[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - เพิ่มผลผลิต
885 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 88 หน้า, หน้าที่ 89 มี 5 รายการ

โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)
โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)
โรคแอนแทรคโนส เกิดขึ้นและสร้างความเสียหายกับหลายพืช เชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคแอนแทรคโนส อยู่ในจีนัส Colletotrichum (คอนเล็ตโททริคัม) มีพืชอาศัย หรือพืชที่เชื้อราชนิดนี้เข้าทำลาย มากกว่า 470 ตระกูล ถั่ว หญ้า ผัก ไม้ผลและไม้ประดับ ทําให้ผลผลิตเน่าเสียอายุการเก็บเกี่ยวสั้น เชื้อราสามารถเข้าทําลายได้ทุกส่วนของพืชตั้งแต่ลําต้น ใบ ก้าน ดอก ผล และเมล็ด ทําให้เปอร์เซ็นต์การงอกลดลง ถ้าเกิดกับต้นกล้าจะทําให้ต้นกล้าแห้งตายได้

เชื้อรา Colletotrichum spp.สามารถเข้าทําลายเซลล์พืชโดยตรงไม่ต้องผ่านช่องเปิดธรรมชาติหรือบาดแผล สามารถเข้าทําลายผลผลิต ตั้งแต่ระยะดอก ผลอ่อน โดยยังไม่แสดงอาการของโรค จัดเป็นการเข้าทําลายแบบแฝง( quiescent infection) จะแสดงอาการชัดเจนเมื่อผลผลิตแก่หรือเริ่มสุก

ลักษณะอาการของโรคแอนแทรคโนส

อาการของโรคแอนแทรคโนส เริ่มจากจุดแผลแห้งเล็ก ๆ สีน้ําตาลแล้วค่อย ๆ เข้มขึ้นขยายออกเป็นวงกลมหรือวงรีซ้อนกันเป็นชั้น ๆ อาการของโรคจะเห็นชัดเจนในระยะที่ผลเริ่มสุกเมื่อมีความชื้นสูง จะพบการสร้างกลุ่มของสปอร์หรือ conidia สีส้มหรือสีชมพูเป็นหยดเหลวข้น บริเวณแผลโรคแอนแทรคโนสที่เกิดบนใบ ถ้าเกิดกับใบอ่อนทําให้ใบหงิกงอ อาการเริ่มจากจุดสีเทาและเปลี่ยนเป็นสีน้ําตาลเข้ม อยู่กระจัดกระจาย เนื้อเยื่อกลางแผลบางและฉีกขาดเป็นรู นอกจากนี้โรคแอนแทรคโนส ยังสามารถเข้าทําลายกิ่ง ทําให้เกิดอาการไหม้ได้อีกด้วย

ภาพตัวอย่างด้านล่าง ประกอบด้วย
- โรคแอนแทรคโนสมะนาว
- โรคแอนแทรคโนสองุ่น
- โรคแอนแทรคโนสฝรั่ง
- โรคแอนแทรคโนสสตอเบอรี่
- โรคแอนแทรคโนสพริก
- โรคแอนแทรคโนสส้มโอ
- โรคแอนแทรคโนสมะม่วง
- โรคแอนแทรคโนสต้นหอม
- โรคแอนแทรคโนสพริกไทย
- โรคแอนแทรคโนสกล้วย
- โรคแอนแทรคโนสมันสำปะหลัง
- โรคแอนแทรคโนสถั่วเหลือง
ตามลำดับ

นอกจากนั้น ยังพบพืชที่นิยมปลูกในประเทศไทย ที่เป็นโรคแอนแทรคโนส ดังนี้
- โรคแอนแทรคโนสหน่อไม้ฝรัง เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum sp.
- โรคแอนแทรคโนสแตงโม เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum lagenarium (Pass.)
- โรคแอนแทรคโนสทุเรียน สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum zibethinum Sacc.
- โรคแอนแทรคโนสกาแฟ สาเหตเกิดจากเชื้อรา Glomerella cingulataแบบใช้เพศ (teleemorph) หรือเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides แบบไม่ใช้เพศ (asexual stage-anamorph)
- โรคแอนแทรคโนสมะลิ สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum sp.
- โรคแอนแทรคโนสต้นหน้าวัว สาเหตุ เชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides (Penz.) Sacc.
- โรคแอนแทรคโนสกล้วยไม้ สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides Penz. หรือ Colletotrichum sp.
- โรคแอนแทรคโนสกุหลาบ สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides Penz.

การป้องกัน กำจัด โรคแอนแทรคโนส

1. ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน คอยสังเกตุอาการ หากจำเป็นต้องใช้ต่อเนื่องนานเกิน 4-5 ครั้ง ควรหายามาสลับ เพื่อป้องกันการดื้อยา

2. ฉีดพ่น FK-1 เพื่อเติม ธาตุหลัก ธาตุเสริม สารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ เพื่อฟื้นฟูพืช ส่งเสริมการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิต
[FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]

* สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส
* ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

# http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3674
ชมพู่แดง ชมพู่ทับทิมจันทร์ เร่งโต เพิ่มผลผลิต ป้องกันโรค และแมลง และหนอน
ชมพู่แดง ชมพู่ทับทิมจันทร์ เร่งโต เพิ่มผลผลิต ป้องกันโรค และแมลง และหนอน
ป้องกันกำจัดหนอนในชมพู่ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร

ป้องกันกำจัดโรคชุมพู่​ โรคใบไหม้ โรคราสนิม และโรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร

แมลง เพลี้ย รบกวน เข้าทำลายชมพู่ ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร

ส่งเสริมการเจริญเติบโต และผลผลิตของชมพู ฉีดพ่น FK-1 [FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]
อ่าน:3364
ทุเรียนป่าละอู หวาน-มัน เนื้อหนา ผลผลิตแปลงใหญ่ จ.ประจวบฯ
ทุเรียนป่าละอู หวาน-มัน เนื้อหนา ผลผลิตแปลงใหญ่ จ.ประจวบฯ
สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 2 จ.ราชบุรี เร่งผลักดัน หวังยกระดับแปลงใหญ่ทุเรียนป่าละอู จ.ประจวบคีรีขันธ์ สู่มาตรฐาน GAP

เมื่อวันที่ 11 มี.ค.64 นางธัญธิตา บุญญมณีกุล ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 2 จ.ราชบุรี กล่าวว่า กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรแปลงใหญ่ทุเรียนป่าละอู ต.ห้วยสัตว์ใหญ่ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งมี นายประโยชน์ พรหมสุวรรณ เป็นประธานกลุ่ม ได้รวมกลุ่มกันเมื่อปี 2562 มีสมาชิก 50 กว่าราย พื้นที่ 500 กว่าไร่ ปัจจุบันมีเกษตรกรปลูกทุเรียนจำนวนมาก ด้วยสภาพภูมิประเทศที่เอื้ออำนวยต่อการเจริญเติบโตของต้นทุเรียน จึงเหมาะอย่างยิ่ง

ดังนั้น จึงได้มีการรวมตัวของเกษตรกรที่ปลูกทุเรียนป่าละอู ใน ต.ห้วยสัตว์ใหญ่ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ จัดตั้งเป็นแปลงใหญ่ทุเรียนป่าละอู เมื่อปี 2562 เพื่อการลดต้นทุนการผลิต การผสมปุ๋ยใช้เองตามความต้องการของต้นทุเรียน การใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ การผลิตสารชีวภัณฑ์เพื่อใช้ในการจัดการกับโรคและแมลงที่ต้องแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้เพื่อลดต้นทุนให้ได้มากที่สุด เพิ่มผลผลิตโดยใช้การตัดแต่งต้น การปัดดอก การตัดแต่งผล ให้ได้ผลผลิตที่มีขนาดที่คุณภาพตามความต้องการของตลาด มีการบริหารจัดการกลุ่ม บริหารจัดการในรูปแบบคณะกรรมการ มีการวางแผนการผลิตกับสมาชิกกลุ่ม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และเป็นแหล่งรวบรวมผลผลิตจำหน่าย นอกจากนี้ยังมีการพัฒนาคุณภาพสินค้าและคุณภาพให้สูงขึ้น ได้รับรองมาตรฐาน GAP ทุกแปลง มีการใช้ปุ๋ยและฮอร์โมนในอัตราที่เหมาะสม คัดเกรดให้ได้ขนาดที่เหมาะสม และพัฒนาบรรจุภัณฑ์ในการจำหน่าย และมีการตลาดแบบขายส่ง การจัดมหกรรมสินค้าเกษตร การทำการตลาดแบบออนไลน์ ผ่าน Line และ Facebook

จุดเด่นของกลุ่มคือ การควบคุมคุณภาพการผลิตโดยกลุ่มเกษตรกรให้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมี ทำให้ทุเรียนได้คุณภาพ มีการใช้สารชีวภัณฑ์เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภคเพิ่มมากขึ้น สร้างแบรนด์ของตนเอง ในนามวิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่ผู้ปลูกทุเรียนป่าละอู และทุเรียนหมอนทองป่าละอู หรือ ทุเรียนป่าละอู (PaLa-U Durian) ซึ่งหมายถึงทุเรียนพันธุ์หมอนทองที่ปลูกในพื้นที่ ป่าละอู ต.ห้วยสัตว์ใหญ่ อ.หัวหิน จ.ประจวบคีรีขันธ์ มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น เฉพาะตัว มีรสหวาน เนื้อหนาเนียนละเอียด สีเหลืองอ่อน เนื้อแห้งมีความมันมากกว่าความหวาน กลิ่นไม่รุนแรง ได้รับการขึ้นทะเบียน GI จากกรมทรัพย์สินทางปัญญา เลขที่ 54100075 ไว้อีกด้วย

"สำนักงานส่งเสริมฯ ได้เข้ามาส่งเสริมให้ความรู้แก่เกษตรกรในหลายๆ ด้าน ทั้งการบริหารจัดการกลุ่ม การแปรรูป การลดต้นทุน เพิ่มผลผลิตและพัฒนาคุณภาพสินค้า และที่สำคัญคือการส่งเสริมให้เกษตรกรทุกรายได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรปลอดภัย GAP ซึ่งเป็นการช่วยยกระดับแปลงใหญ่ทุเรียนป่าละอูซึ่งทุเรียนป่าละอูมีลักษณะทางกายภาพ คือมีรูปทรงผลเป็นวงรีบริเวณด้านใต้ผลแหลม น้ำหนักระหว่าง 1.5-5 กิโลกรัม เปลือกมีสีเขียวปนน้ำตาล ปลายหนามแหลมคมมาก ร่องพูชัดเจน ก้านขั้วค่อนข้างใหญ่ สีน้ำตาล จับดูจะรู้สึกสาก พอแก่จัดขั้วจะมีรสหวาน เนื้อหนา สีเหลืองอ่อน รสชาติ หวาน มัน เมล็ดลีบทำให้รู้สึกมีเนื้อหนาขึ้น เป็นทุเรียนที่เป็นทั้งเอกลักษณ์และขึ้นชื่อที่ อ.ป่าละอู จ.ประจวบคีรีขันธ์ เลยก็ว่าได้" นางธัญธิตา กล่าว.

Reference
thairath.co.th/news/local/central/2048127
อ่าน:3004
อาการพืชขาดธาตุแมกนีเซียม พืชจะใบเหลือง และมีเส้นใยสีเขียวบนใบเหลือง อาการเกิดที่ใบแก่ ฉีดพ่น FK-1
อาการพืชขาดธาตุแมกนีเซียม พืชจะใบเหลือง และมีเส้นใยสีเขียวบนใบเหลือง อาการเกิดที่ใบแก่ ฉีดพ่น FK-1
แมกนีเซียม (Mg)

มันสำปะหลังค่อนข้างจะขาด Mg (แมกนีเซียม) ได้ง่าย มันสำปะหลังมีความต้องการ Mg (แมกนีเซียม) ที่เข้มข้นในสารละลายธาตุอาหารสูงกว่าถั่วพุ่มหรือฝ้าย การใส่ปุ๋ย K (โพแตสเซียม) มากเกินไปจะทำ ให้พืชเกิดการขาด Mg (แมกนีเซียม) ได้

การทดสอบปุ๋ย Mg ในดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำมากๆ และดินกรด 2 งาน จัดทำในเขตที่ราบภาคตะวันตกของโคลัมเบียพบว่า พืช
จะตอบสนองต่อ Mg อย่างมีนัยสำคัญจนถึงระดับสูงสุดที่ 9.6 กก. Mg/ไร่โดยภาพรวมแหล่งต่างๆ ของ Mg จะไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ Mg จากซัลโฟแม็ก (Sulphomag) ซึ่งละลายน้ำ ได้ดีกว่าจะมีการตอบสนองได้ดีกว่าเมื่อใช้อัตราปานกลาง ส่วนแมกนีเซียมซัลเฟตใส่โดยโรยเป็นแถบและการหว่านแมกนีเซียมอ๊อกไซด์จะได้ผลดีกว่าเมื่อใช้อัตราสูงๆ

การใช้ปูนโดโลไมท์หว่านไถกลบลงในดินจะไม่ค่อยมีประสิทธิภาพในการเพิ่มผลผลิต และถึงแม้ว่าแมกนีเซียมซัลเฟตจะค่อนข้างละลายน้ำ แต่การหว่านแมกนีเซียมซัลเฟตและไถกลบลงในดินจะให้ผลดีกว่าการใส่โดยการโรยเป็นแถบสั้นๆ ใกล้กับท่อนพันธุ์พร้อมกับการใส่ปุ๋ย N P K

ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย แมกนีเซียม แคลเซียม สังกะสี ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแตสเซียม (Mg Ca Zn N P K)

Reference: main content from agriman.doae.go.th
อ่าน:3049
เร่งโต ระเบิดราก เพิ่มผลผลิต ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 ฟื้นฟูพืช โตไว แข็งแรง จึงต้านทานต่อโรค
เร่งโต ระเบิดราก เพิ่มผลผลิต ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ FK-1 ฟื้นฟูพืช โตไว แข็งแรง จึงต้านทานต่อโรค
FK-1 ประกอบด้วย
✅ไนโตรเจน
✅ฟอสฟอรัส
✅โพแทสเซียม
✅แคลเซียม
✅แมกนีเซียม
✅สังกะสี
✅สารจับใบ
อ่าน:3096
ควบคุม ป้องกัน กำจัด แมลงศัตรูพืช และโรคพืช ที่ติดเชื้อ และไม่ติดเชื้อ
ควบคุม ป้องกัน กำจัด แมลงศัตรูพืช และโรคพืช ที่ติดเชื้อ และไม่ติดเชื้อ
ศัตรูพืช ได้แก่ โรค แมลง และวัชพืช
สร้างความเสียหายให้กับพืช ทั้งก่อนและหลังเก็บเกี่ยวได้มากกว่า 50% การป้องกัน กำจัด โรคพืช แมลงศัตรูพืช และกำจัดวัชพืช จะช่วยเพิ่มผลผลิตได้มาก 80-90 เปอร์เซ็นต์

อ่านต่อที่
http://www.farmkaset..link..
#โรคพืชที่ติดเชื้อ #โรคพืชที่ไม่ติดเชื้อ #โรคพืชจากเชื้อรา #โรคพืชจากแบคทีเรีย #โรคพืชจากไวรัส #โรคพืชจากไวรอยด์ #โรคพืชจากไฟโตพลาสมา
อ่าน:6453
ระเบิดราก เร่งต้น เร่งใบ เพิ่มผลผลิต ด้วย FK-1
ระเบิดราก เร่งต้น เร่งใบ เพิ่มผลผลิต ด้วย FK-1
พืชผลรากใบก่อ เกิดดี
ผลผลิตเท่าทวี มากล้น
ธาตุหลักรองเสริมมี ควรทราบ
เอฟเคหนึ่งควรหมั่น ฉีดพ่นพืชเอย
อ่าน:2986
การทำไร่อ้อย ใน 4 ขั้นตอนหลักๆ
การทำไร่อ้อย ใน 4 ขั้นตอนหลักๆ
การทำไร่อ้อย ใน 4 ขั้นตอนหลักๆ
การทำไร่อ้อย มีหลักใหญ่ ๆ อยู่ประมาณ 4 ขั้นตอนด้วยกัน คือ
ขั้นตอนที่ 1. การเตรียมดิน
ขั้นตอนที่ 2. การปลูกอ้อย
ขั้นตอนที่ 3. การดูแล – รักษา
ขั้นตอนที่ 4. การเก็บเกี่ยว


ขั้นตอนที่ 1. การเตรียมดิน
ชาวไร่ที่จะเริ่มปลูกอ้อยใหม่ไม่ว่าจะปลูกในที่แปลงใหม่ที่ที่ยังไม่เคยปลูกอ้อยมาก่อนเลย หรือแปลงอ้อยเก่าล้างทิ้งเพื่อปลูกใหม่ ก็ต้องมีการเตรียมการเกี่ยวกับดินในแปลงที่จะปลูก การเตรียมอ้อยของชาวไร่ปลูกอ้อยกัน ตั้งแต่หลังฤดูตัดอ้อยเข้าโรงงานแล้ว อยู่ประมาณเดือนมีนาคม – มิถุนายน เพราะเป็นช่วงหน้าแล้งต่อฤดูฝน จะได้มีเวลาเตรียมดินและเตรียมปลูกอ้อยก่อนฤดูฝนมีฝนตกมาก ๆจะมาถึง

วิธีการเตรียมดินในแปลงที่จะปลูกอ้อย ควรจะกำจัดใบอ้อยหรือวัชพืชต่าง ๆ ที่ตกค้างอยู่ในแปลง
โดยการเผาทำลายหรือขนทิ้งเสีย หลังจากนั้นใช้รถไถดินเข้าไปไถในแปลงครั้งแรกนี้ เรียกว่า “ไถดะ” เสร็จแล้วทิ้งดินตากแดดไว้อย่างน้อย 15 วันเพื่อให้วัชพืชพร้อมทั้ง แมลงศัตรูอ้อยที่ฝังตัวอยู่ในดินพลิกขึ้นมาถูกแดดเผาทำลายเสีย หากเป็นไปได้รอให้ฝนตกลงมาจะทำให้ดินในแปลงที่ไถดะเอาไว้ถูกน้ำฝน ดินจะแตกออกและชื้นนุ่มหลังจากนั้นใช้รถไถดินกลับเข้าไปไถอีกครั้งเรียกว่า “ไถแปร” การไถแปรนี้หากไถไปแล้วหนึ่งครั้ง สังเกตเห็นว่าดินในแปลงยังก้อนใหญ่อยู่ ยังไม่ร่วนซุยพอ ก็สมควรที่จะต้องแปรเพิ่มอีกหนึ่งครั้งเพราะถ้าหากทำดินไม่ดี จะมีผลต่อการงอกและเจริญเติบโตของอ้อยคือ ถ้าดินก้อนใหญ่เกินไป ดินจะไม่กระชับท่อนพันธุ์อ้อยทำให้อ้อยไม่แตกราก ไม่งอกในเวลาอันสมควร แต่ถ้าดินร่วนซุยดี ดินจะเข้าไปกระชับติดกับลำอ้อยท่อนพันธุ์ ความชื้นมากทำให้อ้อยแตกรากเร็ว งอกเร็ว เติบโต ได้ดี ซึ่งจะมีผลต่อการดูแล – รักษา และบำรุงเพิ่มผลผลิตต่อไป

ขั้นตอนที่ 2 การปลูกอ้อย
อ้อยที่ปลูกกันอยู่ในประเทศไทย เพื่อผลิตน้ำตาลในขณะนี้มีอยู่หลายสายพันธุ์ แต่ละพันธุ์ก็เหมาะกับพื้นดินแต่ละพื้นที่ โดยส่วนมากชาวไร่จะ นิยมปลูกอ้อยที่เห็นว่าเหมาะสมกับพื้นที่มีอยู่ประมาณ 4 – 5 พันธุ์ เช่น เค 84 – 200 เค 88 – 92 เค 90 – 77 พันธุ์อู่ทอง 1 และอื่นๆ พันธุ์อ้อยเหล่านี้ ชาวไร่ปลูกแล้วได้ผลผลิตต่อไร่สูง ให้ความหวานสูง ดูแลรักษาและเก็บเกี่ยวง่าย จึงนิยมปลูกกันมาก

เมื่อชาวไร่พันธุ์อ้อยแล้ว ฝนตกมีความชื้นดีแล้วสมควรปลูก การปลูกอ้อยของกลุ่มชาวไร่อ้อยมีปลูกกันอยู่ 2 วิธีด้วยกันคือ 1. ใช้แรงงานคนปลูกโดยตรง 2. ใช้รถไถมีเครื่องปลูก

วิธีที่ 1 การใช้แรงงานคนปลูก ชาวไร่จะต้องใช้รถไถเข้าไปยกร่องในแปลงปลูกให้เป็นร่อง ๆ แต่ละร่องห่างกันประมาณ 1.00 เมตร ถึง 1.50 เมตร แล้วแต่ความชอบของชาวไร่แต่ ละคน เรียบร้อยแล้วใช้คนงานนำพันธุ์อ้อยใส่ลงในร่องทั้งลำ หรือตัดเป็นท่อน ๆ แล้วแต่ความเหมาะสม ในกรณีปลูกโดยอาศัยน้ำฝนควรจะรอให้ฝนตกลงมา มีความชื้นในร่องอ้อยมากพอก่อนจึงปลูก แต่ถ้ามีน้ำสูบเองก็ปลูกได้เลย

วีธีที่ 2 ใช้รถไถมีเครื่องปลูก วิธีนี้กลุ่มชาวไร่นิยมปลูกกันมาก เพราะประหยัดแรงงาน ประหยัดเวลา และเครื่องปลูกยังสามารถใส่ปุ๋ยในดินไปพร้อมกับปลูกอ้อยไปด้วยเลย การปลูกโดยวิธีที่ 2 นี้ ควรปลูกหลังจากฝนตกลงมาความชื้นในดินมีมากพอ

ขั้นตอนที่ 3 การดูแล – รักษา
การดูแลรักษาอ้อยให้เจริญงอกงามนั้น เป็นภาระอันสำคัญของชาวไร่อ้อยเป็นอย่างมาก สาเหตุหลักหลักก็คือ เรื่องวัชพืชที่ขึ้นมาแย่งอาหารของอ้อย แมลงศัตรูกัดทำลายต้นอ้อย และโรคระบาดของอ้อย

อ้อยปลูกใหม่ไม่ว่าจะปลูกโดยแรงงานคน หรือ ใช้รถปลูก ควรจะใช้สารคุมวัชพืชไว้ก่อน หากไม่ทำไว้เสียฝนตกลงมา วัชพืชจะโตเร็วกว่าอ้อย จะคลุมหน่ออ้อยแย่งอาหาร ทำให้อ้อยหยุดเจริญเติบโต ต้องเสียทั้งค่ากำจัดวัชพืชเพิ่ม ค่าปุ๋ยเพิ่มอีก โดยเฉพาะผลผลิตจะต่ำ ฉะนั้นการดูแลรักษาจะต้องกระทำไปตลอด จนกว่าจะตัดอ้อยเข้าโรงงาน ส่วนเรื่องแมลงทำลายอ้อยและโรคระบาดอ้อย

ส่วนของอ้อยตอ การดูแล รักษาก็คงเหมือนกันกับอ้อยใหม่ โดยเฉพาะอ้อยตอ หลังจากตัดอ้อยแล้ว ใบอ้อยที่ตกค้างอยู่ในไร่จะเป็นตัวช่วยป้องกันความชื้นในดินไม่ให้ระเหยไปเร็ว พร้อมเป็นตัวปิดบังคับความเจริญของวัชพืชอีกด้วย แต่ในกรณีที่อ้อยตอไฟไหม้ในแปลง ทำให้พื้นดินไม่มีใบอ้อยปิดบัง ควรจะต้องดูแลแบบอ้อยปลูกใหม่ ที่สำคัญที่สุดไม่ว่าจะเป็นอ้อยปลูกใหม่หรืออ้อยตอก็ดี ชาวไร่จะต้องดูแลบำรุง รักษา เรื่องน้ำ วัชพืช ตลอดไปจนถึงแมลงและโรคระบาด โดยเฉพาะไฟไหม้อ้อยอันเกิดจากความประมาทหรือบังเอิญก็แล้วแต่ จนกว่าจะถึงวันตัดอ้อยได้ หากไม่เช่นนั้นผลผลิตและผลลัพธ์จะไม่เป็นดังที่ท่านตั้งความหวังไว้

การเพิ่มผลผลิตอ้อย ไม่ว่าจะพยายามลดต้นทุนหรือลดการใช้สารเคมี แต่การใส่ปุ๋ยอ้อยในขณะนี้ก็ยังมีความจำเป็นอยู่ เหตุเพราะว่า ปลูกอ้อยกันมานาน บางแปลงปลูกมานาน 10 ปีกว่าแล้ว ธาตุอาหารในดินสำหรับอ้อยย่อมหมดไป จึงจำเป็นต้องใส่ปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิตปุ๋ยที่ชาวไร่ ใช้กันอยู่มีทั้งปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมี ปุ๋ยทั้ง 2 ชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ใส่แล้วให้ผลช้าแต่ไม่ทำลายดิน ปุ๋ยเคมีให้ผลเร็วทันใจแต่มักเป็นผลเสียต่อดิน มีสารตกค้างสิ่งแวดล้อมเสีย สิ่งนี้ชาวไร่เราทราบดี แต่จำเป็นต้องใส่ ซึ่งก็พยายามใส่ปุ๋ยอินทรีย์กันมากขึ้น

ขั้นตอนที่ 4 การเก็บเกี่ยวหรือตัดอ้อย
1. ใช้แรงงานคน
2. ใช้รถตัดอ้อย
การตัดอ้อยทำน้ำตาล จะเริ่มเปิดหีบตั้งแต่ประมาณ เดือนธันวาคม - เดือนเมษายน ฉะนั้นชาวไร่จะต้องเริ่มตัดอ้อยกัน

http://www.farmkaset..link..
อ่าน:5545
ปลูกมันสำปะหลังอย่างไร จึงจะได้ผลผลิตสูงสุด
ปลูกมันสำปะหลังอย่างไร จึงจะได้ผลผลิตสูงสุด
ราคา มันสำปะหลังสูงขึ้นเป็นประวัติการณ์อย่างไม่เคยมีมาก่อน จึงจูงใจให้เกษตรกรหันมาปลูกมันสำปะหลังกันมากขึ้น และเพื่อป้องกันมิให้มีการหักร้างถางป่าเพื่อเพิ่มพื้นที่การปลูกมัน สำปะหลัง ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง จึงได้แนะนำ หลักในการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ดังนี้

1. การปรับปรุงดินให้เหมาะสมต่อการผลิตมันสำปะหลัง หลักสำคัญก็คือการเพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดินเป็นการสร้างให้ดินมีความ สามารถในการอุ้มน้ำได้ดีและการเพิ่มธาตุอาหารหลักให้กับดิน ได้แก่ การใช้ปุ๋ยอินทรีย์จากมูลสัตว์หรือเปลือกมันจากโรงงานแป้งหรือปุ๋ยพืชสดจาก ปอเทืองและถั่วพร้าปลูกแล้วไถกลบ ในกรณีที่ดินถูกใช้งานมาเป็นเวลานาน ทำให้เกิดชั้นดินดานใต้ดิน ทำให้ระบายน้ำลงใต้ดินได้ยากในฤดูฝน เกิดปัญหาหัวเน่าจากน้ำท่วมขัง ในช่วงฤดูแล้งมันสำปะหลังไม่สามารถใช้น้ำใต้ดินได้ ทำให้เกิดการชะงักการเจริญเติบโต ดังนั้น ควรไถระเบิดชั้นดินดาน หรือ ใช้หญ้าแฝกปลูกประมาณ 1-2 ปี เพราะหญ้าแฝกมีระบบรากลึกถึง 3 เมตร สามารถทำลายชั้นดินดานได้ อีกทั้งเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุให้กับดินด้วย

2. การเลือกฤดูปลูก หลักสำคัญก็คือควรจัดวันปลูกเพื่อให้ช่วงอายุ 3-12 เดือนของมันสำปะหลังได้รับน้ำฝนมากที่สุด เพราะผลผลิตขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำฝนในช่วงอายุดังกล่าว โดยในช่วงแรกระยะตั้งแต่ 1-3 เดือนหลังปลูก มันสำปะหลังต้องการน้ำน้อยเพื่อการเจริญเติบโต ดังนั้น เมื่อคำนวณแล้ว พบว่า การปลูกมันสำปะหลังแบบอาศัยน้ำฝนจะให้ผลผลิตสูงสุดเมื่อปลูกในช่วงฤดูร้อน (กุมภาพันธ์-มีนาคม) รองลงมา คือ ต้นฤดูฝน (เมษายน-พฤษภาคม) และปลายฤดูฝน (ตุลาคม-พฤศจิกายน) แต่การปลูกในช่วงฤดูร้อนและปลายฤดูฝนมีข้อจำกัดของปริมาณน้ำฝนค่อนข้างน้อย มีผลต่อการงอกของท่อนพันธุ์

3. การเลือกพันธุ์มันสำปะหลัง ดินที่ใช้ปลูกมันสำปะหลังโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ ดินร่วนเหนียวถือได้ว่าเป็นดินดี ดินชนิดนี้สามารถนำไปปั้นเป็นลูกกระสุนได้ และดินร่วนทรายถือได้ว่าเป็นดินปานกลางถึงเลว ดินชนิดนี้ไม่สามารถนำไปปั้นเป็นลูกกระสุนได้ เนื่องจากดินแตกง่ายไม่เกาะติดกัน โดยดินร่วนเหนียว ควรปลูก พันธุ์ระยอง 5 และระยอง 72 ส่วนดินร่วนทรายควรปลูกพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 ระยอง 90 ห้วยบง 60 และระยอง 9 เนื่องจากทั้ง 4 พันธุ์ เมื่อนำไปปลูกในดินร่วนเหนียวจะเจริญเติบโตในส่วนของ ลำต้นที่อยู่เหนือดินมากกว่าลงหัว หรือที่ชาวบ้าน เรียกกันว่าขึ้นต้นหรือบ้าต้นเกินไป ส่วนพันธุ์ระยอง 7 นั้นเหมาะทั้งดินร่วนเหนียวและดินร่วนทรายที่มีความชื้นของดินดีตลอดช่วงของ การเจริญเติบโต แต่ไม่เหมาะกับสภาพดินที่แห้งแล้ง

4. การเตรียมดินให้ลึก หลักสำคัญก็คือ ต้องไถดะครั้งแรกให้ลึกที่สุดด้วยผาล 3 หรือ ผาล 4 เท่านั้น ควรไถดะในขณะที่ดินมีความชื้นพอเหมาะ ห้ามไถดะด้วยผาล 7 เพราะจะไถได้ไม่ลึกการ ไถดะให้ลึกจะเพิ่มความสามารถในการเก็บกักความชื้นของดินได้มากขึ้นและมัน สำปะหลัง ลงหัวได้ง่าย จากนั้น ตากหน้าดินเพื่อให้วัชพืชตาย ถ้าเป็นดินร่วนเหนียวควรไถแปรครั้งที่สองเพื่อย่อยดินด้วยผาล 7 และตามด้วยการยกร่องพร้อมปลูก ส่วนดินร่วนทรายไม่จำเป็นต้องไถแปรครั้งที่สองด้วยผาล 7 สามารถยกร่องพร้อมปลูกได้เลย ในกรณีที่ เกษตรกรสามารถหาปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ยหมักได้ควร หว่านก่อนไถดะ ปุ๋ยหมักที่ใช้ได้ผลดี คือ ปุ๋ยหมักมูลไก่ 500-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ หรือ วัสดุอินทรีย์จากกากมันที่เหลือจากโรงงานแป้ง 2 ตันต่อไร่

5. การปลูกที่ถูกต้อง หลักสำคัญก็คือ ต้นพันธุ์ที่ใช้ปลูกควรมีอายุ 10-12 เดือน จะให้ความงอกดีที่สุด โดยเลือกต้นพันธุ์ที่แข็งแรง มีตาถี่ ขนาดโตพอสมควร ต้องตัดท่อนปลูกด้วยมีดที่คม เพื่อมิให้ท่อนปลูกช้ำ ยาวไม่ต่ำกว่า 20 เซนติเมตร ปลูกปักตรงให้ลึก 2 ใน 3 ของความยาวท่อนปลูก ในดินร่วนเหนียว ควรใช้ระยะแถวกว้าง 1.20 เมตร ระยะปลูกตั้งแต่ 0.50-1.00 เมตร และในดินร่วนทราย ควรใช้ระยะแถวแคบ 0.80 เมตร ระยะปลูกตั้งแต่ 0.50-0.80 เมตร

6. การกำจัดวัชพืช หลักสำคัญก็คือ มันสำปะหลังใช้เวลาประมาณ 3 เดือนหลังจากปลูก เพื่อสร้างพุ่มใบให้คลุมพื้นที่ระหว่างร่องทั้งหมด ดังนั้น ภายในช่วง 3 เดือนแรกถือว่าเป็นช่วงวิกฤติของมันสำปะหลัง ต้องดูแลรักษาให้มันสำปะหลังปลอดวัชพืช ถ้าปล่อยให้วัชพืชแข่งขันกับมันสำปะหลัง มันสำปะหลังจะแคระแกร็น มีผลให้ผลผลิตลดลงมาก การกำจัดวัชพืชสามารถเลือกทำแบบผสมผสาน โดยใช้จอบถาง รถไถเดินตามแถก ระหว่างร่อง ใช้สารเคมีประเภทคลุมก่อนวัชพืชงอกหรือสารเคมีฆ่าหลังวัชพืชงอก สารเคมีประเภทคลุมใช้ได้ผลเฉพาะการปลูกต้นฤดูฝนเท่านั้น ห้ามใช้ไกลโฟเสทในขณะที่มันสำปะหลังต้นเล็กอยู่ เพราะมีผลทำให้ชะงักการเจริญเติบโต

7. การใส่ปุ๋ยเคมี ควรเลือกใช้ปุ๋ยเคมีอัตราส่วน 2 : 1 : 2 ปุ๋ยเคมีที่แนะนำ คือ 15-7-18 หรือ 15-15-15 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ โดยใส่ปุ๋ย 2 ข้างลำต้นรัศมีพุ่มใบแล้วกลบ ใส่ปุ๋ยครั้งเดียวเมื่ออายุ 1 เดือนหลังจากปลูก และต้องใส่ปุ๋ยเคมีในขณะที่ดินมีความชื้นและต้องกลบปุ๋ยด้วย ถ้าไม่กลบปุ๋ยอาจสูญเสียปุ๋ยมากเกิน 50 เปอร์เซ็นต์ สำหรับการเก็บเกี่ยวควรเลือกเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังในช่วงที่เหมาะสมตั้งแต่ อายุ 10-18 เดือน ควรงดเว้นการเก็บเกี่ยว มันสำปะหลังในช่วงฝนแรก คือ ตั้งแต่เดือนเมษายนถึงมิถุนายน เนื่องจากมันสำปะหลังแตกใบอ่อน จะให้เปอร์เซ็นต์ แป้งต่ำ

8. การให้น้ำมันสำปะหลัง ควรให้น้ำในช่วงฤดูแล้งเพื่อจะช่วยให้มันสำปะหลังมีการเจริญเติบโตอย่างต่อ เนื่องหรือทำให้ใบร่วงน้อยที่สุด มีผลทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นแต่ละเดือนอย่างก้าวกระโดด ดังนั้น การปลูกมันสำปะหลังเพื่อให้ได้ผลผลิตสูงสุด ต้องปลูกในช่วงต้นฤดูฝน คือ ตั้งแต่เดือนมีนาคมถึงเมษายน มีการให้น้ำในช่วง สองเดือนแรกของการเจริญเติบโตตามความจำเป็น และให้น้ำเต็มที่ในช่วงฤดูแล้ง 5 เดือน ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนถึงมีนาคม เก็บเกี่ยวที่อายุ 12 เดือน ผลผลิตจะเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเท่าตัว

รายละเอียดสอบถามได้ที่สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร โทร. 0-2579-0603 และ 0-2940-5492 และศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง 0-3868-1515 ทุกวันในเวลาราชการ.

นวลศรี โชตินันทน์
ข้อมูลจาก: dailynews.co.th/ web/html/popup_news/ Default.aspx?Newsid=162916 &NewsType=1&Template=1
อ่าน:3053
ยากำจัดเพลี้ยอ่อนคะน้า ยากำจัดหนอนในคะน้า ยาป้องกันกำจัด โรคคะน้าเน่าคอดิน โรคราน้ำค้างในคะน้า และปุ๋ยสำหรับเพิ่มผลผลิตคะน้า
ยากำจัดเพลี้ยอ่อนคะน้า ยากำจัดหนอนในคะน้า ยาป้องกันกำจัด โรคคะน้าเน่าคอดิน โรคราน้ำค้างในคะน้า และปุ๋ยสำหรับเพิ่มผลผลิตคะน้า
เพลี้ยอ่อนคะน้า

ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ของเพลี้ยอ่อน จะดูดกินน้ำเลี้ยงยอดคะน้า ดูกินน้ำเลี้ยงรวมทั้งใบอ่อน และใบแก่ของคะน้า อาการที่แสดงให้เห็นคือ คะน้ายอดหงิก คะน้าใบหงิก หากคะน้าโดนเพลี้ยอ่อนเข้าทำลายมาก ใบจะมีสีเหลือง

การป้องกันและกำจัด เพลี้ยอ่อนคะน้า ทำได้โดยการฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนคะน้า หนอนใยผักในคะน้า

ตัวเมียของหนอนใยผักคะน้า จะวางไข่ได้ทั้งบนใบ และใต้ใบคะน้า ส่วนใหญ่มักจะเลือกวางไข่ไว้ใต้ใบ ลักษณะของหนอนใยผักนั้น หัวแหลม ท้ายแหลม ลำตัวเรียวยาว ตรงท้ายมีปุ่มแยกออกเป็นสองแฉก การทำลายของ หนอนใยผักคะน้า หนอนจะเข้ากัดกินผิวใบคะน้า ทำให้ใบคะน้ามีลักษณะเป็นรูพรุน

ป้องกันและกำจัด หนอนในคะน้า ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

คะน้าเน่าคอดิน โรคเน่าคอดินของคะน้า

เกิดจากเชื้อรา Pythium sp. หรือ Phytophthora sp. อาการที่แสดงคือ ต้นคะน้าจะเป็นแผลช้ำที่โคนต้น ติดกับดิน เนื้อเยื้อตรงแผล นะเน่าและค่อยๆแห้ง ต้นกล้าหักพับ และเหี่ยวแห้งตาย

โรคราน้ำค้างที่เกิดขึ้นกับคะน้า

เกิดจากเชื้อรา Peronospora parasitica อาการที่แสดงให้พบคือ คะน้าจะมีใบจุดสีดำ รวมกับเป็นกลุ่ม กระจายทั่วใบ สามารถลุกลามไปใบข้างเคียงได้เรื่อยๆ หากกระจายจนเต็มใบแล้ว จะทำให้ คะน้าใบเหลือง แห้ง และใบร่วง

ป้องกันและกำจัด โรคคะน้าเน่าคอดิน โรคราน้ำค้างในคะน้า และโรคคะน้าต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่นด้วย ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งโตแตกใบคะน้า ฉีดพ่นด้วย FK-1 ช่วยให้คะน้าโตไว ได้ผลผลิตสูงขึ้น

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

อ่าน:3090
885 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 88 หน้า, หน้าที่ 89 มี 5 รายการ
|-Page 87 of 89-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
เงาะ การป้องกันกำจัดหนอนเงาะ และป้องกันราแป้ง กำจัดเพลี้ย ในเงาะ
Update: 2564/04/20 10:02:29 - Views: 3324
มันสำปะหลัง ใบไหม้ ใบเหลือง โรคแอนแทรคโนส โรคเชื้อราต่างๆ ป้องกันและกำจัดด้วย ไอเอส และ เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ด้วย FK-T
Update: 2567/03/16 14:20:23 - Views: 94
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค - บำบัดดินและสู่การเจริญเติบโตของดอกกุหลาบ
Update: 2567/02/13 09:50:38 - Views: 160
ฮิวมิค แอซิด: ฟาร์มิคที่เรียกฟื้นฟูระบบรากและปรับปรุงดิน สำหรับต้นน้อยหน่า
Update: 2567/02/13 09:36:55 - Views: 140
คู่มืองป้องกันและกำจัดโรคในลำไย โรคราต่างๆ ใบไหม้ ราแป้ง ราสนิม กิ่งแห้ง และราอื่นๆ
Update: 2566/04/30 08:55:27 - Views: 16394
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราน้ำฝน ในลำไย ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/06 10:34:36 - Views: 3068
ต้นหม่อน ใบไหม้ ใบจุด รากเน่า ราสนิม เชื้อราต่างๆ ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วยปุ๋ย FK-T
Update: 2567/04/08 10:49:55 - Views: 70
หนอนหัวดำ หนอนศัตรูมะพร้าว การป้องกันและกำจัด หนอนหัวดำ
Update: 2564/08/17 02:16:27 - Views: 3211
ปุ๋ยอ้อย ปุ๋ยเร่งโตแตกกอ ปุ๋ยเพิ่มความหวาน ปุ๋ยเพิ่มผลิตอ้อย ยากำจัดหนอนกออ้อย
Update: 2564/10/25 22:30:27 - Views: 2962
คู่มือป้องกันกำจัดโรคราต่างๆในแมคคาเดเมีย แมคคาเดเมียใบไหม้ ใบจุด ราสนิม ราต่างๆ
Update: 2566/05/01 15:18:59 - Views: 16865
ยารักษาโรคพืช กำจัดโรคราดำ ในมะม่วง โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด(ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)1,200ลิตร
Update: 2566/05/30 10:37:10 - Views: 3027
ยาฆ่าเพลี้ย เพลี้ยไฟ แมลงจำพวกปากดูด ใน ฟักทอง เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/02/28 14:32:42 - Views: 3031
โรคราแป้งองุ่น และ โรคราน้ำค้างองุ่น
Update: 2564/08/21 23:42:16 - Views: 3356
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน มัลเบอร์รี เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/22 16:02:56 - Views: 2942
คู่มือป้องกันกำจัดโรคเชื้อราต่างๆในดาวเรือง ดาวเรืองใบไหม้ ดอกไหม้ ดอกเป็นจุด ราแป้ง ฯลฯ
Update: 2566/05/01 10:27:34 - Views: 17067
เพลี้ยในแตงกวา: กลยุทธ์และวิธีการควบคุมเพื่อรักษาความสมบูรณ์และผลผลิต
Update: 2566/11/14 12:34:04 - Views: 312
ยาฆ่าเพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด ใน ลำไย เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/03/10 10:20:20 - Views: 2992
หนอนชอนใบส้ม หนอนเจาะผลส้ม หนอนผีเสื้อ หนอนต่างๆในพืชตระกูลส้ม ป้องกันดีที่สุด พบระบาดให้เร่งกำจัด
Update: 2566/11/06 08:56:06 - Views: 8947
การป้องกัน กำจัด โรคแอนแทรคโนสในทุเรียน
Update: 2563/11/27 08:49:56 - Views: 5147
ธนาคารน้ำใต้ดินคืออะไร?
Update: 2564/08/30 10:24:36 - Views: 3134
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022