทุเรียนให้ติดกัน ใบทุเรียนจะแห้งไปเรื่อยๆ จนวันหนึ่งหลุดร่วงไปโดนใบล่าง ทำให้การระบาดจะลุกลาม เป็นหย่อม ขยายออกไป หนักเข้า ใบทุเรียนจะแห้งติดกันเป็นกระจุกตามกิ่งต่างๆ ส่งผลให้ทุเรียนกิ่งแห้งในที่สุด

ในแปลงทุเรียนที่มีความชื้นสูง และมีการระบาดของโรคใบติด เป็นประจำ หลีกเลี่ยงการใช้ปุ๋ยเชิงเดี่ยวที่มีไนโตรเจนสูง เพื่อลดการแตกใบที่มากเกินไป ไม่สมดุล เกษตรกรควรตัดแต่งทรงพุ่มทุเรียน ให้โปร่ง กำจัดวัชพืช ทำให้อาการถ่ายเทสะดวก แสงแดดส่องถึง จะช่วงลดความชื้น และระงับการเจริญของเชื้อรา

🍂 ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน

🌿 ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี [FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..
🎖คลิกลิงค์เพื่อสั่งซื้อผ่านหน้าเว็บ http://www.farmkaset..link..
🍂ข้อมูล ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค

🌿ข้อมูล FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig's law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม [Ca] (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม [Mg] (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี [Zn] (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น

อ่าน:3161
โรคราแป้งทุเรียน (Powdery Mildew)
โรคราแป้งทุเรียน (Powdery Mildew)
โรคราแป้งทุเรียน (Powdery Mildew)
โรคราแป้งทุเรียน มีสาเหตุจาก เชื้อราออยเดียม (Oidium sp.) อาการที่ปรากฎ จะพบกลุ่มของเชื้อราสีขาวมีลักษณะคล้ายฝุ่นแป้งปกคลุมผิวเปลือกทุเรียน

โรคราแป้งทุเรียน จะทำลายผลทุเรียนได้ตั้งแต่ระยะติดผลอ่อน ไปตลอดจนผลแก่ หากเข้าทำลายในช่วงติดผลใหม่ จะทำให้ผลร่วงได้ หากเป็นที่ผลโต ผิวทุเรียนจะผิดปกติ ไม่สวย ไม่น่าซื้อ ราคาตกต่ำ

🎯การป้องกันกำจัด

💦ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เพื่อระงับการลุกลาระบาดของโรค

💦ฉีดพ่น FK ธรรมชาตินิยม ในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร เพื่อฟื้นฟู เสริมสร้างเนื้อเยื่อ และการแตกยอดใบ

💦สามารถผสมฉีดพ่นไปได้พร้อมกัน


🍂ข้อมูล ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค

🎗คุณประโยชน์
- ป้องกันการเข้าทำลายของเชื้อรา สาเหตุโรคในพืชต่างๆ
- ลดการแพร่กระจายของเชื้อราที่เกิดกับพืช
- ป้องกันการลุกลามของแผลที่เกิดจากการเข้าทำลายของเชื้อรา
- มีความต้านทานโรคเพิ่มขึ้น เมื่อใช้เป็นประจำ

🌿ข้อมูล FK ธรรมชาตินิยม

ประกอบด้วยแร่ธาตุ อาหารพืช ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโต การแตกยอด แตกใบ การเสริมสร้าง และซ่อมแซมเนื้อเยื่อ ช่วยให้พืชเจริญเติบโตดี มีความสมบูรณ์ แข็งแรง มีภูมิต้านทานต่อโรคได้ดีขึ้น

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3095
โรครา โรคใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ราน้ำค้าง ไฟทอปธอร่า บวกด้วย ฟึ้นฟู ให้แตกยอด แตกใบใหม่
โรครา โรคใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ราน้ำค้าง ไฟทอปธอร่า บวกด้วย ฟึ้นฟู ให้แตกยอด แตกใบใหม่
แก้ปัญหาโรคพืช ที่ีมีสาเหตุจากเชื้อรา ยกตัวอย่างเช่น โรคใบไหม้ ในพืชต่างๆ โรคใบติดทุเรียน โรคราน้ำค้างองุ่น เกิดจากเชื้อรา Plasmopara viticola ในแคนตาลูป เกิดจากเชื้อรา Pseudoperonospora cubensis ในข้าวเกิดจาก เชื้อรา Peronosclerospora sorghi โรคใบไหม้มันฝรั่ง โรคใบจุดสีน้ำตาลในข้าว โรคเน่าคอรวงในข้าว หรือข้าวขาดคอรวง โรคแอนแทรคโนส พริก และพืชอื่นๆ ที่เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum sp โรคราแป้ง เกิดจากเชื้อรา Oidium sp. โรคใบจุด โรคราสนิม โรคราน้ำค้าง โรคราดำ โรคราเขม่าดำ และโรคเชิื้อราในอีกหลายพืช

โรคที่ใช้ไอเอสไม่ได้ คือโรคที่ไม่ได้มีสาเหตุจากเชื้อรา แต่มีสาเหตุจากเชื้อไวรัส เช่น โรคใบด่าง โรคใบด่างในอ้อย โรคไวรัสวงแหวนมะละกอ หรือโรคที่มีสาเหตุจากแบคทีเรียต่างๆ เช่น โรคแคงเกอร์ในพืชตระกูลส้ม มะนาว ก็ใช้ไอเอสไม่ได้เช่นกัน

🍂ไอเอส ราคา 450บาท บรรจุ 1ลิตร ส่วนผสม 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
🌾FK ธรรมชาตินิยม ราคา 490บาท บรรจุ 250ซีซี ส่วนผสม 25-50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกที่นี่เพื่อแอดไลน์

🎖 คลิกที่นี่เพื่อสั่งซื้อผ่านหน้าเว็บ

🍂ข้อมูล ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค

🎗คุณประโยชน์
- ป้องกันการเข้าทำลายของเชื้อรา สาเหตุโรคในพืชต่างๆ
- ลดการแพร่กระจายของเชื้อราที่เกิดกับพืช
- ป้องกันการลุกลามของแผลที่เกิดจากการเข้าทำลายของเชื้อรา
- มีความต้านทานโรคเพิ่มขึ้น เมื่อใช้เป็นประจำ
อ่าน:3133
🐛กำจัดหนอน! ทำไมพืชยังเหี่ยวเฉา ใบเหลืองร่วง โตช้า แคระแกรน ทั้งที่บำรุงอย่างดี.. เป็นหนอนรึเปล่านะ?
🐛กำจัดหนอน! ทำไมพืชยังเหี่ยวเฉา ใบเหลืองร่วง โตช้า แคระแกรน ทั้งที่บำรุงอย่างดี.. เป็นหนอนรึเปล่านะ?
🎗ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอน ปลอดภัย กำจัดตระกูลหนอน ไม่เป็นอันตรายต่่อ คน เด็ก และสัตว์เลี้ยง

💦ฉีดพ่นทางใบ และลำต้น ผสม 40-50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ป้องกัน-กำจัด-ลดจำนวนประชากร หนอนชอนใบ หนอนเจาลำต้น หนอนเจาะผลทุเรียน หนอนเจาะผลไม้ต่างๆ หนอนคืบกะหล่ำ หนอนใยผัก หนอนเจาะสมอฝ้าย หนอนม้วนใบ

💧ราดลงโคนต้น ราดลงดิน ผสม 40-50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ป้องกัน-กำจัด-ลดจำนวน หนอนด้วง หนอนกัดกินรากพืช

💁‍♀️ราคา 490บาท บรรจุ 500กรัม ใช้ได้ 2.5-5 ไร่ โดยประมาณ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ > http://www.farmkaset..link..

🎖คลิกลิงค์เพื่อสั่งซื้อผ่านหน้าเว็บ > http://www.farmkaset..link..

🐛ข้อมูลไอกี้-บีที

กำจัดหนอนแมลงศัตรูพืชด้วยสารชีวินทรีย์ประสิทธิภาพสูง ไอกี้-บีที เพิ่มศักยภาพในการกำจัดแมลงศัตรูพืชให้กับเกษตรกร

โดยการรวมประสิทธิภาพการกำจัดแมลงของเชื้อ Bacillus thuringiensis 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ Kustaki และ Aizawai เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อเพิ่มการปลดปล่อยสารพิษในการทำลายแมลงศัตรูพืช

ด้วยการสร้างสารพิษผลึกโปรตีน delta-endotoxins ที่มีอยู่ในเชื้อ Bacillus thuringiensis เมื่อแมลงศัตรูพืชได้รับสารพิษนี้เข้าไป จะทำให้เกิดพิษในกระเพาะอาหารเป็นอัมพาต ลำตัวเหี่ยวแห้ง และตายภายในเวลา 24-48 ชั่วโมง

โดยไม่เป็นอันตราต่อสิ่งแวดล้อม แมลงศัตูธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ รวมทั้งปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค
อ่าน:3086
ทุเรียนภาคใต้เนื้อหอม จีนรุมซื้อไร่ละล้าน แห่ปลูกแซงยางพารา
ทุเรียนภาคใต้เนื้อหอม จีนรุมซื้อไร่ละล้าน แห่ปลูกแซงยางพารา
สวนทุเรียนภาคใต้เนื้อหอม นักลงทุนจีนรุมจีบขอซื้อที่ดินทำราคาพุ่งไร่ละ 600_000-1 ล้านบาท แซงที่ดินสวนยางพารา ราคา 100_000-300_000 บาทต่อไร่ เผยทุเรียนราคาดี คนใต้แห่ปลูกกว่า 6 แสนไร่ เฉพาะปี’64 พื้นที่ปลูกขยายเพิ่ม 25_000 ไร่ คาดการณ์ผลผลิตที่จะออกช่วงกลางเดือนสิงหาคม 2564 ไม่ต่ำกว่า 594_000 ตัน

นายสุพิท จิตรภักดี ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จ.สงขลา (สสก.ที่ 5 สงขลา) เปิดเผย “ประชาชาติธุรกิจ” ว่า ขณะนี้มีการคาดการณ์ผลผลิตทุเรียนในพื้นที่ภาคใต้ปี 2564

ซึ่งผลผลิตจะออกกลางเดือนสิงหาคมถึงกลางเดือนกันยายน 2564 ประมาณ 594_000 ตัน จากพื้นที่ปลูกทุเรียนที่ให้ผลผลิตแล้วประมาณ 470_000 ไร่ จากพื้นที่ปลูกทั้งหมดประมาณ 630_000 ไร่

ซึ่งยังมีพื้นที่ปลูกที่ไม่ให้ผลิตกว่า 160_000 ไร่ โดยจะให้ผลผลิตในปี 2565 ประมาณอีก 20_000 ไร่ โดยที่ผ่านมามีการขยายตัวพื้นที่ปลูกทุเรียนเพิ่มขึ้นประมาณ 20_000-25_000 ไร่/ปี

โดยจะปลูกหมุนเวียนอยู่ในระดับนี้ 5-7% แต่ในปีนี้เพิ่มขึ้นประมาณ 25_000 ไร่ ขยายตัวเติบโตขึ้นประมาณ 10% เพราะส่วนหนึ่งทุเรียนได้รับความเสียหายหรือตายมีการปลูกทดแทนใหม่

นอกจากนี้ มีการโค่นพืชผลไม้อย่างอื่นมาปลูกทุเรียน ทั้งนี้ คาดการณ์ราคาทุเรียนปีนี้จะใกล้เคียงกับปี 2563 อยู่ที่ 80-100 บาท/กก. ขึ้นอยู่กับคุณภาพของทุเรียนและตลาดหลักจีนยังมีความต้องการปริมาณมาก ทำให้คาดการณ์ว่าจะมีเม็ดเงินหมุนเวียนกว่า 47_000-57_000 ล้านบาท

“ขณะเดียวกัน ไทยมีประเทศคู่แข่งสำคัญและมีการส่งเสริมการลงทุนปลูกทุเรียนจำนวนมาก เช่น ประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และเวียดนาม เมื่อทุเรียนในประเทศดังกล่าวผลผลิตออกมาปริมาณมาก และโดยเฉพาะประเทศเวียดนามอยู่ใกล้กับประเทศจีนก็อาจจะมีผลกระทบ”

ด้านการตลาดรัฐบาลโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทำตลาดพรีออร์เดอร์ทุเรียนพรีเมี่ยมบินตรงส่งถึงตัวผู้บริโภคทางเครื่องบิน โดยการตัดทุเรียนที่มีคุณภาพความแก่ที่ 85-90% ไปถึงตัวผู้บริโภคจะสุกพอดี
ขณะเดียวกัน ได้สนับสนุนบูรณาการผู้ผลิตทุเรียนระบบแปลงใหญ่ พบกับผู้ค้ารายใหญ่เชื่อมโยงตลาดซื้อขายทุเรียนพรีเมี่ยมตกลงราคากันโดยตรง นอกจากนี้ กรมส่งเสริมการเกษตรมีตลาดค้าออนไลน์โดยให้ผู้ค้าลงทะเบียนที่เว็บไซต์สามารถซื้อขายกันโดยตรง ซึ่งเปิดดำเนินการมาประมาณ 1 ปีแล้ว มีสินค้าขายได้ประมาณ 200 ล้านบาท

นายประยูรสิทธิ์ คณานุรักษ์ ประชาสัมพันธ์คณะกรรมการเครือข่ายสถาบันเกษตรกรชาวสวนยางระดับประเทศ การยางแห่งประเทศไทย เปิดเผย “ประชาชาติธุรกิจ” ว่า ขณะนี้มีนักลงทุนจีนที่อยู่ในประเทศไทยสนใจลงทุนซื้อที่ดินสวนทุเรียนในภาคใต้จำนวนมาก

หลังจากที่ได้ไปลงทุนซื้อที่ดินจังหวัดใหญ่ ๆ ในจังหวัดภาคกลางและภาคอีสาน ส่งผลให้ราคาที่ดินสวนทุเรียนในพื้นที่ภาคใต้ขยับขึ้นสูงมากประมาณ 700_000-800_000 บาท/ไร่ และบางพื้นที่ราคาถึง 1 ล้านบาท/ไร่

แหล่งข่าวจากเจ้าของสวนทุเรียนรายหนึ่งในพื้นที่ภาคใต้ เปิดเผย “ประชาชาติธุรกิจ” ว่า ที่ผ่านมาได้มีนักลงทุนจากประเทศจีนเข้ามาซื้อสวนทุเรียนที่จังหวัดชุมพร

และเท่าที่ทราบยังเคลื่อนไหวลงทุนทางภาคกลางและภาคอีสานบางจังหวัด เช่น สระบุรี นครราชสีมา เป็นต้น รวมถึงการเข้าไปลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน เช่น สปป.ลาว เวียดนาม และมาเลเซีย เป็นต้น

โดยเฉพาะประเทศ สปป.ลาว และเวียดนามจะเป็นที่นิยมเพราะดินดีอุดมสมบูรณ์ และการเช่าพื้นที่จากรัฐบาลมีระยะยาว สำหรับราคาสวนทุเรียนในพื้นที่ภาคใต้ราคาเริ่มตั้งแต่ไร่ละ 600_000-1 ล้านบาท

ขึ้นอยู่กับปัจจัยแวดล้อมของแต่ละพื้นที่ เช่น พื้นที่ปลูกทุเรียนริมถนน เขตชุมชนที่มีอนาคตทางการค้าการลงทุน และการขยายตัวชุมชน เฉพาะเพียงที่ดินเปล่าบางพื้นที่ราคาถึง 500_000 บาท/ไร่
นายนิรันดร์ สุนทรานุรักษ์ เจ้าของสวนผสม ต.ลานข่อย อ.ป่าพะยอม จ.พัทลุง เปิดเผยว่า สำหรับพื้นที่ อ.ป่าพะยอมได้มีการทำสวนปลูกทุเรียนแล้วจำนวนหนึ่งแต่ยังไม่ให้ผลผลิต สวนทุเรียนจะปลูกไม่เกิน 60 ต้น/ไร่

จะให้ผลผลิตเป็นเม็ดเงินประมาณกว่า 10_000 บาท/ต้น/ปี สำหรับทุเรียนที่มีการดูแลรักษาอย่างมืออาชีพได้คุณภาพปริมาณผลผลิตดี จนถึงบางผลมีน้ำหนักถึง 10 กก. ถ้าราคา 150 บาท/กก.

เท่ากับลูกละ 1_500 บาท ทุเรียน 60 ต้น จะเป็นเม็ดเงินประมาณ 600_000 บาท/ปี ดังนั้น ราคาที่ดินสวนทุเรียนไร่ละ 1 ล้านบาท ประมาณ 1 ปี เกือบถอนทุนคืน อย่างไรก็ตาม เท่าที่ทราบตอนนี้แม้จะมีผู้มาเสนอขอซื้อที่ดิน แต่ก็ไม่มีเจ้าของสวนทุเรียนรายใดขาย

ทางด้านนายนัด ดวงใส รองประธานชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด (ชสท.) และเจ้าของสวนทุเรียนกล่าวกับ “ประชาชาติธุรกิจ” ว่า ราคาสวนทุเรียนได้ขยับขึ้นมาหลายปี

ประกอบกับที่ดินทั่วไปราคาสูงขึ้นเนื่องจากเป็นแหล่งทำเลที่ดีที่สามารถพัฒนาเป็นอย่างอื่น ๆได้ บางพื้นที่เฉพาะที่ดินเปล่าประมาณ 500_000 บาท/ไร่ จึงบวกกับสวนทุเรียนคุณภาพสายพันธุ์ที่ดียอดนิยมและมีปริมาณผลผลิตสูง และต้นทุเรียนที่อายุไม่มากจึงมีราคาที่สูง

นายสมพงศ์ ราชสุวรรณ ประธานกรรมการกลุ่มเกษตรกรชาวสวนยาง สกย.นาทวี อ.นาทวี จ.สงขลา เปิดเผยว่า การเคลื่อนไหวของราคาสวนยางพาราในบางพื้นที่มีราคาประมาณ 100_000-300_000 บาท/ไร่

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
อ่าน:2990
โรคทุเรียน โรคราแป้งทุเรียน โรคจุดสนิมทุเรียน โรคใบติดทุเรียน โรคราสีชมพูทุเรียน
โรคทุเรียน โรคราแป้งทุเรียน โรคจุดสนิมทุเรียน โรคใบติดทุเรียน โรคราสีชมพูทุเรียน
ทุเรียนเป็นไม้ผลเขตร้อน ซึ่งในประเทศไทยมีปลูกกันมากในภาคตะวันออกและภาตใต้ พันธุ์ที่นิยมปลูก ได้แก่ พันธุ์หมอนทอง ก้านยาว ชะนี และกระดุมทอง ทุเรียนนอกจากจะผลิตเพื่อบริโภคในประเทศแล้วยังมีการผลิตเพื่อส่งไปขายยังต่างประเทศทั้งในรูปของผลสดและแปรรูปในลักษณะต่าง ๆ แต่เนื่องจากทุเรียนเป็นไม้ผลที่ต้องการการดูแลเอาใจใส่อย่างดี โดยเฉพาะการเข้าทำลายของโรคและแมลง ซึ่งเป็นปัญหาหลักที่พบเสมอทุกปี ดังนั้นเกษตรกรที่ทำสวนทุเรียนควรได้รู้จักโรคของทุเรียน และการป้องกันกำจัดโรคชนิดต่าง ๆ ให้ถูกต้อง เพื่อให้ทุเรียนที่ผลิตได้มีคุณภาพดี

โรคที่สำคัญของทุเรียนมีดังนี้

โรครากเน่าและโคนเน่า

เกิดจากเชื้อราเจริญเติบโตเข้าไปทำลายทุเรียนทั้งที่โคนต้น ลำต้น กิ่งและราก โดยจะสังเกตได้จากต้นที่เป็นโรคนี้จะมีใบด้าน ไม่เป็นมัน และสีจะค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นสีเหลืองแล้วร่วงหล่น ต้นที่เป็นโรคจะแสดงอาการเน่าและใบเหี่ยว แผลที่ต้นหรือกิ่งจะเน่าเป็นจุดฉ่ำน้ำ เปลือกจะเน่าเป็นสีน้ำตาลและมีเมือกไหลออกมา ซึ่งจะสังเกตได้ในเวลาเช้าหรือช่วงที่มีอากาศชื้น เมื่อถากเปลือกออกจะเห็นเปลือกด้านในมีสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลเข้ม และถ้าขุดดูรากจะพบว่าที่รากแก้วและรากฝอยถูกทำลายเน่าเป็นสีน้ำตาล ทำให้ต้นทุเรียนทรุดโทรมและตายในที่สุด
การป้องกันกำจัด
1. ตัดแต่งกิ่งทุเรียนให้โปร่ง เพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก และเก็บส่วนที่เป็นโรคนำไปเผาทำลาย
2. อย่าให้น้ำขังแฉะบริเวณโคนต้น
3. ถากบริเวณที่เป็นโรคออกเพียงบาง ๆ แล้วใช้สารเคมีจำพวกเมททาแลคซิลหรือฟอสเอทธิลอะลูมินั่มผสมน้ำทาบริเวณที่ถากออก


โรคทเรียนผลเน่า

เกิดจากเชื้อราเข้าทำลาย ส่วนใหญ่จะเริ่มเข้าทำลายบริเวณปลายผลหรือก้นผล โดยจะเกิดจุดเล็ก ๆ สีน้ำตาลจาง ๆ ปนเทา แล้วขยายตัวออกไปตามเปลือกผล ทำให้รอยแบ่งของเปลือกแตกออกจากกันได้ง่าย เมื่อผ่าตรวจดูภายในผลจะพบว่าเนื้อเยื่อโดยรอบของเปลือกจะเน่าช้ำสีน้ำตาล ส่วนที่พูเนื้อหุ้มเมล็ดนั้นจะเน่าเละมีสีเหลืองปนน้ำตาล แล้วลุกลามเป็นหมดทุกพู นอกจากนี้ผลที่ถูกทำลายจะร่วงหล่นก่อนกำหนด
การป้องกันกำจัด
1. เก็บผลที่เป็นโรคผลเน่าไปเผาทำลายเสีย
2. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา หลังจากทุเรียนติดผลแล้ว 2 เดือน

โรคใบติดทุเรียน

เกิดจากเชื้อรา โรคนี้จะระบาดมากในช่วงฤดูฝน ลักษณะอาการบนใบที่พบจะมีรอยคล้าย ๆ ถูกน้ำร้อนลวก ขอบแผลไม่แน่นอน อาจเริ่มที่ปลายใบ กลางใบ หรือโคนใบ แล้วลุกลามจนเป็นทั้งใบ และจะสังเกตเห็นเส้นใยสีขาวนวลแผ่ปกคลุมคล้ายใยแมงมุมแผ่ไปตามผิวใบ ใบที่ถูกทำลายจะร่วงหล่นไปในที่สุด ถ้าใบที่เป็นโรคไปสัมผัสกับใบที่ปกติไม่ว่าจะเป็นใบที่อยู่ล่าง ๆ หรือใบที่อยู่เหนือกว่า ใบปกตินั้นก็จะเป็นโรคใบติดได้เช่นกัน
การป้องกันกำจัด
1. ไม่ควรปลูกทุเรียนให้ชิดกันเกินไปเพราะจะทำให้ทรงพุ่มประสานกัน เกิดเป็นโรคติดต่อกันได้ง่าย
2. ตัดแต่งกิ่งที่เป็นโรคเผาทำลายเสีย ตลอดจนทำความสะอาดบริเวณโคนต้นโดยเก็บใบที่เป็นโรคเผาทำลาย
3. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ พ่นทุก 5-7 วันต่อครั้ง

โรคจุดสนิมทุเรียน

เกิดจากพืชชั้นต่ำพวกสาหร่ายทำความเสียหายให้กับทุเรียนโดยดูดอาหารจากใบ ทำให้ต้นทรุดโทรม อาการของโรคจะพบทั้งที่ใบและกิ่ง ที่ใบจะปรากฏเป็นจุดหรือดวงสีเทาอ่อนปนเขียว แล้วจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลคล้ายสนิมมีลักษณะเป็นขุยคล้ายกำมะหยี่ ส่วนการทำลายที่กิ่งนั้นจะทำให้เปลือกหนา ซึ่งนานเข้าจะทำให้เปลือกแตก กิ่งแห้งและทรุดโทรมในเวลาต่อมา
การป้องกันกำจัด
1. ตัดกิ่งที่เป็นโรคเผาทำลายทิ้งเสีย
2. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันกับ FK-1

โรคราสีชมพูทุเรียน

เกิดจากเชื้อราเข้าทำลายกิ่งโดยเฉพาะบริเวณง่ามกิ่งซึ่งมีผลทำให้ใบมีสีเหลืองร่วงหล่นไปคล้ายกับอาการกิ่งแห้งและใบร่วงที่เกิดจากโรคโคนเน่า แต่จะสังเกตเห็นเส้นใยของเชื้อรามีลักษณะเป็นขุยสีชมพูปกคลุมบริเวณโคนกิ่งที่มีใบแห้งนั้น และทำให้เปลือกของกิ่งทุเรียนปริแตกและล่อนจากเนื้อไม้ เมื่อถากเปลือกจะพบว่าเนื้อไม้ภายในมีสีน้ำตาล ถ้าเกิดรอบกิ่งจะทำให้กิ่งทุเรียนแห้งตายในที่สุด
การป้องกันกำจัด
1. ตัดแต่งกิ่งที่เป็นโรคเผาทำลายทิ้งเสีย และตัดแต่งกิ่งทุเรียนให้โปร่งเพื่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก
2. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันกับ FK-1

โรคราแป้งทุเรียน

เกิดจากเชื้อราเข้าทำลายผลทุเรียนตั้งแต่เริ่มติดผลอ่อนจนกระทั่งผลแก่ ผิวที่ผลอ่อนจะมีผงสีขาว ๆ คล้ายโรยด้วยแป้ง และผลอ่อนก็จะร่วงไป แต่ถ้าเชื้อโรคเข้าทำลายเมื่อผลโตแล้วจะทำให้ผลแก่มีสีผิวที่ผิดปกติ ไม่เป็นที่ต้องการของตลาด
การป้องกันกำจัด
1. นำผลทุเรียนที่ร่วงหล่นไปเผาทำลาย
2. ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันกับ FK-1

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3189
วิธีปลูกทุเรียนอย่างละเอียด ตั้งแต่การคัดเลือกพันธุ์ ไปจนถึงการเก็บเกี่ยว
วิธีปลูกทุเรียนอย่างละเอียด ตั้งแต่การคัดเลือกพันธุ์ ไปจนถึงการเก็บเกี่ยว
เมื่อถึงฤดูกาลของผลไม้สีเหลืองกลิ่นยั่วใจ คนที่ชื่นชอบการทานทุกเรียนจะต้องยอมจ่ายเงินซื้อทุเรียนกินทุกครั้งไป และบางคนอาจอยากรู้สึกลองปลูกทุเรียนดูบ้าง แต่หลายคนก็บอกว่าปลูกทุเรียนมันยาก มักไม่ค่อยรอด เรามีคำแนะนำการปลูกทุเรียนจากกรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์มาเป็นข้อมูลให้เบื้องต้น

พันธุ์ทุเรียน

ชะนี
ข้อดี

-ทนทานต่อโรครากเน่า โคนเน่าพอสมควร
-ออกดอกง่าย
-เนื้อแห้ง รสดี สีสวย

ข้อเสีย

-ออกดอกดกแต่ติดผลยาก
-เป็นไส้ซึมง่าย
-อ่อนแอต่อโรคใบติด

หมอนทอง

ข้อดี

-ราคาสูงกว่าพันธุ์อื่น
-ติดผลดีมาก น้ำหนักผลดี
-เนื้อมาก เมล็ดลีบ มีกลิ่นน้อย เนื้อละเอียดแห้ง ไม่เละ ผลสุกแล้วเก็บไว้ได้นาน
-ไม่ค่อยเป็นไส้ซึม

ข้อเสีย

-อ่อนแอต่อโรครากเน่าโคนเน่า

ก้านยาว

ข้อดี

-ติดผลดี
-ราคาค่อนข้างดี
-น้ำหนักผลดี

ข้อเสีย

-ค่อนข้างอ่อนแอต่อโรค รากเน่า โดนเน่า
-เปลือกหนา
-เนื้อน้อย
-เป็นไส้ซึมค่อนข้างง่าย
-ผลสุกเก็บไว้ได้ไม่นาน กันผลแตกง่าย
-อายุการให้ผลช้า

กระดุม

ข้อดี

-ไม่มีปัญหาไส้ซึมเพราะเป็นพันธุ์เบาเก็บเกี่ยวก่อนฝนตกชุก
-ออกดอกเร็วผลแก่เร็วจึงขายได้ราคาดีในช่วงต้นฤดู
-ผลดก ติดผลง่าย
-อายุการให้ผลเร็ว

ข้อเสีย

-อ่อนแอต่อโรครากเน่าโดนเน่า

การเลือกพื้นที่ปลูกทุเรียนควรคำนึงถึง

1.แหล่งน้ำ ต้องมีแหล่งน้ำจืดให้ต้นทุเรียนได้เพียงพอตลอดปี

2.อุณหภูมิและความชื้น ทุเรียนชอบอากาศร้อนชื้น อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ในช่วงประมาณ 25-30 องศาเซลเซียสความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศประมาณ 75-85% ถ้าปลูกในพื้นที่ที่มีอากาศแห้งแล้งมีอากาศร้อนจัดเย็นจัดและมีลมแรงจะพบปัญหาใบไหม้หรือใบร่วง ต้นทุเรียนไม่เจริญเติบโตหรือเติบโตช้า ให้ผลผลิตช้าและน้อยไม่คุ้มต่อการลงทุน

3. สภาพดินควรเป็นดินร่วนดินร่วนปนทรายดินเหนียวปนทรายที่มีการระบายนํ้าดีและมีหน้าดินลึกเพราะทุเรียนเป็นพืชที่อ่อนแอต่อสภาพนํ้าขังความเป็นกรดด่างของดินอยู่ระหว่าง 5.5-6.5 ถ้าจําเป็นต้องปลูกทุเรียนในสภาพดินทรายจําเป็นต้องนําหน้าดินจากแหล่งอื่นมาเสริมต้องใส่ปุ๋ยคอกและต้องดูแลเรื่องการให้นํ้ามากเป็นพิเศษแหล่งนํ้าต้องเพียงพอ

การปลูก

ฤดูปลูก ถ้ามีการจัดระบบการให้นํ้าอย่างมีประสิทธิภาพสามารถดูแลให้นํ้ากับต้นทุเรียนได้สมํ่าเสมอช่วงหลังปลูกควรปลูกตั้งแต่เดือนมีนาคม-เมษายนแต่ถ้าหากจัดระบบนํ้าไม่ทันหรือยังไม่อาจดูแลเรื่องนํ้าได้ควรปลูกต้นฤดูฝนเตรียมพื้นที่การปลูกทุเรียน

1. ไถขุดตอขุดรากไม้เก่าออกจากแปลง
- พื้นที่ดอนไม่มีปัญหานํ้าทวมขัง : ไถกําจัดวัชพืชอย่างเดียว
- พื้นที่ดอนมีแอ่งที่ลุ่มนํ้าขัง : ไถปรับสภาพพื้นที่ให้เรียบ
- พื้นที่ลุ่มหรือตํ่ามีนํ้าท่วมขัง : ทําทางระบายนํ้าหรือยกร่อง

2. กําหนดระยะปลูก
ระยะระหว่างต้นและระยะระหว่างแถวด้านละ 9 เมตรปลูกได้ไร่ละ 20 ต้นการทําสวนขนาดใหญ่ควรขยายระยะระหว่างแถวให้กว้างขึ้นเพื่อสะดวกต่อการนําเครื่องจักรกลต่างๆไปทํางานในระหว่างแถว
3. วางแนวและปักไม้ตามระยะปลูกที่กําหนด
วางแนวกําหนดแถวปลูกโดยคํานึงว่าแนวปลูกขวางความลาดเทของพื้นที่หรืออาจกําหนดในแนวตั้งฉากกับถนนหรือกําหนดแถวปลูกไปในแนวทิศตะวันออกตะวันตกและถ้ามีการจัดวางระบบนํ้าต้องพิจารณาแนวทางจัดวางท่อในสวนด้วยจากนั้นจึงปักไม้ตามระยะที่กําหนดเพื่อขุดหลุมปลูกต่อไปวิธีการปลูกทุเรียนทําได้ 2 ลักษณะ

1. วิธีการขุดหลุมปลูกเหมาะกับสวนที่ไม่มีการวางระบบนํ้า
2. วิธีการปลูกแบบไม่ขุดหลุมเหมาะกับสวนที่จัดวางระบบนํ้ามีข้อดีคือประหยัดแรงงานค่าใช้จ่ายในการขุดหลุมดินระบายนํ้าและอากาศดีรากเจริญเร็ว

การปลูกทุเรียนแบบขุดหลุมปลูก

1. ขุดหลุมมีขนาดกว้างยาวและลึกด้านละ 50 เซนติเมตร

2. ผสมปุ๋ยคอกเก่าประมาณ 5 กิโลกรัมและปุ๋ยหินฟอสเฟตครึ่งกิโลกรัมคลุกเคล้ากับดินที่ขุดขึ้นมากลบกลับคืนไปในหลุมสูงประมาณ 2 ใน 3 ของหลุม

3. เตรียมต้นกล้าที่แข็งแรงสมบูรณ์ไม่เป็นโรคไม่มีแมลงทําลายและมีใบยอดคู่สุดท้ายแก้ระบบรากแผ่กระจายดีไม่ขดม้วนงออยู่ก้นถุง

4. ใช้มีดกรีดก้นถุงออกถ้าพบรากขดงออยู่ก้นถุงให้ตัดออก

5. วางถุงต้นกล้าที่ตัดก้นถุงออกแล้ววางลงตรงกลางหลุมจัดให้ตรงแนวกับต้นอื่นๆ พร้อมทั้งปรับระดับสูงตํ่าของต้นทุเรียนให้รอยต่อระหว่างรากกับลําต้นหรือระดับดินปากถุงเดิมสูงกว่าระดับดินปากหลุมเล็กน้อย

6. ใช้มีดกรีดด้านข้างถุงจากล่างขึ้นบนทั้งสองด้าน

7. ดึงถุงพลาสติกออกระมัดระวังอย่าให้ดินในถุงแตก

8. กลบดินที่เหลือลงไปในหลุมอย่ากลบดินสูงถึงรอยเสียบยอดหรือรอยทาบ

9. ปักไม้หลักข้างต้นทุเรียนที่ปลูกแล้วพร้อมทั้งผูกเชือกยึดไว้เพื่อป้องกันลมพัดโยก

10. กดดินบริเวณโคนต้นหาวัสดุคลุมโคนต้นแล้วรดนํ้าตามให้โชก

11. จัดทําร่มเงาให้ต้นทุเรียนที่เพิ่งปลูกโดยใช้ทางมะพร้าวทางจากแผงหญ้าคาทางระกําหรือตาข่ายพรางแสงเมื่อทุเรียนตั้งตัวดีแล้วควรปลดออกหรืออาจปลูกไม้เพื่อให้ร่มเงาเช่น กล้วยก็จะช่วยเป็นร่มเงาและเพิ่มความชื้นในสวนทุเรียนได้เป็นอย่างดีโดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งที่อากาศแห่งและมีแสงแดดจัด

12. แกะผ่าพลาสติกที่พันรอยเสียบยอดหรือทาบออกเมื่อปลูกไปแล้วประมาณ1-2 เดือน

การปลูกทุเรียนแบบไม่ขุดหลุม

1. โรยปุ๋ยหินฟอสเฟต 500 กรัมหรือประมาณหนึ่งกระป๋องนมครึ่งตรงตําแหน่งที่ต้องการปลูกกลบดินบางๆ

2. นําต้นพันธุ์มาวางแล้วถากดินข้างๆ ขึ้นมาพูนกลบแต่ถ้าหากเป็นดินร่วนปนทรายดินทรายดินจะไม่เกาะตัวกันควรใช้วิธีขุดหลุมปลูกหรือจะใช้วิธีดัดแปลง

3. วิธีดัดแปลงคือนําหน้าดินจากแหล่งอื่นมากองตรงตําแหน่งที่จะปลูกกองดินควรมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ1เมตรสูง15 เซนติเมตรแหวกกลางกองดินโรยปุ๋ยหินฟอสเฟตในช่องที่แหวกไว้กลบดินบางๆ วางต้นพันธุ์ดีลงตรงช่องที่แหวกไว้กลบดินทับ

4. การแกะถุงออกต้องระมัดระวังอย่าให้ดินแตกอาจทําได้โดยกรีดก้นถุงออกก่อนแล้วนําไปวางในตําแหน่งที่ปลูกกรีดถุงพลาสติกให้ขาดจากล่างขึ้นบนแล้วจึงค่อยๆ ดึงถุงพลาสติกออกเบาๆ

5. ระมัดระวังอย่ากลบดินให้สูงถึงรอยเสียบยอดหรือรอยทาบ

6. หาวัสดุคลุมโคนและจัดทําร่มเงาให้กับต้นทุเรียนเหมือนการปลูกโดยวิธีขุดหลุม

การปฏิบัติดูแลรักษาทุเรียน

การปฏิบัติดูแลทุเรียนในช่วงก่อนให้ผลผลิต

เป็นสิ่งสําคัญที่จะทําใหญ่ทุเรียนเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และให้ผลผลิตได้เร็วขึ้น

1.ในระหว่างรอทุเรียนให้ผลผลิตในช่วงแรกควรปลูกพืชแซมเสริมรายได้โดยเลือกพืชให้ตรงกับความต้องการของตลาด

2. เมื่อตรวจพบทุเรียนตายหลังปลูกให้ทําการปลูกซ่อม

3. การให้นํ้าช่วงเวลาหลังจากปลูกจะตรงกับฤดูฝนถ้ามีฝนตกหนักควรทําทางระบายนํ้าและตรวจดูบริเวณหลุมปลูกถ้าดินยุบตัวเป็นแอ่งมีนํ้าขังต้องพูนดินเพิ่มถ้าฝนทิ้งช่วงควรรดนํ้าให้ดินมีความชื้นอยู่เสมอในปีต่อๆไปควรดูแลรดนํ้าให้ต้นไม้ผลอย่างสมํ่าเสมอและในช่วงฤดูแล้งควรใช้วัสดุคลุมดินเพื่อช่วยรักษาความชื้นในดินเช่นฟางข้าวหญ้าแห้ง

4. การตัดแต่งกิ่ง
ปีที่1-2 ไม่ควรตัดแต่ง ปล่อยให้ต้นทุเรียนเจริญเติบโตอย่างเต็มที่
ปีต่อๆ ไปตัดแต่งกิ่งแห้งกิ่งแขนงกิ่งกระโดงในทรงพุ่มกิ่งเป็นโรคออกเลี้ยงกิ่งแขนงที่สมบูรณ์ที่อยู่ในแนวขนานกับพื้น (กิ่งมุมกว้าง) ไว้ในปริมาณและทิศทางเหมาะสมโดยให้กิ่งล่างสุดอยู่สูงจากพื้นดินประมาณ 80-100 เซนติเมตร

5. การป้องกันกําจัด
ชวงแตกใบอ่อน : ควรป้องกันกําจัดโรคใบติดเพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยไฟไรแดงช่วงฤดูฝน:ป้องกันกําจัดโรครากเน่าโคนเน่าและควบคุมวัชพืชโดยการปลูกพืชคลุมดินและอาจจะกําจัดโดยใช้แรงงานขุดถากถอนตัดพยายามหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีเพราะต้นทุเรียนยังเล็กอยู่ละอองสารเคมีอาจจะไปทําลายต้นทุเรียน

6. การทําร่มเงา
ในช่วงฤดูแล้งแสงแดดจัดมากทําให้ทุเรียนใบไหม้ได้ ควรทําร่มเงาให้

7. การใส่ปุ๋ยควรทําดังนี้
- ใส่ปุ๋ยหลังจากตัดแต่งกิ่ง-
- ใส่ปุ๋ยพร้อมกับการทําโคน คือถากวัชพืชบริเวณใต้ทรงพุ่มหว่านปุ๋ยและพรวนดินนอกชายพุ่มขึ้นมากลบใต้ทรงพุ่มให้มีลักษณะเป็นหลังเต่า และขยายขนาดของเนินดินให้กว้างขึ้นตามขนาดของทรงพุ่มหรือจะใส่ปุ๋ยโดยวิธีใช้ไม้ปลายแหลมแทงดินเป็นรูหยอดปุ๋ยใส่และปิดหลุมเป็นระยะให้ทั่วบริเวณใต้ทรงพุ่มวิธีหลังนี้แม้จะเปลืองแรงงานแต่ช่วยลดการสูญเสียของปุ๋ยจากการระเหยหรือถูกนํ้าชะพา
- หว่านปุ๋ยคอกก่อนและตามด้วยปุ๋ยเคมี
- ควรใส่ปุ๋ยในบริเวณใต้ทรงพุ่มโดยรอบและให้ห่างจากโคนต้นประมาณ 20-30เซนติเมตรขึ้นไปขึ้นกับขนาดทรงพ่มปริมาณและเวลาใส่ปุ๋ย
ปีที่1 : ใส่ปุ๋ยและทําโคน 4 ครั้ง (เดือนเว้นเดือน)
ครั้งที่1-3 ใส่ปุ๋ยคอก 5 กิโลกรัมต่อต้น (ประมาณ1ปีบ)
ครั้งที่ 4 - ใส่ปุ๋ยคอก 5 กิโลกรัมต่อต้น (ประมาณ1ปีบ)

- ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร15-15-15 หรือ16-16-16 ประมาณ150-200 กรัมต่อต้น (ครึ่งกระป๋องนมข้น)ปีต่อๆไป(ระยะที่ทุเรียนยังไม่ให้ผลผลิต):ใส่ปุ๋ยและทําโคน 2 ครั้ง (ต้นฤดูฝนและปลายฤดูฝน)ครั้งที่1 (ต้นฝน) ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร15-15-15 หรือ16-16-16ประมาณครึ่งถึง 3 กิโลกรัมต่อต้นครั้งที่ 2 (ปลายฝน) ใส่ปุ๋ยคอก15-50 กิโลกรัมต่อต้น (ประมาณ 3-10 ปีบ)ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร15-15-15 หรือ16-16-16 ประมาณครึ่งถึง 3 กิโลกรัมต่อต้นปริมาณปุ๋ยเคมีที่ใส่ในแต่ละครั้งขึ้นกับขนาดของทรงพุ่มโดยยึดหลักว่าวัดจากโคนต้นมายังชายพุ่มเป็นเมตรได้เท่าไรคือจํานวนปุ๋ยเคมีที่ใส่เป็นกิโลกรัมเช่นระยะจากโคนต้นถึงชายพุ่ม1เมตรใส่ปุ๋ย1กิโลกรัมระยะจากโคนต้นถึงชายพุ่ม 2 เมตรใส่ปุ๋ย 2 กิโลกรัมระยะจากโคนต้นถึงชายพุ่ม 2 เมตรครึ่งใส่ปุ๋ย 2 กิโลกรัมครึ่ง

การปฏิบัติดูแลทุเรียนในช่วงให้ผลแล้ว

เป็นสิ่งสําคัญที่จะทําให้ทุเรียนออกดอกติดผลมากและให้ผลผลิตคุณภาพดีการเตรียมต้นให้พร้อมที่จะออกดอกคือการเตรียมให้ต้นทุเรียนมีความสมบูรณ์มีอาหารสะสมเพียงพอเมื่อทุเรียนมีใบแก่ทั้งต้นและสภาพแวดล้อมเหมาะสมฝนแล้งดินมีความชื้นตํ่าอากาศเย็นลงเล็กน้อยทุเรียนก็จะออกดอกขั้นตอนต่างๆ จะต้องรีบดําเนินการภายหลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตดังนี้

1. การตัดแต่งกิ่ง
หลังเก็บเกี่ยวให้รีบตัดแตงกิ่งแห้งกิ่งเป็นโรคกิ่งแขนงด้านในทรงพุ่มออกโดยเร็วทารอยแผลที่ตัดด้วยสารเคมีป้องกันกําจัดเชื้อราหรือปูนแดงกินกับหมาก
2. หลังตัดแต่งกิ่งให้กําจัดวัชพืชและใส่ปุ๋ยทันที
- ปุ๋ยคอก15-50 กิโลกรัมต่อต้น (ประมาณ 3-10 ปีบ)
- ปุ๋ยเคมีสูตร15-15-15 หรือ16-16-16 ในอัตรา 3-5 กก. ต่อต้น (ทุเรียนต้นที่ขาดความสมบูรณ์ต้องการปุ๋ยมากกว่าทุเรียนต้นที่มีความสมบูรณ์อยู่แล้วทุเรียนต้นที่ให้ผลผลิตไปมากต้องการปุ๋ยมากกว่าทุเรียนที่ให้ผลผลิตน้อย)

3. ในช่วงฤดูฝน

-ถ้าฝนตกหนักจัดการระบายนํ้าออกจากแปลงปลูก

- ถ้าฝนทิ้งช่วงให้รดนํ้าแก่ต้นทุเรียน

- ควบคุมวัชพืชโดยการตัดและหรือใช้สารเคมี

- ป้องกันกําจัดโรคแมลงเช่นโรครากเน่าโคนเน่าโรคใบติดโรคแอนแทรกโนสเพลี้ยไก่แจ ไรแดงและเพลี้ยไฟ


4. ในช่วงปลายฤดูฝน


-เมื่อฝนทิ้งช่วงใหญ่ใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 8-24-24_ 9-24-24 หรือ12-24-12 2-3 กก.ต่อต้นเพื่อช่วยในการออกดอก

- ให้กําจัดวัชพืชใต้ทรงพุ่มกวาดเศษหญ้าและใบทุเรียนออกจากโคนต้นเพื่อให้ดินแห้งเร็วขึ้น

-งดการให้นํ้า 10-14 วันเมื่อสังเกตเห็นใบทุเรียนเริ่มลดลงต้องเริ่มให้นํ้าทีละน้อยเพื่อกระตุ้นให้ตามดอกเจริญอย่าปล่อยให้ขาดนํ้านานจนใบเหลืองใบตกเพราะตาดอกจะไม่เจริญและระวังอย่าให้นํ้ามากเกินไปเพราะช่อดอกอาจเปลี่ยนเป็นใบได้วิธีให้นํ้าที่เหมาะสมคือให้นํ้าแบบโชยๆ แล้วเว้นระยะสังเกตอาการของใบและดอกเมื่อเห็นดอกระยะไข่ปลามากพอแล้วก็เพิ่มปริมาณให้มากขึ้นเรื่อยๆจนสู่สภาวะปกติ

เอกสารประกอบการเรียบเรียง
1. สํานักงานส่งเสริมการเกษตรภาคกลาง_ 2534_ เอกสารวิชาการการบริหารศัตรูไม้ผลโดยวิธีผสาน. ชัยนาท. หน้า1/1-1/21.
2. สํานักงานส่งเสริมการเกษตรภาคตะวันออก_ 2534_ ทุเรียนภาคตะวันออก. ระยอง. 118หนา.
3. สมาคมชาวสวนผลไม้จังหวัดระยองและสํานักงานเกษตรจังหวัดระยอง_2536_ บันทึกชาวสวนผลไม้_ ระยอง. 102 หน้า.
4. ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี_ 2533_ ปัจจัยและเทคนิคการเพิ่มการติดผลในทุเรียน. เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรเทคโนโลยีเพื่อการผลิตทุเรียนให้มีคุณภาพ. วันที่ 27 ธันวาคม2533. 39 หน้า.
5. ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี_ 2534_ ปัจจัยและการจัดการเพื่อเพิ่มปริมาณและคุณภาพผลผลิตของทุเรียน.เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรเทคโนโลยีเพื่อการผลิตทุเรียนให้มีคุณภาพวันที่ 9มกราคม 2534. 26 หน้า.
6. ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี_ 2534_ การเตรียมสภาพต้นเพื่อการชักนําให้ออกดอก. เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรเทคโนโลยีเพื่อการผลิตทุเรียนให้มีคุณภาพวันที่13 มิถุนายน2534. 16 หน้า.
7. ศูนย์วิจัยพืชสวนจันทบุรี_ 2536. เอกสารวิชาการพัฒนาการใช้สารคัลทาร์กับการผลิตทุเรียนก่อนฤดู. กรมวิชาการเกษตร_30 หน้า.8. หิรัญหิรัญประดิษฐ์และคณะ_ 2536. เทคนิคการผลิตทุเรียนก่อนฤดู_ วารสารส่งเสริมการเกษตรปีที่ 23 ฉบับที่ 67 มิถุนายน 2536. หน้า 2-9.

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3218
บำรุงทุเรียน ให้เจริญเติบโตดี สมบูรณ์ แข็งแรง ออกดอก ติดผลดก
บำรุงทุเรียน ให้เจริญเติบโตดี สมบูรณ์ แข็งแรง ออกดอก ติดผลดก
บำรุงทุเรียน ให้เจริญเติบโตดี สมบูรณ์ แข็งแรง ออกดอก ติดผลดก
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการปลูกทุเรียน สภาพดิน ควรเป็นดินร่วน ดินร่วนปนทราย ดินเหนียวปนทรายที่มีการระบายน้ำได้ดี มีหน้าดินลึก

เพราะทุเรียนเป็นพืชที่อ่อนแอต่อสภาพน้ำท่วมขัง และความเป็นกรดด่างของดิน 5.5-6.5 หากจำเป็นต้องปลูกทุเรียนในสภาพดินทราย จำเป็นต้องนำหน้าดินจากแหล่งอื่นมาเสริมและต้องใส่ปุ๋ยคอกร่วมด้วย และควรมีการจัดการเรื่องระบบน้ำเพื่อให้เพียงพอต่อการเจริญเติบโตและการออกดอกติดผลของทุเรียนด้วย

แหล่งน้ำ ต้องมีแหล่งน้ำจืดให้ต้นทุเรียนได้เพียงพอตลอดทั้งปี

อุณหภูมิและความชื้น ทุเรียนชอบอากาศร้อนชื้น อุณหภูมิที่เหมาะสมอยู่ในช่วงประมาณ 25-30
องศาเซลเซียส มีความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศประมาณ 75-85 เปอร์เซ็นต์ หากปลูกในพื้นที่ที่มีอากาศแห้งแล้ง

พื้นที่ที่มีอากาศร้อนจัดหรือเย็นจัด และมีลมแรง จะพบปัญหาใบไหม้หรือใบร่วง ทำให้ต้นทุเรียน
ไม่เจริญเติบโตหรือเติบโตช้าให้ผลผลิตช้า น้อย และไม่คุ้มต่อการลงทุน

การเตรียมพื้นที่ จำเป็นต้องมีการปรับพื้นที่ปลูก กำหนดผังปลูกและติดตั้งระบบน้ำ โดยปรับพื้นที่
ให้ราบไม่ให้มีแอ่งน้ำท่วมขัง และควรปรับเป็นเนินลูกฟูกเพื่อปลูกทุเรียนบนสันเนิน ระยะปลูก 8*8 เมตร หรือ 9*9 เมตร (16-25 ต้น/ไร่) หากมีการทำสวนขนาดใหญ่ ควรขยายระยะระหว่างแถวให้กว้างขึ้นเพื่อสะดวกต่อการปฏิบัติงาน การวางแนวปลูกควรขวางความลาดเทของพื้นที่ หรือกำหนดแถวปลูกในแนวทิศตะวันออกหรือทิศตะวันตก และถ้ามีการจัดวางระบบน้ำจะต้องพิจารณาแนวทางจัดวางท่อในสวนเพื่อให้มีการจัดการที่ง่ายและสะดวก

การวางผังปลูก

สามารถเลือกระบบการปลูกทุเรียนเป็นลักษณะต่าง ๆ ได้แก่

ระบบสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือสามเหลี่ยมด้าน
เท่าระยะปลูก 8-10 เมตร เหมาะกับพื้นที่ที่ค่อนข้างเรียบ

ระบบแถวกว้างต้นชิด (Hedge row system)
ในการปลูกระบบนี้ระยะระหว่างต้นเป็น 30-50% ของระยะระหว่างแถวและมีการวางแถวปลูกในแนวเหนือใต้ มีด้านกว้างระหว่างแถวขวางแนวขึ้นลงของพระอาทิตย์ แถวมีความกว้างพอที่จะให้เครื่องจักรกลผ่านเข้าออกได้สะดวก

การดูแลบำรุง

ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

การป้องกันกำจัดโรคทุเรียน

โรคจากเชื้อราต่าง เช่น โรคใบติด (โรคใบไหม้) โรคไฟทอปธอราในทุเรียน โรคราสีชมพูในทุเรียน โรคราแป้งทุเรียน โรคราดำทุเรียน ตัดและเก็บส่วนที่เป็นโรครวมกัน เผาทำลาย และ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ทุก 7 วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง เพื่อยับยั้งการลุกลาม ไม่ให้ขยายวง

การป้องกันกำจัดแมลงศัตรูทุเรียน

เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน เพลี้ยไฟ ไรแดง เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ทุก 7 วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง

หนอนเจาะเมล็ดทุเรียน หนอนเจาะผล เหล่านี้ควรฉีดป้องกันไว้ หากเป็นแล้วเสียหายไปแล้ว ผลผลิตก็เสียหาย ทำได้คือการยับยั้ง ไม่ให้ลุกลามเข้าไปทำลายผลใหม่ ที่ยังไม่โดยหนอนเจาะทำลาย ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ชีวภัณ์กำจัดหนอน ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ทุก 7 วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง

# Go..Reference..Site..
อ่าน:3303
ทุเรียน ระวังโรคใบติดทุเรียน
ทุเรียน ระวังโรคใบติดทุเรียน
ทุเรียน ระวังโรคใบติดทุเรียน
สภาพอากาศในช่วงฝนฟ้าคะนอง แนะเกษตรกรชาวสวนทุเรียนพื้นที่ภาคใต้เฝ้าระวังการระบาดของโรคใบติดหรือโรคใบไหม้ สามารถพบได้ในระยะแตกใบอ่อน อาการเริ่มแรกจะพบบนใบมีแผลคล้ายถูกน้ำร้อนลวก ต่อมาแผลจะขยายตัวและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล มีขนาดและรูปร่างไม่แน่นอน จากนั้นจะลุกลามไปยังใบปกติข้างเคียง กรณีที่มีความชื้นสูง เชื้อราสาเหตุโรคจะสร้างเส้นใยคล้ายใยแมงมุมยึดใบให้ติดกัน ใบที่เป็นโรคจะแห้งติดอยู่กับกิ่งก่อนหลุดร่วงไปสัมผัสกับใบที่อยู่ด้านล่าง ทำให้โรคระบาดลุกลามจนใบไหม้เห็นเป็นหย่อมๆ ใบแห้งติดกันเป็นกระจุกแขวนค้างตามกิ่ง ต่อมาใบจะร่วงจนเหลือแต่กิ่ง และกิ่งแห้งในที่สุด ทำให้ต้นทุเรียนเสียรูปทรง

สำหรับแนวทางในการป้องกันโรคใบติด เกษตรกรควรหมั่นตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ หากพบการระบาดของโรคใบติด ให้เกษตรกรตัดส่วนที่เป็นโรคและเก็บเศษพืชที่เป็นโรคและใบที่ร่วงหล่นนำไปทำลายนอกแปลงปลูก เพื่อลดปริมาณเชื้อสะสมในแปลง

- ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืช ที่เกิดจากเชื้อรา ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน

- ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุงพืช ให้มีความแข็งแรงอยู่เสมอ โตไว ผลผลิตดี

[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

ส่วนในแปลงปลูกที่มีความชื้นสูง และมีการระบาดของโรคเป็นประจำ หลีกเลี่ยง การใส่ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูง เพื่อลดการแตกใบของต้นทุเรียน จากนั้น ให้เกษตรกรตัดแต่งทรงพุ่มให้โปร่งและกำจัดวัชพืชในแปลงปลูก เพื่อให้ต้นทุเรียนได้รับแสงแดด อากาศถ่ายเทสะดวก และช่วยลดความชื้นสะสมในแปลงปลูก ทำให้สภาพแวดล้อมไม่เหมาะต่อการระบาดของโรค อีกทั้งควรทำความสะอาดอุปกรณ์การเกษตรเมื่อใช้กับต้นที่เป็นโรคก่อนนำกลับมาใช้ใหม่ทุกครั้ง

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3029
420 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 42 หน้า, หน้าที่ 43 มี 0 รายการ
|-Page 38 of 43-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ข้าวใบไหม้ ใช้ ไอเอส และ FK-1
Update: 2564/08/09 10:23:49 - Views: 2983
การควบคุมโรคเชื้อราในองุ่นอย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2566/05/09 10:58:07 - Views: 3059
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าแมลงหวี่ขาว ในดอกลีลาวดี และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/03 10:37:51 - Views: 3104
กำจัดเพลี้ย ใน กระเพรา เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/08 13:59:06 - Views: 2985
การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราในต้นทับทิม
Update: 2566/05/06 11:01:49 - Views: 3091
EP01 ทำเกษตร ง่ายจริงหรือ ? - Podcast ฟาร์มเกษตร
Update: 2563/06/23 14:49:18 - Views: 3035
สตอเบอร์รี่ ผลเน่า ใบไหม้ ใบเหลือง กำจัดโรคสตอร์เบอร์รี่ จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/27 10:07:42 - Views: 3023
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรครากเน่า ในว่านหางจระเข้ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/21 14:07:20 - Views: 3235
ยากำจัดเพลี้ยมะระ เพลี้ยไฟมะระ เพลี้ยอ่อนมะระ เพลี้ยจักจั่นมะระ เพลี้ยต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/10/06 02:57:02 - Views: 3124
มะระ ยารักษาโรคราน้ำค้างมะระจีน มะระต่างๆ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/10/05 10:44:10 - Views: 3403
ราสนิมขาวผักบุ้ง โรคผักบุ้งใบไหม้ และโรคราต่างๆ สร้างความเสียหายต่อผลผลิต ควบคุม ป้องกันกำจัดก่อนเกิดความเสียหาย
Update: 2566/11/04 09:56:30 - Views: 8063
ตั๊กแตนตำข้าว พลางตัวด้วยสีเหมือนกิ้งไม้ ใบหญ้าแห้ง ป้องกันตนจากภัยอันตราย
Update: 2563/05/26 10:24:16 - Views: 3243
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนแมลงวันทองหรือแมลงวันผลไม้ ใน ฝรั่ง และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/28 14:00:37 - Views: 3027
ฝรั่งใบไหม้ ราดำในฝรั่ง ใบจุด จุดสนิม กำจัดโรคฝรั่ง จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/21 10:16:34 - Views: 3415
การป้องกัน กำจัดเพลี้ย กำจัดแมลงศัตรูพืช ด้วย ชีวภัณฑ์ บิวเวอเรีย และ เมธาไรเซียม ได้ผลดี และปลอดภัย
Update: 2566/11/10 06:26:57 - Views: 8159
กำจัดเชื้อรา เสาวรส ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/27 10:46:00 - Views: 3011
การดูแลพืชมันสำปะหลังให้แข็งแรง: การป้องกันและกำจัดโรคเชื้อรา ที่เกิดขึ้นในไร่มันสำปะหลัง
Update: 2566/04/29 10:39:36 - Views: 3685
กำจัดเชื้อรา อ้อย ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/21 10:42:09 - Views: 3004
เสาวรส โตไว ใบเขียว เร่งราก เร่งดอก ขยายขนาด ผลใหญ่ ผลดก เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์
Update: 2567/03/28 13:44:10 - Views: 103
การรับมือกับโรคเหี่ยวในผักกาดขาวปลี: สูตรควบคุมและป้องกันการระบาดจากเชื้อรา
Update: 2566/11/15 13:09:21 - Views: 379
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022