[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - แมลงศัตรูพืช
814 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 81 หน้า, หน้าที่ 82 มี 4 รายการ

มาคา กำจัด เพลี้ยทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน เพลี้ยไฟทุเรียน เพลี้ยจักจั่นทุเรียน มาคา + FK-1 ฟื้นฟู บำรุง 1ชุด ผสมน้ำได้ 400ลิตร
มาคา กำจัด เพลี้ยทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน เพลี้ยไฟทุเรียน เพลี้ยจักจั่นทุเรียน มาคา + FK-1 ฟื้นฟู บำรุง 1ชุด ผสมน้ำได้ 400ลิตร
มาคา เป็นยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ กำจัดแมลงศัตรูพืช
สกัดจากพืช_ 100% จากธรรมชาติ ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

*การใช้มาคากำจัด เพลี้ย และแมลงศัตรูพืช กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน

ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของ เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน จะดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบอ่อนของทุเรียน ทำให้ใบอ่อนทุเรียน มีอาหารเป็นจุดสีเหลือง ไม่โต เล็กผิดปกติ ทำให้ใบทุเรียนหงิกงอ แห้ง ร่วง และยังทำให้ยอดทุเรียนแห้งตายได้ เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน สร้างความเสียหายให้กับเกษตรกร ผู้ปลูกทุเรียนเป็นจำนวนมาก

เพลี้ยไฟทุเรียน

ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของ เพลี้ยไฟทุเรียน จะทำลายทุเรียนในระยะใบอ่อน เพลี้ยไฟ จะดูดกินน้ำเลี้ยง ตามเส้นกลางใบทุเรียน ทำให้เส้นกลางใบทุเรียน กลายเป็นสีน้ำตาล ส่งผลให้ใบหงิก และทำให้ใบอ่อนทุเรียนร่วง นอกจากนั้นยังเข้าทำลายดอกทุเรียน อาศัยอยู่ตามเกสรดอก และกลีบดอกทุเรียน ทำให้การผสมเกสรไม่สมบูรณ์ ทุเรียนดอกร่วง ทำให้ทุเรียนติดผลน้อย ทุเรียนไม่ติดผล และ เพลี้ยไฟทุเรียน ยังเข้าทำลายผลอ่อนของทุเรียน จะพบตามซอกหนามทุเรียน ทำให้หนาวทุเรียนติดกัน เมื่อทุเรียนลูกค้า จะเป็นหนามจีบ หรือ ทุเรียนหนามติด

เพลี้ยจักจั่นทุเรียน เพลี้ยจักจั่นฝอย

เพลี้ยจักจั่นฝอย ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัย จะดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบทุเรียน ทำให้ ทุเรียนใบหงิก บิด งอ เสียรูปทราง มีอาการ ทุเรียนใบไหม้ ที่ขอบใบ การระบาดในช่วงใบอ่อน จำทำให้ ทุเรียนใบร่วง

แมลงศัตรูพืช ที่ใช้ มาคา ได้

#เพลี้ยไฟทุเรียน #เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน #เพลี้ยจักจั่นฝอย #เพลี้ยจักจั่นทุเรียน #เพลี้ยไฟ #แมลงหวี่ขาว #เพลี้ยไก่แจ้ #เพลี้ยอ่อน #เพลี้ยกระโดด #เพลี้ยจักจั่น #เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล

#Aphid #Insect #Aphididae #Aphidoidea #greenfly #blackfly #Drosophila #whitefly

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง (เลือกแยกซื้อได้)

http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ มาคา และ FK-1 http://www.farmkaset..link..
มาคา อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ มาคา และ FK-1 http://www.farmkaset..link..
มาคา อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..


ข้อมูลและอัตราผสมใช้

🦗 ฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ กำจัด เพลี้ย แมลงหวี่ขาว แมลงพาหะของโรค และแมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 1ช้อนโต๊ะ ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ มาคา ได้เลย

🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🦗ข้อมูล มาคา

มาคา เป็นยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ กำจัดแมลงศัตรูพืช
สกัดจากพืช_ 100% จากธรรมชาติ ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค
*การใช้มาคากำจัด เพลี้ย และแมลงศัตรูพืช กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
ป้องกัน กำจัด หนอนชอนใบส้ม หนอนชอนใบมะนาว หนอนชอนใบในทุกพืช ไอกี้-บีที ตายช้ากว่ายาเคมี แต่ตายยกรัง
ป้องกัน กำจัด หนอนชอนใบส้ม หนอนชอนใบมะนาว หนอนชอนใบในทุกพืช ไอกี้-บีที ตายช้ากว่ายาเคมี แต่ตายยกรัง
หนอนงง ปรับตัวไม่ทัน เพราะเจอชีวภัณฑ์ แบคทีเรียสองสายพันธุ์ Kustaki และ Aizawai ออกฤทธิ์ทำลายหนอนพร้อมกัน ทำให้ตายใน 24-48 ชั่วโมง ตายช้ากว่ายาเคมี แต่ตายยกรัง เนื่องจากหนอนที่รับ บีที เข้าไป กลับไปตายรัง และพวกเดียวกันกินกินซาก จึงตายต่อกัน เนื่องจาก บีที เป็น ชีวภัณฑ์ ที่ขยายตัวตกผลึกในท้องหนอน และออกฤทธิ์เฉพาะกับหนอนเท่านั้น

หนอนชอนใบ เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืน มีขนาดเล็กมาก ลำตัวสีหม่น ปีกขาวนวล เพศเมียจะวางไข่หลังผสมพันธุ์ใน 24 ชั่วโมง ที่เส้นใต้ใบพืช ในเวลาไม่เกิน 3 วัน หลังจากฟักออก จะเป็นตัวหนอน กัดกิน ชอนไชอยู่ระหว่างผิวใบพืช รอยการทำลายจะอยู่ด้านใต้ใบ มากกว่าด้านบนใบ สังเกตุได้ง่าย จะเห็นใบพืช เป็นลาย เป็นเส้นทางคดเคี้ยวไปมา

หากระบาดมาก หนอนจะเจาะเข้าทำลายกิ่งอ่อน และผลอ่อนของพืชด้วย

กำจัดหนอน ด้วย ไอกี้-บีที ปลอดภัยแน่นอน เพราะ บีที ไม่ออกฤทธิ์ กับ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม คนและสัตว์เลี้ยง จึงปลอดภัย 100%

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada ไอกี้-บีที http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee ไอกี้-บีที http://www.farmkaset..link..


ข้อมูลและอัตราผสมใช้

🐛 ไอกี้ อัตตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🐛 ข้อมูลจำเพาะ ไอกี้-บีที

ใช้แก้ปัญหา : โรคหนอนกออ้อย หนอนกอในนาข้าว หนอนห่อใบข้าว หนอนม้วนใบ หนอนทรายในสวนยางพารา หนอนชักใยปาล์มน้ำมัน หนอนปลอกใหญ่ หนอนเจาะฝักข้าวโพด หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด

ประกอบด้วยจุลินทรีย์สายพันธ์ บีที (BT) ที่มีประสิทธิภาพสูง คือ Bacillus thuringiensis var. aizawai และ Bacillus thuringi
ฆ่าหนอน กำจัดหนอน ปลอดสารพิษ

ไอกี้-บีที บีที
ชื่อสามัญ : บาซิลลัส ทูริงเยนซิส [ Bacillus truringiensis ] กลุ่มสารเคมี : Bacterium
สารสำคัญ : Bacillus thuringiensis var. kurstaki

นำหนักสุทธิ : 500 กรัม

ฆ่าหนอน กำจัดหนอนแมลงศัตรูพืชด้วยสารชีวินทรีย์ประสิทธิภาพสูง เอนไซม์สกัด บีที เพิ่มศักยภาพในการกำจัดแมลงศัตรูพืชให้กับเกษตรกร โดยการรวมประสิทธิภาพการกำจัดแมลงของเชื้อ Bacillus thuringiensis 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ Kustaki และ Aizawai เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อเพิ่มการปลดปล่อยสารพิษในการทำลายแมลงศัตรูพืช ด้วยการสร้างสารพิษผลึกโปรตีน delta-endotoxins ที่มีอยู่ในเชื้อ Bacillus thuringiensis เมื่อแมลงศัตรูพืชได้รับสารพิษนี้เข้าไป จะทำให้เกิดพิษในกระเพาะอาหารเป็นอัมพาต ลำตัวเหี่ยวแห้ง และตายภายในเวลา 24-48 ชั่วโมง โดยไม่เป็นอันตราต่อสิ่งแวดล้อม แมลงศัตูธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ รวมทั้งปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

วิธีการใช้
อัตราส่วนการใช้ 40-60 กรัม ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่ว ทุกๆ 4-7 วัน

วิธีเก็บรักษา
ต้องเก็บไว้ในภาชนะที่ปิดแน่นและมีฉลากปิดมิดชิด ห่างจากแสงแดด เด็ก สัตว์เลี้ยง และอาหาร
ป้องกัน กำจัด เพลี้ยอ่อนข้าวโพด เพลี้ยต่างๆ และ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ใช้ได้กับพืชทุกชนิด (1ลิตร ผสมน้ำได้ 400ลิตร)
ป้องกัน กำจัด เพลี้ยอ่อนข้าวโพด เพลี้ยต่างๆ และ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ใช้ได้กับพืชทุกชนิด (1ลิตร ผสมน้ำได้ 400ลิตร)
มาคา เป็นยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ กำจัดแมลงศัตรูพืช
สกัดจากพืช_ 100% จากธรรมชาติ ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

เพลี้ยอ่อนข้าวโพด (Corn leaf aphid : Rhopalosiphum maidis Fitch.)

มักจะพบเกาะเป็นกลุ่ม ๆ ดูดกินน้ำเลี้ยงจากส่วนต่าง ๆ ของต้นข้าวโพด เช่น ยอด กาบใบ โคนใบ กาบฝัก และจะพบมากที่สุดบริเวณช่อดอกทำให้บริเวณที่ถูกดูดกินแสดงอาการเป็นจุดสีเหลืองปนแดง ถ้าช่อดอกมีเพลี้ยเกาะกินอยู่มากจะทำให้ช่อดอกไม่บาน การติดเมล็ดน้อยและทำให้เมล็ดแก่เร็วทั้ง ๆ ที่เมล็ดยังไม่เต็มฝัก นอกจากนี้น้ำหวานที่เกิดจากเพลี้ยอ่อนยังดึงดูดให้แมลงศัตรูชนิดอื่นของข้าวโพด เช่น หนอนเจาะฝักหนอนเจาะลำต้นข้าวโพด มาวางไข่ที่ไหมข้าวโพดอีกด้วย

รูปร่างลักษณะของ เพลี้ยอ่อนข้าวโพด

เพลี้ยอ่อนข้าวโพดเป็นแมลงชนิดเล็กเคลื่อนไหวช้า หัวและอกมีขนาดเล็ก ส่วนท้องโตมีรูปร่างคล้ายผลฝรั่ง ตัวเต็มวัยและตัวอ่อนมีลักษณะคล้ายคลึงกันมาก ตัวเต็มวัยมีสีเขียวอ่อนตลอดทั้งตัว และพบทั้งชนิดมีปีกและไม่มีปีก ซึ่งเป็นตัวเมียทั้งหมด โดยปกติพวกที่มีปีกจะมีลำตัวเล็กกว่าพวกที่ไม่มีปีก คือ มีความยาวประมาณ 0.7-2 มิลลิเมตร หัว อก หนวด และขามีสีดำ ส่วนท้องมีสีเขียวอ่อนและจุด ๆ สีดำทั่วไป ตรงส่วนท้ายของลำต้นมีท่อเล็ก ๆ ยื่นออกมาคล้ายหาง 2 อัน ท่อนี้เรียกว่า Cornicle ซึ่งเป็นที่ขับถ่ายน้ำหวาน (Honey Dew) ที่เกิดจากการดูดกินน้ำเลี้ยงจากท่ออาหารของพืชโดยปากที่มีลักษณะเป็นท่อยางคล้ายเข็มฉีดยา เพลี้ยอ่อนขยายพันธุ์โดยการออกลูกเป็นตัว มีเพศเมียเพียงเพศเดียว ตัวอ่อนที่ออกมาใหม่ ๆ มีขนาดเล็กมากจะมองเห็นเป็นเพียงจุดสีเหลืองอ่อน ๆ เพลี้ยอ่อนที่ไม่มีปีกจะลอกคราบไม่เกิน 4 ครั้ง ก็จะเป็นตัวแก่ที่สมบูรณ์ ถ้ามีการลอกคราบครั้งที่ 5 ก็จะเป็นพวกที่มีปีก ซึ่งมักจะเกิดเมื่อพืชอาหารไม่สมบูรณ์ เช่น ใบนั้นมีเพลี้ยเกาะกินอยู่อย่างหนาแน่น ขาดน้ำหรือใบแก่ไป เป็นต้น ระยะเวลาจากตัวอ่อนจนเป็นตัวโตเต็มวัยใช้เวลาประมาณ 12 วัน เมื่อเป็นตัวโตเต็มวัยแล้วก็พร้อมที่จะขยายพันธุ์ได้อีกโดยไม่ต้องผสมพันธุ์ ภายในเวลาประมาณ 5 วัน หลังจากเป็นตัวเต็มวัย เพลี้ยอ่อนตัวหนึ่งจะออกลูกได้ถึง 45 ตัว แต่โดยเฉลี่ยแล้วประมาณ 19 ตัว ตัวเต็มวัยชนิดไม่มีปีกมีขนาดยาวประมาณ 2-2.3 มิลลิเมตรเท่านั้น ถ้ามีอาหารตลอดทั้งปี ในปีหนึ่งจะมี 30-40 รุ่น

ที่มาของข้อมูล เพลี้ยอ่อนข้าวโพด : สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช

แมลงศัตรูพืช ที่ใช้ มาคา ได้

#เพลี้ยไฟ #แมลงหวี่ขาว #เพลี้ยไก่แจ้ #เพลี้ยอ่อน #เพลี้ยกระโดด #เพลี้ยจักจั่น #เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล

#Aphid #Insect #Aphididae #Aphidoidea #greenfly #blackfly #Drosophila #whitefly

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada มาคา http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee มาคา http://www.farmkaset..link..

ข้อมูลและอัตราผสมใช้

🦗 ฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ กำจัด เพลี้ย แมลงหวี่ขาว แมลงพาหะของโรค และแมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🦗ข้อมูล มาคา

มาคา สกัดจากธรรมชาติ ที่ถูกคัดสรรอย่างพิถีพิถัน โดยใช้หลักการเทคโนโลยีชั้นสูง ในการรวมอัลคาลอยเข้มข้นที่มีประสิทธิภาพสูงเข้าด้วยกัน เพื่อป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช อีกทั้งสามารถยับยั้งการดื้อยาที่เกิดจากการใช้สารเคมีเป็นเวลานาน เนื่องจาก มาคา มีวิธีการออกฤทธิ์แบบไม่เจาะจง จึงทำให้แมลงไม่สามารถปรับตัวต้านทานได้ รวมทั้งสามารถฉีดพ่นได้ในช่วงก่อนการเก็บเกี่ยว โดยปราศจากสารพิษตกค้างในดินและน้ำ ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

*การใช้มาคากำจัด เพลี้ย และแมลงศัตรูพืช กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

MAKA : Multiple Alkaloid Agent Insecticide

Natural Organic Plant Alkaloids extracted from specially selected plants using high technology. Highly concentrated alkaloids are extremely effective in eliminating and repelling insects. They protect the plants from further insect attacks. No insecticide resistance build-ups as the active ingredients are non-specific in action. No poisonous residues – safe to spray before harvest. No contamination of soil and water. No user and consumer poisonings.

Elimination Alkaloids act by destroying the nervous_ metabolism system of insects and haemocytes. Natural active insecticidal oil cover and block the breathing pores of insects. Kill ratio is high if used according to manufacturer’s instructions.

Repellent Odor and Active ingredients of Alkaloids effectively coat surfaces of plants The Ionic charges and nerve acting alkaloid will repel insects from attacking plants.

Protection MAKA Alkaloids will cover and stick to the leaves and plant surfaces to provide continuous repelling protection for extended periods.

Protect nad Eliminate pest
– Brown Planthopper (Nilaparvata lugens)
– Zigzag Leafhopper (Recilla dorsalis)
– Green Leafhopper (Nephotettix spp.)
– Rice Thrips (Balliothrips biformis)
ข้อกำหนด การนำพืชจากต่างประเทศ เข้าประเทศญี่ปุ่น
ข้อกำหนด การนำพืชจากต่างประเทศ เข้าประเทศญี่ปุ่น
ข้อกำหนดการนำพืชจากต่างประเทศเข้าประเทศญี่ปุ่น
ระบบตรวจกักกันโรคพืช
กรมป้องกันโรคระบาดพืช “ตรวจสอบการนำเข้า” เพื่อป้องกันโรคและแมลงศัตรูพืชจากต่างประเทศไม่ให้เข้ามาในประเทศญี่ปุ่น และด้วยวัตถุประสงค์เดียวกันเรา “ตรวจสอบการนำออก”

เพื่อตอบเงื่อนไขการกักกันโรคพืชตามการเรียกร้องของประเทศปลายทาง
การนำพืชจากต่างประเทศเข้ามาหรือนำออกจากประเทศญี่ปุ่นต้องรับการตรวจกักกันโรคพืช

ข้อกำหนดการนำพืชจากต่างประเทศเข้าประเทศญี่ปุ่น
การนำพืชจากต่างประเทศเข้าประเทศญี่ปุ่นด้วยการขนส่งสินค้า เป็นสัมภาระติดตัว ส่งไปรษณีย์ ฯลฯ ไม่ว่าจะมีปริมาณมากน้อยเพียงใดหรือด้วยวัตถุประสงค์ใดก็ตาม ต้องเข้ารับการตรวจสอบการนำเข้าเพื่อป้องกันไม่ให้มีโรคและแมลงศัตรูพืชติดกับพืชเข้ามาในประเทศญี่ปุ่น

เมื่อนำพืช เข้ามาในประเทศญี่ปุ่น ตามกฎหมายจะต้องมีการยื่นใบรับรองสุขอนามัยพืชที่ออกโดยรัฐบาลของประเทศผู้ส่งออก และมีการตรวจสอบการนำเข้าตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพืช
หากไม่มีการแสดงใบรับรองสุขอนามัยพืช พืชจะถูกนำไปกำจัด อาจบังคับใช้บทลงโทษตามกฎหมายในกรณีที่มีการละเมิด เช่น การนำเข้าโดยปราศจากใบรับรองสุขอนามัยพืชหรือปราศจากการตรวจสอบการนำเข้าพืช: ท่านจะถูกจำคุกเป็นเวลาสูงสุดสามปีหรือถูกปรับสูงสุดหนึ่งล้านเยน

เราป้องกันการเข้ามาของโรคและแมลงศัตรูพืชโดยกำหนดหมวดหมู่ข้อกำหนดตามประเทศที่มีโรคหรือแมลงศัตรูพืช และพืชที่มีโอกาสติดโรคหรือแมลงศัตรูพืชนั้น ๆ ซึ่งหมวดหมู่ข้อกำหนดดังกล่าวมีดังต่อไปนี้



สิ่งที่ห้ามนำเข้า
ห้ามนำเข้าสิ่งที่คาดว่าจะเกิดความเสียหายอย่างใหญ่หลวงต่อผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร ฯลฯ หากหลุดเข้าประเทศมาได้

รวมถึงพืชจากประเทศหรือภูมิภาคที่มีโรคหรือแมลงศัตรูพืชที่ยากต่อการตรวจสอบในขณะนำเข้าประเทศ และพืชดังกล่าวที่มีโอกาสติดโรคหรือแมลงศัตรูพืชนั้น

และห้ามนำเข้าสิ่งต่อไปนี้จากทุกประเทศและภูมิภาคทั่วโลก

ดิน
พืชที่มีดินติดมาด้วย
โรคและแมลงศัตรูพืช
ฟางข้าวและแกลบข้าว (ยกเว้นคาบสมุทรเกาหลีและไต้หวัน)
นอกจากนี้ มีผักผลไม้ ฯลฯ ที่ห้ามนำเข้าจากประเทศผู้ผลิตหรือประเทศและภูมิภาคต้นทางบางแห่ง (สิ่งที่ห้ามนำเข้า) กรุณาตรวจสอบจาก “ฐานข้อมูลเงื่อนไขการนำเข้า” (ภาษาอังกฤษ)!

กรุณาดูแผ่นพับที่ระบุสิ่งที่ห้ามนำเข้าหลัก



สิ่งที่ต้องรับการตรวจสอบการนำเข้า
พืชต่อไปนี้ที่ไม่ถูกจัดว่าเป็นสิ่งที่ห้ามนำเข้า ต้องเข้ารับการตรวจสอบในขณะนำเข้า

และมีส่วนหนึ่งที่ต้องรับการตรวจหรือดำเนินมาตรการกักกันพิเศษที่ประเทศต้นทางมาก่อนด้วย

ข้อกำหนดการนำเข้าจะแตกต่างกันตามประเภทของพืช ประเทศผู้ผลิต และประเทศต้นทาง กรุณาตรวจสอบรายการหลักจาก “ฐานข้อมูลเงื่อนไขการนำเข้า” (ภาษาอังกฤษ)!



ตัวอย่างประเภทพืชที่ต้องรับการตรวจสอบการนำเข้า

ต้นกล้า หัว/หน่อ เมล็ด
ดอกไม้
ผักผลไม้
ธัญพืช ถั่ว
วัสดุจากไม้
วัตถุดิบเครื่องปรุง วัตถุดิบสมุนไพร เป็นต้น
search here thai

検索ボタン search button

検索キャラクター図


สิ่งที่ไม่ต้องรับการตรวจสอบการนำเข้า
สินค้าแปรรูปที่ใช้พืชเป็นวัตถุดิบ ซึ่งไม่มีโรคและแมลงศัตรูพืช หรือไม่มีโอกาสที่โรคและแมลงศัตรูจะยังคงอยู่ได้ อาจไม่จำเป็นต้องรับการตรวจสอบการนำ

สำหรับรายละเอียด กรุณาสอบถามกรมป้องกันโรคระบาดพืช



กระบวนการนำเข้าพืชจากต่างประเทศ (กรณีนำเข้าเป็นสัมภาระติดตัวเข้ามา)
พืชทั้งหมด รวมถึงสิ่งที่ซื้อจากร้านปลอดภาษีหรือของฝากที่มีปริมาณเพียงเล็กน้อยก็ตาม ต้องรับการตรวจสอบการนำเข้าเพื่อตรวจว่าไม่มีโรคและแมลงศัตรูพืชใด ๆ

กรุณาเข้ารับการตรวจสอบการนำเข้าที่เคาน์เตอร์ตรวจกักกันโรคพืชก่อนเข้ารับการตรวจศุลกากร

ตรวจคนเข้าเมือง → ตรวจสอบการนำเข้าพืช (เคาน์เตอร์ตรวจกักกันโรคพืช) → ตรวจศุลกากร





กรุณายื่นใบรับรองการตรวจ (หรือเรียกว่า ใบรับรองปลอดโรคพืช หรือ phytosanitary certificate และอาจเป็นแบบแท็กสำหรับติดก็ได้) ที่ออกโดยหน่วยงานกักกันโรคพืชของประเทศต้นทาง ให้เจ้าหน้าที่ป้องกันโรคระบาดพืชที่เคาน์เตอร์ตรวจกักกันโรคพืช

เมื่อผ่านการตรวจสอบการนำเข้าแล้วจะได้ประทับ “ตรารับรองการผ่านการตรวจพืช” พืชที่ไม่มีตรานี้จะเข้ารับการตรวจศุลกากรไม่ได้

ทั้งนี้ มีพืชที่ไม่จำเป็นต้องใช้ใบรับรองการตรวจด้วย สำหรับรายละเอียด กรุณาสอบถามกรมป้องกันโรคระบาดพืช

หากนำเข้ามาโดยไม่รับการตรวจ อาจถูกลงโทษตามกฎหมายป้องกันโรคระบาดพืชของประเทศญี่ปุ่น



คำถามที่พบบ่อย
Q1: การตรวจสอบการนำเข้าใช้เวลาเท่าใด
และมีค่าใช้จ่ายหรือไม่
A1: ต่างกันตามประเภทและปริมาณของพืช แต่ส่วนมากจะใช้เวลาไม่นาน
และไม่มีค่าใช้จ่าย

Q2: หากนำเข้าพืชแบบส่งมาแยกต่างหาก ต้องใช้อะไรบ้าง
A2: ในกรณีนี้ กรุณาขอให้ตัวแทนดำเนินการด้านศุลกากร (บริษัทขนส่งระหว่างประเทศ) ยื่น “ใบรับรองการตรวจ (หรือเรียกว่า ใบรับรองปลอดโรคพืช หรือ phytosanitary certificate)” ที่ออกโดยหน่วยงานกักกันโรคพืชของประเทศต้นทาง ให้กรมป้องกันโรคระบาดพืชในขณะตรวจสอบสิ่งที่ส่งมาเท่าที่จะเป็นไปได้

Q3: มีข้อควรระวังในการนำพืชเข้ามาทางไปรษณีย์หรือบริการส่งสิ่งของระหว่างประเทศหรือไม่
A3: กรุณาขอให้ผู้ส่งระบุอย่างชัดเจน (เช่น “PLANT” ฯลฯ) ในใบศุลกากร (Declaration Form) ที่แนบมากับพัสดุและบนบรรจุภัณฑ์เพื่อให้ทราบว่ามีพืชบรรจุอยู่ และสามารถดำเนินการตรวจสอบการนำเข้าของพัสดุได้อย่างถูกต้อง นอกจากนี้ กฎหมายป้องกันโรคระบาดพืชห้ามนำเข้าพืชโดยใช้จดหมายหรือไปรษณีย์แบบอื่นที่ไม่ใช่พัสดุไปรษณีย์
บริการส่งสิ่งของระหว่างประเทศถือเป็นการขนส่งสินค้าทางอากาศ แต่มีบริษัทผู้ให้บริการส่งสิ่งของระหว่างประเทศที่ไม่รับส่งพืชที่ต้องรับการตรวจสอบการนำเข้าอยู่ด้วย ขอแนะนำให้ตรวจสอบจากเว็บไซต์ ฯลฯ ของผู้ให้บริการล่วงหน้า

Q4: ต้องขอรับ “ใบอนุญาตนำเข้า” ที่ออกโดยกรมป้องกันโรคระบาดพืชของญี่ปุ่นก่อนนำเข้าพืชหรือไม่
A4: บางประเทศใช้ระบบการอนุญาตนำเข้าโดยต้องขอรับ “ใบอนุญาตนำเข้า (import permit)” ที่ออกโดยหน่วยงานกักกันโรคพืชของประเทศตนก่อน จึงจะนำพืชเข้าได้ แต่ระบบการกักกันโรคพืชของญี่ปุ่นไม่ได้ใช้ระบบการอนุญาตนำเข้าดังกล่าว จึงไม่จำเป็นต้องขอรับ “ใบอนุญาตนำเข้า” ล่วงหน้า

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
การควบคุมโรคพืช และแมลงศัตรูพืช ด้วยสารสกัดสมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพ
การควบคุมโรคพืช และแมลงศัตรูพืช ด้วยสารสกัดสมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพ
ในปัจจุบันสภาพแวดล้อมก าลังเข้าขั้นวิกฤติ สืบเนื่องมาจากการกระท าของมนุษย์
โดยเฉพาะการใช้สารเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิต และการก าจัดศัตรูพืช ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อ
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ก่อให้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน น้ า และระบบ
นิเวศวิทยา การท ากสิกรรมธรรมชาติ เพื่อผลิตอาหารที่มีคุณภาพ ถูกหลักอนามัย ปลอดภัย และ
ประหยัดต้นทุนนั้น เกษตรกรจ าเป็นต้องหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี และหันมาใช้สารสกัดจาก
สมุนไพรทดแทนถึงแม้ว่าสารสกัดสมุนไพร จะมีผลในการท าลายแมลงที่เป็นประโยชน์พวกแมลงตัว
ห้ า หรือแมลงตัวเบียนบ้างก็ตาม แต่ก็น้อยกว่าสารเคมีเพราะพิษจากสมุนไพรสลายตัวได้รวดเร็ว
และไม่ตกค้างนาน การใช้สารสมุนไพรทดแทนการใช้สารเคมี จะมีความจ าเป็นในช่วงแรก ๆ ของ
การเปลี่ยนแปลง เพราะเกษตรกรใช้สารเคมีติดต่อกันมาเป็นเวลานาน จนท าให้ความสมดุล
ระหว่างแมลงศัตรูพืช กับแมลงที่เป็นประโยชน์สูญเสียไป เมื่องดสารเคมี และใช้สารสมุนไพร
ทดแทนไปสักระยะจนสามารถอนุรักษ์ และเพิ่มจ านวนประชากรของแมลงที่เป็นประโยชน์ได้มาก
จนเกิดความสมดุลภายในแปลงได้แล้วจึงค่อย ๆ ลดการใช้สารสมุนไพรลง โดยใช้เฉพาะเท่าที่
จ าเป็นเท่านั้น การใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในคน สัตว์ และพืช การน าสมุนไพรมาใช้ในการ
ควบคุมโรคนั้น ควรมีความเข้าใจพื้นฐานของฤทธิ์ยาสมุนไพร และสรรพคุณของวัตถุนานาชนิด ที่
จะน ามาใช้ปรุงเป็นยาเสียก่อน โดยสรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิดนั้นจะขึ้นอยู่กับรสของสมุนไพร
นั้น ๆ รสยาแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1 ยารสประธาน หมายถึง ยาที่ปรุงเป็นต ารับแล้ว แบ่งเป็น 3 รส คือ รสเย็น รส
ร้อน และรสสุขุม
2 ยา 9 รส หมายถึง สรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิด คือ
1) รสฝาด สรรพคุณ ใช้ในการสมานแผลต่าง ๆ
2) รสหวาน สรรพคุณ ซึมซาบไปตามผิว
3) รสเบื่อเมา สรรพคุณ แก้พิษ ดับพิษโลหิต
4) รสขม สรรพคุณ แก้ทางโลหิตและดี
5) รสมัน สรรพคุณ เป็นยาอายุวัฒนะ
6) รสหอมเย็น สรรพคุณ บ ารุงหัวใจ บ ารุงโลหิต
7) รสเค็ม สรรพคุณ ฟอกโลหิต ดับพิษร้อน
8) รสเปรี้ยว สรรพคุณ บ ารุงเลือด แก้กระหายน้ า
9) รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ แก้โรคลม บ ารุงธาตุไฟ
และบางต ารายังได้เพิ่มอีก 1 รส คือ รสจืด สรรพคุณ ดับพิษ แก้ไข้ ขับปัสสาวะแก้ทางเตโชธาตุ
พิการ เช่นกันกับการน าสมุนไพรมาใช้ในการควบคุมโรคพืช และแมลงศัตรูพืชนั้น ก็ต้องมีความ
เข้าใจในพื้นฐานของฤทธิ์ยาสมุนไพร และสรรพคุณของวัตถุต่าง ๆ ที่จะน ามาใช้ปรุงเป็นยาป้องกัน
หรือยารักษาโรคพืชรวมทั้งยาฆ่า - ท าลายวงจรชีวิต และป้องกันแมลงด้วยโดยสรรพคุณของตัวยา
สมุนไพรที่ใช้ในการเกษตรสามารถแบ่งออกตามรสของสมุนไพรได้ประมาณ 5 รส คือ
1) สมุนไพรรสขม ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ป้องกันแมลง อาทิเช่น ฟ้าทลายโจร บอระเพ็ด
สะเดา และหญ้าใต้ใบ
2) สมุนไพรรสเบื่อเมา ฆ่าหนอนเพลี้ย แมลงอื่น ๆ อาทิเช่น หางไหล หนอนตาย
หยาก ขอบชะนางแดง - ขาว ใบน้อยหน่า สลัดได พญาไร้ใบ แสยก และเมล็ดมะกล่ า
3) สมุนไพรที่มีรสฝาด แก้เชื้อราโรคพืช อาทิเช่น เปลือกแค เปลือกมังคุด ใบฝรั่ง
และใบทับทิม
4) สมุนไพรหอมระเหย ไล่แมลง เปลี่ยนกลิ่นต้นพืช อาทิเช่น ตะไคร้หอม สาบเสือ
โหระพา กะเพรา ผักชี กะทกรก สาบแร้งสาบกา และผักแพรวแดง
5) สมุนไพรที่มีรสเปรี้ยว ไล่แมลง แสบร้อน อาทิเช่น เปลือกส้ม มะกรูด มะนาว และ
มะขาม
วิธีการปรุง หรือสกัดยาสมุนไพร เพื่อใช้ในการเกษตร สามารถประยุกต์เทคนิคการปรุง หรือสกัด
ยาสมุนไพร เพื่อน ามาใช้ในการเกษตรได้หลายวิธี อาทิเช่น
1) บดผง น าไปโรย หรือคลุมดินป้องกันศัตรูพืช
2) แช่น้ า (1 - 2 วัน) น าไปฉีดพ่น
3) ดองเหล้า (1 - 3 วัน) น าไปฉีดพ่น
4) ต้ม น าไปฉีดพ่น และรดราด
5) สกัดด้วยไอน้ า และความดัน ซึ่งเป็นเทคนิคต้องใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่แข็งแรง
6) การหมัก ซึ่งเป็นวิธีการที่ประหยัด และเก็บรักษาสรรพคุณของยาไว้ได้ทนนาน
นอกจากนี้ยังได้สารฮอร์โมน วิตามินและแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์ ต่อพืชอีกด้วย
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติโป่งแรด ตั้งอยู่เลขที่ 44/2 หมู่ 3 ต าบลพลับพลา อ าเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี
ในปัจจุบันสภาพแวดล้อมก าลังเข้าขั้นวิกฤติ สืบเนื่องมาจากการกระท าของมนุษย์
โดยเฉพาะการใช้สารเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิต และการก าจัดศัตรูพืช ซึ่งมีผลกระทบโดยตรงต่อ
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ก่อให้เกิดปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน น้ า และระบบ
นิเวศวิทยา การท ากสิกรรมธรรมชาติ เพื่อผลิตอาหารที่มีคุณภาพ ถูกหลักอนามัย ปลอดภัย และ
ประหยัดต้นทุนนั้น เกษตรกรจ าเป็นต้องหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมี และหันมาใช้สารสกัดจาก
สมุนไพรทดแทนถึงแม้ว่าสารสกัดสมุนไพร จะมีผลในการท าลายแมลงที่เป็นประโยชน์พวกแมลงตัว
ห้ า หรือแมลงตัวเบียนบ้างก็ตาม แต่ก็น้อยกว่าสารเคมีเพราะพิษจากสมุนไพรสลายตัวได้รวดเร็ว
และไม่ตกค้างนาน การใช้สารสมุนไพรทดแทนการใช้สารเคมี จะมีความจ าเป็นในช่วงแรก ๆ ของ
การเปลี่ยนแปลง เพราะเกษตรกรใช้สารเคมีติดต่อกันมาเป็นเวลานาน จนท าให้ความสมดุล
ระหว่างแมลงศัตรูพืช กับแมลงที่เป็นประโยชน์สูญเสียไป เมื่องดสารเคมี และใช้สารสมุนไพร
ทดแทนไปสักระยะจนสามารถอนุรักษ์ และเพิ่มจ านวนประชากรของแมลงที่เป็นประโยชน์ได้มาก
จนเกิดความสมดุลภายในแปลงได้แล้วจึงค่อย ๆ ลดการใช้สารสมุนไพรลง โดยใช้เฉพาะเท่าที่
จ าเป็นเท่านั้น การใช้ประโยชน์จากสมุนไพรในคน สัตว์ และพืชการน าสมุนไพรมาใช้ในการควบคุม
โรคนั้น ควรมีความเข้าใจพื้นฐานของฤทธิ์ยาสมุนไพร และสรรพคุณของวัตถุนานาชนิด ที่จะ
น ามาใช้ปรุงเป็นยาเสียก่อน โดยสรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิดนั้นจะขึ้นอยู่กับรสของสมุนไพร
นั้น ๆ รสยาแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
ยารสประธาน หมายถึง ยาที่ปรุงเป็นต ารับแล้ว แบ่งเป็น 3 รส ย่อย คือ รสเย็น รสร้อน และ
รสสุขุม
5.6.2 ยา 9 รส หมายถึง สรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิด คือ
1) รสฝาด สรรพคุณ ใช้ในการสมานแผลต่าง ๆ
2) รสหวาน สรรพคุณ ซึมซาบไปตามผิว
3) รสเบื่อเมา สรรพคุณ แก้พิษ ดับพิษโลหิต
4) รสขม สรรพคุณ แก้ทางโลหิตและดี
5) รสมัน สรรพคุณ เป็นยาอายุวัฒนะ
6) รสหอมเย็น สรรพคุณ บ ารุงหัวใจ บ ารุงโลหิต
7) รสเค็ม สรรพคุณ ฟอกโลหิต ดับพิษร้อน
8) รสเปรี้ยว สรรพคุณ บ ารุงเลือด แก้กระหายน้ า
9) รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ แก้โรคลม บ ารุงธาตุไฟ
และบางต ารายังได้เพิ่มอีก 1 รส คือ รสจืด สรรพคุณ ดับพิษ แก้ไข้ ขับปัสสาวะแก้
ทางเตโชธาตุพิการ เช่นกันกับการน าสมุนไพรมาใช้ในการควบคุมโรคพืช และแมลงศัตรูพืชนั้น ก็
ต้องมีความเข้าใจในพื้นฐานของฤทธิ์ยาสมุนไพร และสรรพคุณของวัตถุต่าง ๆ ที่จะน ามาใช้ปรุงเป็น
ยาป้องกัน หรือยารักษาโรคพืชรวมทั้งยาฆ่า - ท าลายวงจรชีวิต และป้องกันแมลงด้วยโดยสรรพคุณ
ของตัวยา
สมุนไพรที่ใช้ในการเกษตรสามารถแบ่งออกตามรสของสมุนไพรได้ประมาณ 5 รส คือ
1) สมุนไพรรสขม ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ป้องกันแมลง อาทิเช่น ฟ้าทลายโจร บอระเพ็ด
สะเดา และหญ้าใต้ใบ
2) สมุนไพรรสเบื่อเมา ฆ่าหนอนเพลี้ย แมลงอื่น ๆ อาทิเช่น หางไหล หนอนตาย
หยาก ขอบชะนางแดง - ขาว ใบน้อยหน่า สลัดได พญาไร้ใบ แสยก และเมล็ดมะกล่ า
3) สมุนไพรที่มีรสฝาด แก้เชื้อราโรคพืช อาทิเช่น เปลือกแค เปลือกมังคุด ใบฝรั่ง
และใบทับทิม
4) สมุนไพรหอมระเหย ไล่แมลง เปลี่ยนกลิ่นต้นพืช อาทิเช่น ตะไคร้หอม สาบเสือ
โหระพา กะเพรา ผักชี กะทกรก สาบแร้งสาบกา และผักแพรวแดง
5) สมุนไพรที่มีรสเปรี้ยว ไล่แมลง แสบร้อน อาทิเช่น เปลือกส้ม มะกรูด มะนาว และ
มะขาม
วิธีการปรุง
หรือสกัดยาสมุนไพร เพื่อใช้ในการเกษตร สามารถประยุกต์เทคนิคการปรุง หรือสกัด
ยาสมุนไพร เพื่อน ามาใช้ในการเกษตรได้หลายวิธี อาทิเช่น
1) บดผง น าไปโรย หรือคลุมดินป้องกันศัตรูพืช
2) แช่น้ า (1 - 2 วัน) น าไปฉีดพ่น
3) ดองเหล้า (1 - 3 วัน) น าไปฉีดพ่น
4) ต้ม น าไปฉีดพ่น และรดราด
5) สกัดด้วยไอน้ า และความดัน ซึ่งเป็นเทคนิคต้องใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่แข็งแรง
6) การหมัก ซึ่งเป็นวิธีการที่ประหยัด และเก็บรักษาสรรพคุณของยาไว้ได้ทนนาน
นอกจากนี้ยังได้สารฮอร์โมน วิตามินและแร่ธาตุที่เป็นประโยชน์ ต่อพืชอีกด้วย
สมุนไพรสูตร (ต ารับ)
ใช้เป็นสารไล่แมลง และบ ารุงพืชที่ก าลังได้รับความนิยมใช้กันโดยทั่วไป กว่า 60
จังหวัดทั่วประเทศ พอจะประมวลประสบการณ์จากศูนย์กสิกรรมธรรมชาติมาบเอื้อง จังหวัดชลบุรี
มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ ศูนย์กสิกรรมสมุนไพรวังจันทร์ จังหวัดระยอง ศูนย์เรียนรู้ชุมชน กลุ่ม
ปุ๋ยชีวภาพ งานวิชาการเกษตร ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน อันเนื่องมาจากพระราชด าริ
จังหวัดจันทบุรี โครงการเกษตรอินทรีย์สุรินทร์ เครือข่ายกสิกรรมไร้สารพิษแห่งประเทศไทย
เครือข่ายชุมชนชาวอโศก พอสรุปได้ดังนี้สารสมุนไพร ก าจัดเพลี้ยชนิดต่าง ๆ เช่น เพลี้ยอ่อน
เพลี้ยไรแดงเพลี้ยแป้ง เพลี้ยหอย เพลี้ยไฟ เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยกระโดดสีน้ าตาล และหมัดกระโดด
สูตร 1
ส่วนประกอบ
1) หนอนตายหยาก 2 กิโลกรัม
2) บอระเพ็ด 1 กิโลกรัม
3) ขมิ้นชัน 1 กิโลกรัม
4) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
5) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 2 กิโลกรัม
6) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
สับบดสมุนไพรแล้วหมักรวมกันไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 4 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น
สูตร 2
ส่วนประกอบ
1) ว่านน้ า 1 กิโลกรัม
2) สาบเสือ 1 กิโลกรัม
3) ยาฉุน ½ กิโลกรัม
4) ตะไคร้หอม 1 กิโลกรัม
5) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
6) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 กิโลกรัม
7) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
สับบดสมุนไพรหมักรวมกัน 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 4 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น
สูตร 3
ส่วนประกอบ
1) ยาฉุน ½ กิโลกรัม
2) สะเดา ½ กิโลกรัม
3) ข่า 1 กิโลกรัม
4) ตะไคร้หอม 1 กิโลกรัม
5) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
6) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 กิโลกรัม
7) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
สับบดหมักทิ้งไว้ 7 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 5 ช้อนโต๊ะ ต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น
สูตร 4
ส่วนประกอบ
1) หางไหลสด 1 กิโลกรัม
2) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า ทุบให้แตก แช่น้ า 1 วัน
วิธีใช้ ผสมน้ า 1:20 ฉีดพ่นทุก ๆ 7 วัน
สูตร 5
ส่วนประกอบ
1) ใบเสม็ดขาว 1 กิโลกรัม
2) เหล้า 10 ลิตร
วิธีท า สับบดดองเหล้าไว้ 3 วัน
วิธีใช้ ผสมน้ า ½ ลิตร ต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น
สารสมุนไพร ก าจัดหนอนกระทู้ หนอนชอนใบ หนอนใยผัก หนอนหนังเหนียว
หนอนใต้หนอนเจาะสมอฝ้าย
สูตร 1
ส่วนประกอบ
1) ฟ้าทะลายโจร 1 กิโลกรัม
2) เปลือกหัน 1 กิโลกรัม
3) เปลือกแค 1 กิโลกรัม
4) หางไหล 1 กิโลกรัม
5) ตะไคร้หอม 1 กิโลกรัม
6) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
7) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 ลิตร
8) น้ าสะอาด 15 ลิตร
วิธีท า
สับบดหมักรวมไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 1:100 ฉีดพ่น และรดราด
สูตร 2
ส่วนประกอบ
1) หนอนตายหยาก 1 ลิตร
2) โทงเทง 1 ลิตร
3) สาบเสือ 1 ลิตร
4) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
5) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 ลิตร
6) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
สับบดหมักทิ้งไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 1:100 ฉีดพ่นและรดราด
สารสมุนไพรก าจัดโรคพืช
สูตร 1
ส่วนประกอบ
1) เปลือกแค 1 กิโลกรัม
2) กระเทียม 1 กิโลกรัม
3) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
4) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 ลิตร
5) น้ าสะอาด 1 กิโลกรัม
วิธีท า
สับบดหมักไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 1:100-1:200 ฉีดพ่นและรดราด
สูตร 2
ส่วนประกอบ
1) ว่านหางจระเข้ 1 กิโลกรัม
2) ใบดอกรัก 1 กิโลกรัม
3) กระเทียม 1 กิโลกรัม
4) ขมิ้นชัน 1 กิโลกรัม
5) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
6) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 กิโลกรัม
7) น้ าสะอาด 15 ลิตร
วิธีท า
สับบดหมักไว้ 45 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 1:100 - 1:200 ฉีดพ่นและรดราด
สูตร 3
ส่วนประกอบ
1) ว่านหางจระเข้ 200 กรัม
2) กระเทียม 200 กรัม
3) น้ าสบู่ 4 ช้อนโต๊ะ
4) น้ าส้มสายชู 100 ซี.ซี.
5) น้ าสะอาด 20 ลิตร
วิธีท า
สับบด หมักไว้ 7 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ า 4 ช้อนต่อน้ า 1 ปี๊บ ฉีดพ่น ทุก ๆ 7 วัน
สารสมุนไพร ก าจัดหอยเชอรี่
ส่วนประกอบ
1) น้ าปูนใส 1 ลิตร
2) มะกรูด 1 กิโลกรัม
3) กระเทียม 1 กิโลกรัม
4) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
5) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 1 กิโลกรัม
6) น้ าสะอาด 10 ลิตร
วิธีท า
หมักมะกรูด กระเทียม หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น น้ าตาล และน้ า รวมกันไว้ 7 วัน
วิธีใช้
ผสมน้ าปูนใส กับส่วนผสมที่หมักไว้ ในอัตราส่วน 1: 1 หยดลงในนาที่มีหอยเชอรี่
หมายเหตุ การฉีดพ่นสมุนไพรก าจัดโรค และแมลงควรฉีดพ่นในช่วงเช้ามือ หรือช่วงเย็น ๆ ถ้า
มีโรคระบาด หรือแมลงระบาด ควรฉีดพ่น และรดราดดินติดต่อกันทุกวัน เป็นเวลา 3 วัน
ติดต่อกันอย่างไรก็ตามการควบคุมโรค และแมลงให้ได้ผลดีควรท าทั้งการอนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติ
และการใช้สมุนไพรควบคู่กันไปจนกว่าธรรมชาติในแปลงจะสมดุล
สารสมุนไพร จากสะเดา
ส่วนผสม
1) สะเดาทั้ง 5 2 กิโลกรัม (ได้เมล็ดด้วยยิ่งดี)
2) บอระเพ็ดทั้ง 5 4 กิโลกรัม
3) ข่าทั้ง 5 1 กิโลกรัม
4) ตะไคร้หอมทั้ง 5 1 กิโลกรัม
5) หางไหล หรือโล่ติ้น 1 กิโลกรัม
6) ผลไม้สุก 3 ชนิด 1 กิโลกรัม (กล้วยสุก มะละกอสุก ฟักทอง
อย่างละเท่า ๆ กัน)
7) ยาฉุน 2 กิโลกรัม
8) หัวเชื้อจุลินทรีย์เข้มข้น 1 ลิตร
9) น้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาล 3 กิโลกรัม
10) น้ าสะอาด 40 ลิตร
วิธีท า
หั่น หรือสับสะเดา บอระเพ็ด ข่า ตะไคร้หอม หางไหล และผลไม้สุก ให้ได้ความ
ยาวประมาณ 1 - 2 ข้อมือ ผสมน้ าสะอาด กับน้ าตาลทรายแดง หรือกากน้ าตาลใส่ลงในถังหมัก
น าส่วนผสมที่หั่น หรือสับแล้วใส่ลงในถังหมักปิดฝาให้สนิทและเก็บไว้ในที่ร่ม 1 เดือน
วิธีใช้
ผสมน้ าหมัก 1 ลิตร ต่อน้ าสะอาด 300 ลิตร ฉีดพ่นในเวลาเช้ามืด หรือหลัง
ตะวันตกดิน
หมายเหตุ ได้ประโยชน์ทั้งเป็นสารขับไล่แมลง เป็นฮอร์โมนบ ารุงพืชให้ติดดอกออกผลดี และยัง
เป็นปุ๋ย อินทรีย์ชีวภาพอีกด้วย
เทคนิคส าคัญในการผลิต และการใช้สารสกัดสมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพ
1 การหมักสารสกัดสมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพ ควรหมักในถังพลาสติกที่มีฝาปิดสนิท
และควรมีลักษณะทึบแสง
2 ควรเก็บรักษาไว้ในที่ร่ม ไม่ควรโดนแสงแดด
3 ตลอดระยะเวลาการหมักไม่ควรเปิดฝาก่อนถึงเวลา เพราะอาจท าให้การหมักไม่
สมบูรณ์ น ามาใช้ประโยชน์ไม่ได้ แต่ในกรณีถ้าถังบวมมาก จนอาจระเบิดได้ ก็อนุโลมให้แง้มฝา
เล็กน้อย เพื่อปล่อยก๊าซออกบ้าง แล้วให้รีบปิดให้สนิทเหมือนเดิม
4 ควรคลุมดิน (อย่าเปลือยดิน) โดยใช้เศษฟาง เศษใบไม้ หรือวัชพืชจ าพวกหญ้า
ต่าง ๆ คลุมให้ทั่วบริเวณใต้ทรงพุ่ม หรือเลยออกมาเล็กน้อย ควรเว้นระยะห่างจากโคนต้น
ประมาณ 1 คืบ และหนาประมาณ 1 ฝ่ามือ
5 การฉีดพ่นใบ หรือรดราดดิน ควรผสมตามอัตราส่วนที่ก าหนดและควรฉีดพ่น
หรือรดราดลงบนดินให้ทั่วบริเวณทรงพุ่ม โดยฉีดพ่น หรือรดราดลงบนเศษฟาง หรือใบไม้กิ่งไม้ที่
คลุมดินอยู่
6 ไม่ควรใช้ยาฆ่าหญ้า เพราะจะท าให้ประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพรอินทรีย์
ชีวภาพลดลง ให้ใช้การตัดหรือนาบแทน
7 ไม่ควรใช้ร่วมกับสารเคมี หรือยาฆ่าแมลง เพราะประสิทธิภาพของสารสกัด
สมุนไพรอินทรีย์ชีวภาพจะลดลง และสิ่งส าคัญ คือ แมลงที่เป็นประโยชน์ต่าง ๆ (ตัวห้ า ตัวเบียน)
จะตายลง
ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านชุมชนปฐมอโศก ตั้งอยู่เลขที่ 66 หมู่ 5 ต าบลพระประโทน อ าเภอเมือง
จังหวัดนครปฐม
คุณสมบัติของสมุนไพรแต่ละชนิดในการป้องกันและก าจัด (แมลงโรคพืช)
พืชสมุนไพร
หางไหล : หนอนกินช่อ เพลี้ยไฟ ไรขาว ไรแดง เพลี้ยจักจั่น
ขมิ้นชัน : ดวงเจาะเมล็ด ด้วงงวงข้าว มอดข้าวเปลือก หนอนกระทู้ ไรแดง
สบู่ต้น : หนอนชอนใบ หนอนม้วนใบ หนอนแปะใบ หนอนแก้ว
ตะไคร้หอม : หนอนกระทู้ หนอนคืบ หนอนใย หนอนหลอด ราน้ าค้าง หนอนม้วน
ใบ ราแป้ง หนอนเจาะยอด / ดอก / ผล ราสนิม
กระเทียม : เพลี้ยอ่อน หนอนกระทู้ ราน้ าค้าง ราแป้ง ราสนิม
ใบมะเขือเทศสด : ด้วงหมัดผัก หนอนเจาะต้น ไส้เดือนฝอย รา / แบคทีเรียบางชนิด
หนอนใย
ยาสูบ / ยาฉุน : เพลี้ย ไร รา ด้วงหมัดผัก ด้วงเจาะสมอ หนอนกระ หล่ า หนอน
ชอนใบ หนอนมวนใบ หนอนกระทู้
พริกสด : โรคจากไวรัสทุกชนิด ขับไล่แมลง
ใบแก่มะรุม : (ใช้รองก้นหลุม) ราในดิน รากเน่า โคนเน่า ผลเน่า (แตง _ ฟัก) เน่า
คอดิน แง่งขิงเน่า
สาบเสือ : หนอนกระทู้ หนอนใย เพลี้ยกระโดด เพลี้ยไฟ เพลี้ยจักจั่น
แมลงโรคพืช
เพลี้ยไฟ : ใช้พืชสมุนไพร หางไหล สะเดา ยาสูบ ยาฉุน สาบเสือ ตะไคร้หอม /
แกง ใบดาวเรือง กระเทียม ข่า พริก ดีปลี
แมลงหวี่ขาว : ใช้พืชสมุนไพร กระเทียม พริก มะกรูด ขึ้นฉาย ตะไคร้หอม /
แกง
หมัดกระโดด : (ใช้ทางใบ)ตะไคร้หอม/แกงขิง ข่า พริก ใบน้อยหน่า หางไหล หนอน
ตายหยาก (ใช้ทางดิน) สะเดา เมล็ดน้อยหน่า ตะไคร้หอม / แกง ยาฉุน
เพลี้ยอ่อน : ใช้พืชสมุนไพร สะเดา ยาสูบ ยี่หร่า หางไหล (เหล้าขาว +
น้ าส้มสายชู)
เพลี้ยแป้ง : ใช้พืชสมุนไพร ยาสูบ ยาฉุน สะเดา บอระเพ็ด ตะไคร้หอม / แกง
สาบเสือ กระเทียม (ไวท์ออย + น้ ามันก๊าซ)
รากเน่าโคนเน่า : ใช้พืชสมุนไพร เปลือกมะม่วงหิมพานต์ เทียนหยด ราก หม่อน
ผลเน่า : ใช้พืชสมุนไพร ต้นกระดูกไก่ด า / ขาว ว่านน้ า ตะไคร้หอม กระ
เพรา โหระพา ใบยูคาลิปตัส
ไส้เดือนฝอย : ใช้พืชสมุนไพร สะเดา ละหุ่ง ใบยูคาลิปตัส สาบเสือ แขยง เลี่ยน
ปะทัดจีน ใบดาวเรือง ตะไคร้หอม
โรคเน่าคอดิน: ใช้พืชสมุนไพร ใบมะรุมแห้ง กระเทียม ผิวมะกรูด รากหม่อน
โรคเหี่ยว : ใช้พืชสมุนไพร เปลือกเงาะ ขึ้นฉาย ใบมะรุมแห้ง
โรคใบจุด : ใช้พืชสมุนไพร ว่านน้ า ใบกระดูกไก่ด า / ขาว ลูกประค าดีควาย
เปลือก มะม่วงหิมพานต์

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
ยาป้องกัน กำจัด หนอนกอข้าว หนอนแมลงวันเจาะยอดข้าว ไอกี้-บีที + FK ธรรมชาตินิยม บำรุง ฟื้นตัว แข็งแรง ออกดอก ติดผล
ยาป้องกัน กำจัด หนอนกอข้าว หนอนแมลงวันเจาะยอดข้าว ไอกี้-บีที + FK ธรรมชาตินิยม บำรุง ฟื้นตัว แข็งแรง ออกดอก ติดผล
ตัวหนอนกัดกินภายในใบข้าวที่ยังอ่อน และใบม้วนอยู่ ใบที่ถูกทำลายเมื่อเจริญต่อมาจะเห็นเป็นรอยฉีกขาดคล้ายถูกกัด ขอบใบข้าวที่ถูกทำลายมีสีขาวซีด สภาพที่ระบาดรุนแรง ต้นข้าวที่ถูกทำลายจะแคระแกร็น แตกกอน้อย มักพบทำลายในพันธุ์ข้าวที่ให้ผลผลิตสูง โดยเฉพาะในสภาพที่มีน้ำขัง

หนอนแมลงวันเจาะยอดข้าว Hydrellia spp. ตัวเต็มวัยเป็นแมลงวันชนิดหนึ่งลำตัวยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร มีสีเทาอ่อน เพศเมียวางไข่เป็นฟองเดี่ยวๆ บนใบข้าว เฉลี่ย 100 ฟอง ในข่วงเวลา 3-7 วัน ไข่มีลักษณะเรียว ยาว สีขาว ระยะไข่นาน 2-6 วัน ตัวหนอนหลังฟักจากไข่ใหม่ๆ มีลักษณะใสหรือสีครีมอ่อน เมื่อโตขึ้นมีสีเหลือง ไม่มีขา ระยะหนอนนาน 10-12 วัน ระยะดักแด้นาน 7-10 วัน ตัวเต็มวัยมีความว่องไวในตอนกลางวัน บินเข้าหาแปลงข้าวที่ปลูกใหม่และมีน้ำขังโดยอาศัยแสงอาทิตย์ที่สะท้อนจากผิว น้ำ และจะเกาะพักอยู่ที่ใบข้าวใกล้ผิวน้ำ หลังจากที่ใบข้าวแผ่ปกคลุมทั่วแปลงแล้วจะไม่พบตัวเต็มวัย

ศัตรูของข้าวระบาดช่วงข้าวยังเล็กอยู่ ตัวหนอนแทะผิวใบข้าวที่ยังอ่อน และใบม้วนอยู่ ใบที่ถูกทำลายเมื่อเจริญต่อมาจะเป็นรอยฉีกขาด

หนอนตายใน 24-48 ชม. ปลอดภัยต่อคน และสัตว์เลี้ยง หนอนตาย เพราะ ปรับตัวไม่ทัน เมื่อพบกับชีวภัณฑ์ แบคทีเรียสองสายพันธุ์ Kustaki และ Aizawai ออกฤทธิ์ทำลายหนอนพร้อมกัน ทำให้ตายใน 24-48 ชั่วโมง ตายช้ากว่ายาเคมี แต่ตายยกรัง เนื่องจากหนอนที่รับ บีที เข้าไป กลับไปตายรัง และพวกเดียวกันกินกินซาก จึงตายต่อกัน เนื่องจาก บีที เป็น ชีวภัณฑ์ ที่ขยายตัวตกผลึกในท้องหนอน และออกฤทธิ์เฉพาะกับหนอนเท่านั้น

กำจัดหนอน ด้วย ไอกี้-บีที ปลอดภัยแน่นอน เพราะ บีที ไม่ออกฤทธิ์ กับ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม คนและสัตว์เลี้ยง จึงปลอดภัย 100%

#ยาฆ่าหนอน #ยากำจัดหนอน #หนอนแดง #หนอนชมพู่ #หนอนฝรั่ง #หนอนพุทรา #หนอนเจาะสมอฝ้าย #ยาอินทรีย์ฆ่าหนอน #ยาอินทรีย์กำจัดหนอน #ยาฆ่าหนอนชอนใบ #หนอนชอนใบ #หนอนชอนใบส้ม #หนอนชอนใบมะนาว

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอกี้-บีที + FK ธรรมชาตินิยม : http://www.farmkaset..link..
ไอกี้-บีที อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK ธรรมชาตินิยม อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอกี้-บีที + FK ธรรมชาตินิยม : http://www.farmkaset..link..
ไอกี้-บีที อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK ธรรมชาตินิยม อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

ข้อมูลและอัตราผสมใช้

🐛 ไอกี้-บีที อัตตราส่วน 30-50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)

🌿 FK ธรรมชาตินิยม อัตราส่วน 30-50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอกี้-บีที ได้เลย

🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🐛 ข้อมูลจำเพาะ ไอกี้-บีที

ใช้แก้ปัญหา : โรคหนอนกออ้อย หนอนกอในนาข้าว หนอนห่อใบข้าว หนอนม้วนใบ หนอนทรายในสวนยางพารา หนอนชักใยปาล์มน้ำมัน หนอนปลอกใหญ่ หนอนเจาะฝักข้าวโพด หนอนเจาะลำต้นข้าวโพด

ประกอบด้วยจุลินทรีย์สายพันธ์ บีที (BT) ที่มีประสิทธิภาพสูง คือ Bacillus thuringiensis var. aizawai และ Bacillus thuringi
ฆ่าหนอน กำจัดหนอน ปลอดสารพิษ

ไอกี้-บีที บีที
ชื่อสามัญ : บาซิลลัส ทูริงเยนซิส [ Bacillus truringiensis ] กลุ่มสารเคมี : Bacterium
สารสำคัญ : Bacillus thuringiensis var. kurstaki

นำหนักสุทธิ : 500 กรัม

ฆ่าหนอน กำจัดหนอนแมลงศัตรูพืชด้วยสารชีวินทรีย์ประสิทธิภาพสูง เอนไซม์สกัด บีที เพิ่มศักยภาพในการกำจัดแมลงศัตรูพืชให้กับเกษตรกร โดยการรวมประสิทธิภาพการกำจัดแมลงของเชื้อ Bacillus thuringiensis 2 สายพันธุ์ คือ สายพันธุ์ Kustaki และ Aizawai เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อเพิ่มการปลดปล่อยสารพิษในการทำลายแมลงศัตรูพืช ด้วยการสร้างสารพิษผลึกโปรตีน delta-endotoxins ที่มีอยู่ในเชื้อ Bacillus thuringiensis เมื่อแมลงศัตรูพืชได้รับสารพิษนี้เข้าไป จะทำให้เกิดพิษในกระเพาะอาหารเป็นอัมพาต ลำตัวเหี่ยวแห้ง และตายภายในเวลา 24-48 ชั่วโมง โดยไม่เป็นอันตราต่อสิ่งแวดล้อม แมลงศัตูธรรมชาติ และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ รวมทั้งปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK ธรรมชาตินิยม

FK ธรรมชาตินิยม ฟื้นฟู โตไว แข็งแรง ออกดอก ติดผล ใช้ได้ในที่พักอาศัย ปลอดภัย ไม้ดอก ไม้ประดับ พืชผักสวนครัว พืชไร่ พืชสวน

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

โรคพืช
โรคพืช
พยาธิวิทยาของพืช (เช่นphytopathology ) เป็นการศึกษาทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับโรคในพืชที่เกิดจากเชื้อโรค (สิ่งมีชีวิตที่ติดเชื้อ) และสภาพแวดล้อม (ปัจจัยทางสรีรวิทยา) [1]มีชีวิตที่ก่อให้เกิดโรคติดเชื้อ ได้แก่เชื้อรา _ oomycetes _ แบคทีเรีย _ ไวรัส _ ไวรอยด์ _ ไวรัสเหมือนมีชีวิตไฟโตพลาสมา _ โปรโตซัว _ ไส้เดือนฝอยและพืชกาฝาก ไม่ได้รวมเป็นปรสิตภายนอกเช่นแมลง _ไร _ เลี้ยงลูกด้วยนมหรืออื่น ๆศัตรูพืชที่มีผลต่อสุขภาพของพืชโดยการรับประทานอาหารของเนื้อเยื่อพืช โรคพืชนอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับการศึกษาของประชาชนเชื้อสาเหตุโรครอบโรคผลกระทบทางเศรษฐกิจที่ระบาดวิทยาโรคพืช _ ความต้านทานต่อโรคพืชวิธีโรคพืชส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสัตว์พันธุศาสตร์ pathosystem และการจัดการโรคพืช


วงจรชีวิตของเชื้อโรคเน่าดำ Xanthomonas campestris pathovar campes
ภาพรวม
การควบคุมโรคพืชมีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการผลิตอาหารที่เชื่อถือได้และก่อให้เกิดปัญหาสำคัญในการใช้ที่ดินน้ำเชื้อเพลิงและปัจจัยอื่น ๆ ทางการเกษตร พืชทั้งในประชากรธรรมชาติและปลูกดำเนินการต้านทานโรคโดยธรรมชาติ แต่มีตัวอย่างมากมายของการทำลายล้างผลกระทบโรคพืชเช่นความอดอยากของไอร์แลนด์และทำลายเกาลัดเช่นเดียวกับที่เกิดขึ้นอีกโรคพืชที่รุนแรงเช่นระเบิดข้าว _ ถั่วเหลืองไส้เดือนฝอยถุงและส้ม โรคแคงเกอร์ .

อย่างไรก็ตามการควบคุมโรคประสบความสำเร็จพอสมควรสำหรับพืชผลส่วนใหญ่ การควบคุมโรคทำได้โดยการใช้พืชที่ได้รับการปรับปรุงพันธุ์เพื่อให้มีความต้านทานต่อโรคต่างๆได้ดีและโดยวิธีการเพาะปลูกพืชเช่นการปลูกพืชหมุนเวียนการใช้เมล็ดพันธุ์ที่ปราศจากเชื้อโรควันที่ปลูกและความหนาแน่นของพืชที่เหมาะสมการควบคุมความชื้นในสนามและยาฆ่าแมลงใช้. จำเป็นต้องมีความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่องในวิทยาศาสตร์ด้านพยาธิวิทยาของพืชเพื่อปรับปรุงการควบคุมโรคและเพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของความดันโรคที่เกิดจากวิวัฒนาการและการเคลื่อนย้ายของเชื้อโรคพืชอย่างต่อเนื่องและจากการเปลี่ยนแปลงในการปฏิบัติทางการเกษตร

โรคพืชก่อให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่สำหรับเกษตรกรทั่วโลก ในภูมิภาคขนาดใหญ่และพันธุ์พืชหลายชนิดคาดว่าโรคโดยทั่วไปจะลดผลผลิตพืชลง 10% ทุกปีในสภาพแวดล้อมที่พัฒนามากขึ้น แต่การสูญเสียผลผลิตของโรคมักจะเกิน 20% ในสภาพแวดล้อมที่พัฒนาน้อยกว่า องค์การอาหารและเกษตรประมาณการว่าศัตรูพืชและโรคมีความรับผิดชอบประมาณ 25% ของการสูญเสียพืช ในการแก้ปัญหานี้จำเป็นต้องใช้วิธีการใหม่ในการตรวจหาโรคและแมลงศัตรูพืชตั้งแต่เนิ่นๆเช่นเซ็นเซอร์ใหม่ที่ตรวจจับกลิ่นพืชสเปกโทรสโกปีและไบโอโฟโตนิกส์ที่สามารถวินิจฉัยสุขภาพของพืชและการเผาผลาญได้ [2]

เชื้อโรคพืช

โรคราแป้งเป็นเชื้อราทางชีวภาพ
เชื้อรา
เชื้อราสาเหตุโรคพืชส่วนใหญ่อยู่ในAscomycetesและBasidiomycetes เชื้อราจะสืบพันธุ์ได้ทั้งแบบอาศัยเพศและแบบไม่อาศัยเพศโดยการสร้างสปอร์และโครงสร้างอื่น ๆ สปอร์อาจแพร่กระจายได้ในระยะทางไกลโดยทางอากาศหรือทางน้ำหรืออาจมาจากดิน เชื้อราที่อาศัยอยู่ในดินจำนวนมากที่มีความสามารถในการมีชีวิตอยู่saprotrophicallyการดำเนินการส่วนหนึ่งของวงจรชีวิตของพวกเขาในดิน เหล่านี้คือ saprotrophs ปัญญา โรคเชื้อราอาจควบคุมได้โดยการใช้ยาฆ่าเชื้อราและการปฏิบัติทางการเกษตรอื่น ๆ อย่างไรก็ตามเชื้อราเผ่าพันธุ์ใหม่มักมีวิวัฒนาการที่ทนทานต่อสารฆ่าเชื้อราต่างๆ เชื้อราที่ก่อโรคทางชีวภาพจะตั้งรกรากอยู่ในเนื้อเยื่อพืชที่มีชีวิตและได้รับสารอาหารจากเซลล์ของสิ่งมีชีวิต เชื้อโรคจากเชื้อราNecrotrophic จะติดเชื้อและฆ่าเนื้อเยื่อของโฮสต์และดึงสารอาหารจากเซลล์ที่ตายแล้ว เชื้อราที่ทำให้เกิดโรคพืชที่สำคัญ ได้แก่ : [ ต้องการอ้างอิง ]


ระเบิดข้าวที่เกิดจากเชื้อราเนื้อร้าย
Ascomycetes
Fusarium spp. (Fusarium โรคเหี่ยว)
Thielaviopsis spp. (โรคแคงเกอร์เน่ารากดำรากเน่า Thielaviopsis )
Verticillium spp.
Magnaporthe grisea (ระเบิดข้าว)
Sclerotinia sclerotiorum (เน่าคอตตอน)
Basidiomycetes
Ustilago spp. (smuts) เขม่าของข้าวบาร์เลย์
Rhizoctonia spp.
Pakospora pachyrhizi (สนิมถั่วเหลือง)
Puccinia spp. (สนิมของธัญพืชและหญ้าอย่างรุนแรง)
Armillaria spp. (สายพันธุ์ของเชื้อราน้ำผึ้ง_ เชื้อโรคที่รุนแรงของต้นไม้)
สิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะคล้ายเชื้อรา
Oomycetes
oomycetesเป็นสิ่งมีชีวิตเชื้อราเช่น [3]พวกเขารวมถึงบางส่วนของที่สุดเชื้อสาเหตุโรคพืชทำลายรวมทั้งจำพวก เชื้อรา Phytophthoraซึ่งรวมถึงตัวแทนสาเหตุของมันฝรั่งปลายทำลาย[3]และการเสียชีวิตอย่างกะทันหันของโอ๊ค [4] [5]สายพันธุ์เฉพาะของ oomycetes มีความรับผิดชอบสำหรับโรครากเน่า

แม้ว่าจะไม่ได้มีความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับเชื้อรา แต่ oomycetes ก็ได้พัฒนากลยุทธ์การติดเชื้อที่คล้ายคลึงกัน Oomycetes สามารถใช้โปรตีน effector เพื่อปิดการป้องกันของพืชในกระบวนการติดเชื้อ [6]นักพยาธิวิทยาพืชมักจะรวมกลุ่มกับเชื้อราที่ทำให้เกิดโรค

เชื้อโรคพืช oomycete ที่สำคัญ ได้แก่ :

ไพเธียมเอสพีพี
Phytophthora spp. รวมถึงการทำลายมันฝรั่งของ Great Irish Famine (1845–1849)
ไฟโตมีเซีย
ราเมือกบางชนิดในPhytomyxeaทำให้เกิดโรคที่สำคัญ ได้แก่รากไม้ในกะหล่ำปลีและญาติของมันและขี้เรื้อนในมันฝรั่ง สิ่งเหล่านี้เกิดจากสายพันธุ์ของPlasmodiophoraและSpongosporaตามลำดับ

แบคทีเรีย

โรคมงกุฎน้ำดีที่เกิดจาก Agrobacterium
แบคทีเรียส่วนใหญ่ที่เกี่ยวข้องกับพืชนั้นแท้จริงแล้วเป็นsaprotrophicและไม่เป็นอันตรายต่อพืชเอง อย่างไรก็ตามมีจำนวนน้อยประมาณ 100 ชนิดที่รู้จักกันดีสามารถทำให้เกิดโรคได้ [7]โรคจากแบคทีเรียเป็นที่แพร่หลายมากขึ้นในพื้นที่กึ่งเขตร้อนและเขตร้อนของโลก

แบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคพืชส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นรูปแท่ง ( bacilli ) เพื่อให้สามารถตั้งรกรากของพืชได้พวกเขามีปัจจัยการก่อโรคที่เฉพาะเจาะจง เป็นที่ทราบกันดีว่าปัจจัยการก่อโรคของแบคทีเรีย 5 ประเภทหลัก ๆ ได้แก่ การใช้เอนไซม์ย่อยสลายผนังเซลล์สารพิษโปรตีนเอฟเฟกเตอร์ไฟโตฮอร์โมนและเอ็กโซโพลีแซ็กคาไรด์

จุลชีพก่อโรคเช่นErwiniaชนิดใช้มือถือของเอนไซม์ย่อยสลายผนังที่จะทำให้เกิดโรคเน่าเละ สายพันธุ์Agrobacteriumเปลี่ยนระดับของออกซินเพื่อทำให้เกิดเนื้องอกด้วยไฟโตฮอร์โมน Exopolysaccharidesผลิตโดยแบคทีเรียและปิดกั้นหลอดเลือดxylemซึ่งมักนำไปสู่การตายของพืช

แบคทีเรียควบคุมการผลิตของปัจจัยที่ก่อให้เกิดโรคทางองค์ประชุมตรวจจับ


Vitis viniferaกับการติดเชื้อ "Ca. Phytoplasma vitis"
แบคทีเรียก่อโรคพืชที่สำคัญ:

บูร์โกเทอเรีย[8]
โปรตีโอแบคทีเรีย
Xanthomonas spp.
Pseudomonas spp.
Pseudomonas syringae pv. มะเขือเทศทำให้ต้นมะเขือเทศให้ผลผลิตน้อยลงและ "ยังคงปรับตัวเข้ากับมะเขือเทศโดยลดการรับรู้ของระบบภูมิคุ้มกันของมะเขือเทศ" [9]
ไฟโตพลาสมาสและสไปโรพลาสมาส
ไฟโตพลาสม่าและสไปโรพลาสม่าเป็นจำพวกของแบคทีเรียที่ไม่มีผนังเซลล์และเกี่ยวข้องกับไมโคพลาสม่าซึ่งเป็นเชื้อโรคของมนุษย์ ร่วมกันพวกเขาจะเรียกว่าเป็นmollicutes นอกจากนี้ยังมีจีโนมที่เล็กกว่าแบคทีเรียอื่น ๆ ส่วนใหญ่ พวกเขาจะถูกส่งตามปกติโดย SAP ดูดแมลงถูกโอนเข้ามาในโรงงานใยเปลือกไม้ที่มันทำ


ไวรัสโมเสคยาสูบ
ไวรัสไวรอยด์และสิ่งมีชีวิตที่คล้ายไวรัส
มีหลายประเภทของมีไวรัสพืชและบางคนแม้ไม่มีอาการ ภายใต้สถานการณ์ปกติไวรัสพืชทำให้ผลผลิตของพืชสูญเสียไปเท่านั้น ดังนั้นจึงไม่สามารถดำเนินการทางเศรษฐกิจได้ที่จะพยายามควบคุมพวกมันยกเว้นเมื่อพวกมันติดเชื้อไม้ยืนต้นเช่นไม้ผล

ส่วนใหญ่ไวรัสพืชมีขนาดเล็กเดียว stranded RNA จีโนม อย่างไรก็ตามไวรัสพืชบางชนิดยังมีRNAแบบเกลียวคู่หรือจีโนมดีเอ็นเอแบบเกลียวเดี่ยวหรือคู่ จีโนมของเหล่านี้อาจเข้ารหัสเพียงสามหรือสี่โปรตีนกเรพลิโปรตีนเสื้อเป็นโปรตีนเคลื่อนไหวเพื่อที่จะช่วยให้มือถือกับการเคลื่อนไหวของเซลล์ผ่านplasmodesmataและบางครั้งโปรตีนที่ช่วยให้การส่งโดยเวกเตอร์ที่ ไวรัสพืชสามารถมีโปรตีนได้หลายชนิดและใช้วิธีการแปลโมเลกุลที่แตกต่างกัน

ไวรัสพืชโดยทั่วไปมักถ่ายทอดจากพืชไปยังพืชโดยใช้เวกเตอร์แต่การแพร่เชื้อทางกลและเมล็ดพืชก็เกิดขึ้นได้ ส่งเวกเตอร์มักจะเป็นโดยแมลง (ตัวอย่างเช่นเพลี้ย ) แต่บางเชื้อรา _ ไส้เดือนฝอยและโปรโตซัวได้รับการแสดงที่จะเป็นพาหะของเชื้อไวรัส ในหลายกรณีแมลงและไวรัสมีความจำเพาะต่อการแพร่กระจายของไวรัสเช่นเพลี้ยจักจั่นบีทรูทที่แพร่เชื้อไวรัสด้านบนที่เป็นลอนซึ่งก่อให้เกิดโรคในพืชหลายชนิด [10]ตัวอย่างหนึ่งคือโรคโมเสคของยาสูบที่ใบเหี่ยวเฉาและคลอโรฟิลล์ของใบไม้ถูกทำลาย อีกตัวอย่างหนึ่งคือยอดกล้วยที่เป็นพวงซึ่งต้นจะแคระแกร็นและใบด้านบนจะเป็นรูปดอกกุหลาบที่แน่น

ไส้เดือนฝอย

รากปมไส้เดือนฝอย galls
ไส้เดือนฝอยเป็นสัตว์หนอนหลายเซลล์ขนาดเล็ก หลายคนมีชีวิตอยู่อย่างอิสระในดิน แต่มีบางชนิดที่พืช parasitize ราก เป็นปัญหาในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อนของโลกซึ่งอาจทำให้พืชผลเสียหายได้ ไส้เดือนฝอยในถุงมันฝรั่ง ( Globodera pallidaและG. rostochiensis ) กระจายอยู่ทั่วไปในยุโรปและอเมริกาเหนือและใต้และสร้างความเสียหายมูลค่า300 ล้านดอลลาร์ในยุโรปทุกปี ไส้เดือนฝอยรากปมมีช่วงโฮสต์ค่อนข้างใหญ่พวกมันเป็นปรสิตในระบบรากของพืชและส่งผลโดยตรงต่อการดูดซึมน้ำและสารอาหารที่จำเป็นสำหรับการเจริญเติบโตและการสืบพันธุ์ของพืชตามปกติ[11]ในขณะที่ไส้เดือนฝอยถุงมีแนวโน้มที่จะติดเชื้อได้เพียงไม่กี่ชนิด ไส้เดือนฝอยสามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรงในเซลล์รากเพื่ออำนวยความสะดวกในการดำเนินชีวิต

โปรโตซัวและสาหร่าย
มีตัวอย่างบางส่วนของโรคพืชที่เกิดจากโปรโตซัว (เช่นPhytomonas _ kinetoplastid ) [12]พวกมันถูกถ่ายทอดเป็นโซสปอร์ที่ทนทานซึ่งอาจจะสามารถอยู่รอดได้ในสภาพที่ไม่อยู่นิ่งในดินเป็นเวลาหลายปี นอกจากนี้ยังสามารถแพร่เชื้อไวรัสพืชได้ เมื่อ zoospores เคลื่อนที่เข้ามาติดต่อกับรากผมที่พวกเขาผลิตPlasmodiumซึ่งก้าวก่ายราก

สาหร่ายกาฝากไม่มีสีบางชนิด (เช่นCephaleuros ) ยังก่อให้เกิดโรคพืช [ ต้องการอ้างอิง ]

พืชกาฝาก
พืชกาฝากเช่นBroomrape _ มิสเซิลโทและสั่นที่จะถูกรวมในการศึกษาของ phytopathology ตัวอย่างเช่น Dodder สามารถเป็นท่อส่งไวรัสหรือตัวแทนที่คล้ายไวรัสจากพืชโฮสต์ไปยังพืชที่โดยทั่วไปแล้วไม่ได้เป็นโฮสต์หรือสำหรับตัวแทนที่ไม่สามารถรับต่อกิ่งได้

วิธีการติดเชื้อที่ทำให้เกิดโรคทั่วไป
เอนไซม์ย่อยสลายผนังเซลล์ : ใช้ในการสลายผนังเซลล์พืชเพื่อปลดปล่อยสารอาหารภายใน
สารพิษ : สิ่งเหล่านี้อาจไม่ใช่เฉพาะโฮสต์ซึ่งสร้างความเสียหายให้กับพืชทั้งหมดหรือเฉพาะโฮสต์ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายเฉพาะกับพืชที่เป็นโฮสต์เท่านั้น
effector โปรตีน : เหล่านี้สามารถหลั่งสารในสภาพแวดล้อมหรือโดยตรงเข้าไปในเซลล์โฮสต์ที่มักจะผ่านประเภทระบบสามหลั่ง เอฟเฟกต์บางตัวเป็นที่ทราบกันดีว่ายับยั้งกระบวนการป้องกันโฮสต์ ซึ่งอาจรวมถึง: การลดกลไกการส่งสัญญาณภายในพืชหรือลดการผลิตสารพฤกษเคมี [13]แบคทีเรียเชื้อราและ oomycetes เป็นที่รู้จักสำหรับหน้าที่นี้ [3] [14]
สปอร์ : สปอร์ของเชื้อรา phytopathogenic สามารถเป็นแหล่งที่มาของการติดเชื้อในพืชที่เป็นโฮสต์ อันดับแรกสปอร์จะเกาะติดกับชั้นหนังกำพร้าบนใบและลำต้นของพืชที่เป็นเจ้าภาพ เพื่อให้สิ่งนี้เกิดขึ้นได้ต้องขนส่งสปอร์ที่ติดเชื้อจากแหล่งที่มาของเชื้อโรคสิ่งนี้เกิดขึ้นทางลมน้ำและพาหะเช่นแมลงและมนุษย์ เมื่ออยู่ในสภาพที่เอื้ออำนวยสปอร์จะสร้างเส้นใยดัดแปลงที่เรียกว่าหลอดเชื้อโรค หลอดเชื้อโรคนี้ต่อมาเป็นส่วนนูนเรียกว่าแอพเพล็ตสเตอเรียมซึ่งสร้างผนังเซลล์ที่เป็นเม็ดสีเพื่อสร้างแรงกดดันจากแรงดึง เมื่อแรงดันเทอร์เกอร์สะสมเพียงพอแล้วแอพเพรสโซเรียมจะยืนยันแรงกดต่อชั้นหนังกำพร้าในรูปแบบของหมุดเจาะที่แข็งตัว กระบวนการนี้ยังได้รับความช่วยเหลือจากการหลั่งเอนไซม์ย่อยสลายผนังเซลล์จากแอปเพรสโซเรียม เมื่อหมุดเจาะเข้าไปในเนื้อเยื่อของโฮสต์มันจะพัฒนาเส้นใยเฉพาะที่เรียกว่า haustorium ขึ้นอยู่กับวงจรชีวิตของเชื้อโรค haustorium นี้สามารถบุกรุกและเลี้ยงเซลล์ข้างเคียงภายในเซลล์หรือมีอยู่ภายในเซลล์ภายในโฮสต์ [15]

• ไบล์ท

• ส้มแคงเกอร์

• สนิม

•สมุต

• โมเสคยาสูบ

• กระเบื้องโมเสคเส้นเลือดสีเหลือง

ความผิดปกติของพืชทางสรีรวิทยา
ความผิดปกติของ abiotic อาจเกิดจากกระบวนการทางธรรมชาติเช่นภัยแล้ง _ น้ำค้างแข็ง _ หิมะและลูกเห็บ ; น้ำท่วมและการระบายน้ำไม่ดี การขาดสารอาหาร ; การสะสมของเกลือแร่เช่นโซเดียมคลอไรด์และยิปซั่ม ; ลมไหม้และแตกจากพายุ และไฟป่า ความผิดปกติที่คล้ายคลึงกัน (โดยปกติจัดอยู่ในประเภท abiotic) อาจเกิดจากการแทรกแซงของมนุษย์ซึ่งส่งผลให้เกิดการบดอัดของดินมลพิษทางอากาศและในดินการเค็มที่เกิดจากการชลประทานและการเค็มของถนนการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืชมากเกินไปการจัดการที่เงอะงะ และป่าเถื่อน [ ต้องการอ้างอิง ]


ใบกล้วยไม้ติดเชื้อไวรัส
ระบาดวิทยา
ระบาดวิทยา:การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการระบาดและการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อ [16]


สามเหลี่ยมโรคพืช
โรคจัตุรมุข (ปิรามิดโรค) จับองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับโรคพืชได้ดีที่สุด พีระมิดนี้ใช้สามเหลี่ยมของโรคเป็นรากฐานซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบต่างๆเช่นโฮสต์เชื้อโรคและสิ่งแวดล้อม นอกจากองค์ประกอบทั้งสามนี้แล้วมนุษย์และเวลายังเพิ่มองค์ประกอบที่เหลือเพื่อสร้างโรคจัตุรมุข

ประวัติ:โรคระบาดของโรคพืชที่ทราบกันในอดีตจากการสูญเสียครั้งใหญ่:

- มันฝรั่งไอริชปลายใบไหม้[17]

- โรคดัตช์เอล์ม[18]

- โรคใบไหม้เกาลัดในอเมริกาเหนือ[19]

ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่ระบาด:

ผู้ดำเนินรายการ: ระดับความต้านทานหรือความอ่อนแออายุและพันธุกรรม

เชื้อโรค: ปริมาณของหัวเชื้อพันธุกรรมและประเภทของการสืบพันธุ์

ต้านทานโรค
ความต้านทานโรคพืชคือความสามารถของพืชในการป้องกันและยุติการติดเชื้อจากเชื้อโรคพืช

โครงสร้างที่ช่วยให้พืชป้องกันโรค ได้แก่ ชั้นผิวหนังชั้นนอกผนังเซลล์และเซลล์ป้องกันปากใบ สิ่งเหล่านี้ทำหน้าที่เป็นเกราะป้องกันไม่ให้เชื้อโรคเข้าสู่โฮสต์ของพืช

เมื่อโรคผ่านพ้นอุปสรรคเหล่านี้ไปแล้วผู้รับของพืชจะเริ่มส่งสัญญาณเพื่อสร้างโมเลกุลเพื่อแข่งขันกับโมเลกุลแปลกปลอม เส้นทางเหล่านี้ได้รับอิทธิพลและกระตุ้นโดยยีนภายในพืชโฮสต์และมีความอ่อนไหวต่อการถูกควบคุมโดยการผสมพันธุ์ทางพันธุกรรมเพื่อสร้างพันธุ์พืชที่ต้านทานต่อเชื้อโรคที่ทำลายล้าง [20]

การจัดการ
กักกันภายในประเทศ
พืชที่เป็นโรคหรือพืชแต่ละชนิดสามารถแยกออกจากการเจริญเติบโตอื่น ๆ ที่มีสุขภาพดีได้ ตัวอย่างอาจถูกทำลายหรือย้ายไปไว้ในเรือนกระจกเพื่อบำบัดหรือศึกษา

การตรวจสอบและกักกันท่าเรือและชายแดน
อีกทางเลือกหนึ่งคือหลีกเลี่ยงการนำสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่สัตว์พื้นเมืองที่เป็นอันตรายมาใช้โดยการควบคุมการจราจรและกิจกรรมทั้งหมดของมนุษย์ (เช่นบริการกักกันและตรวจสอบของออสเตรเลีย ) แม้ว่ากฎหมายและการบังคับใช้จะมีความสำคัญเพื่อให้เกิดประสิทธิผลที่ยั่งยืน ปริมาณการค้าทั่วโลกในปัจจุบันมีให้บริการและจะยังคงให้โอกาสในการนำศัตรูพืชมาใช้อย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน [McC 1]ในสหรัฐอเมริกาแม้จะได้รับการประมาณจำนวนที่ดีขึ้นของการแนะนำดังกล่าวและด้วยเหตุนี้ความจำเป็นในการกำหนดเขตกักบริเวณและการตรวจสอบท่าเรือและชายแดนจะต้องมีการตรวจสอบเพิ่มขึ้นอย่างมาก [McC 2]ในออสเตรเลียข้อบกพร่องในการทำความเข้าใจที่คล้ายคลึงกันมีต้นกำเนิดที่แตกต่างกัน: การตรวจสอบพอร์ตไม่มีประโยชน์มากนักเนื่องจากผู้ตรวจสอบรู้เรื่องอนุกรมวิธานน้อยเกินไป มักจะมีศัตรูพืชที่รัฐบาลออสเตรเลียจัดลำดับความสำคัญว่าเป็นอันตรายที่จะถูกเก็บออกนอกประเทศ แต่มีญาติที่อยู่ใกล้นักอนุกรมวิธานที่ทำให้เกิดความสับสน และผู้ตรวจสอบยังพบในสิ่งที่ตรงกันข้าม - ชาวพื้นเมืองที่ไม่เป็นอันตรายหรือชาวพื้นเมืองที่ยังไม่ถูกค้นพบหรือชาวพื้นเมืองที่เพิ่งค้นพบที่พวกเขาไม่จำเป็นต้องกังวล แต่ซึ่งง่ายต่อการสับสนกับสมาชิกในครอบครัวชาวต่างชาติที่ผิดกฎหมาย [BH 1]

X-rayและลำแสงอิเล็กตรอน / E คานฉายรังสีของอาหารที่ได้รับการทดลองการรักษากักกันสำหรับผลไม้ สินค้าที่มาจากฮาวาย องค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกา (สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ) USDA APHIS ( บริการตรวจสุขภาพสัตว์และพืช ) ผู้ผลิตและผู้บริโภคต่างยอมรับในผลลัพธ์นั่นคือการกำจัดศัตรูพืชอย่างละเอียดถี่ถ้วนและการย่อยสลายของรสชาติน้อยกว่าการอบด้วยความร้อน [21]

วัฒนธรรม
การทำฟาร์มในบางสังคมยังคงอยู่ในระดับเล็ก ๆ โดยมีคนที่มีวัฒนธรรมรวมถึงประเพณีการทำฟาร์มที่ย้อนกลับไปในสมัยโบราณ (ตัวอย่างของประเพณีดังกล่าวจะเป็นการฝึกอบรมตลอดชีวิตเกี่ยวกับเทคนิคการลงพื้นที่การคาดการณ์และการตอบสนองต่อสภาพอากาศการปฏิสนธิการปลูกถ่ายอวัยวะการดูแลเมล็ดพันธุ์และการจัดสวนโดยเฉพาะ) พืชที่ได้รับการตรวจสอบอย่างตั้งใจมักจะได้รับประโยชน์จากการป้องกันภายนอกที่มีการเคลื่อนไหวเท่านั้น ความแข็งแรงโดยรวม ในขณะที่แบบดั้งเดิมในแง่ของการเป็นวิธีการแก้ปัญหาที่ใช้แรงงานมากที่สุดในขณะที่ในทางปฏิบัติหรือจำเป็นก็เพียงพอแล้ว

ความต้านทานของพืช
การพัฒนาทางการเกษตรที่ซับซ้อนในปัจจุบันช่วยให้ผู้ปลูกสามารถเลือกจากสายพันธุ์ผสมข้ามสายพันธุ์อย่างเป็นระบบเพื่อให้แน่ใจว่าพืชผลมีความแข็งแกร่งมากที่สุดตามความเหมาะสมกับลักษณะทางพยาธิวิทยาของภูมิภาคใด แนวทางปฏิบัติในการปรับปรุงพันธุ์ได้รับการปรับปรุงให้สมบูรณ์แบบมานานหลายศตวรรษ แต่ด้วยการปรับแต่งทางพันธุกรรมแม้กระทั่งการควบคุมลักษณะภูมิคุ้มกันของพืชให้ละเอียดขึ้นก็เป็นไปได้ วิศวกรรมของพืชอาหารอาจให้ผลตอบแทนน้อยกว่าอย่างไรก็ตามเนื่องจากผลผลิตที่สูงขึ้นมักถูกชดเชยด้วยความสงสัยและความคิดเห็นเชิงลบเกี่ยวกับ "การปลอมแปลง" นี้กับธรรมชาติ

สารเคมี
สามารถใช้สารประกอบจากธรรมชาติและสารสังเคราะห์หลายชนิดเพื่อต่อสู้กับภัยคุกคามข้างต้น วิธีนี้ใช้ได้ผลโดยการกำจัดสิ่งมีชีวิตที่ก่อให้เกิดโรคโดยตรงหรือยับยั้งการแพร่กระจาย อย่างไรก็ตามแสดงให้เห็นว่ามีผลกระทบในวงกว้างเกินไปโดยทั่วไปจะเป็นผลดีต่อระบบนิเวศในท้องถิ่น จากมุมมองทางเศรษฐกิจสารเติมแต่งจากธรรมชาติที่เรียบง่ายที่สุดอาจทำให้ผลิตภัณฑ์ขาดคุณสมบัติจากสถานะ "ออร์แกนิก" ซึ่งอาจทำให้มูลค่าของผลผลิตลดลง

ที่มา http://www.farmkaset..link..
โรคราน้ำค้างองุ่น (downy mildew of grapes) โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
โรคราน้ำค้างองุ่น (downy mildew of grapes) โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
โรคราน้ำค้างองุ่น สร้างความเสียหายให้กับองุ่น ที่ปลูกในประเทศไทยได้อย่างมาก แม้ว่าการปลูกองุ่นในประเทศไทยนั้น ให้ผลผลิตที่ดี มีคุณภาพ แต่เนื่องจากประเทศไทยเรานั้น อยู่ในเขตร้อนชื้น จึงมักพบโรค และแมลงศัตรูพืชรบกวน สร้างความเสียให้ให้แก่องุ่น เช่น โรคราน้ำค้าง ราแป้ง แอนแทรคโนส เพลี้ยไฟ เพลี้ยแป้ง และหนอนต่างๆ

โรคราน้ำค้างองุ่น (downy mildew of grapes) มี Plasmopara viticola เป็นเชื้อราสาเหตุของโรค โรคราน้ำค้างองุ่น และแสดงอาการเป็นขุยสีขาวที่ใต้ใบองุ่น ด้านบนใบจะเป็นเป็นสีเหลืองจ้ำๆ ช่อดอก และผลอ่อนจะเหี่ยวแห้ง และมีอาการใบไหม้ โรคราน้ำค้างองุ่น ระบมาดมากในช่วงที่มีความชื้นสูง เช่น ฤดูฝน

การป้องกันกำจัด โรคราน้ำค้างองุ่น
1. หมั่นตรวจสอบแปลงและป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มพบโรค
2. กำจัดวัชพืชในโรงเรือนและรอบโรงเรือน
3. งดให้น้ำในช่วงเย็น
4. ฉีดพ่น ไอเอส และ FK-1 ในอัตราส่วนที่แนะนำ

ไอเอส ใช้ได้กับพืชทุกชนิด ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล กิ่งแห้ง โรคใบติด โรคราน้ำค้าง ราสนิม แอนแทรคโนส ไฟธอปโทร่า หรือ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ไอเอส หยุดโรค และ FK-1 ธาตุหลัก N-P-K ธาตุรอง ธาตุเสริม Ca_ Mg_ Zn สำหรับบำรุงให้แข็งแรง โตไว ผลผลิตดี สร้างภูมิคุ้มกันโรค

ตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ
#ราน้ำค้างองุ่น #ราแป้งองุ่น #แอนแทรคโนสองุ่น #ราน้ำค้างแคลตาลูป #ราน้ำค้างเมล่อน #ราน้ำค้างองุ่น #ราน้ำค้างข้าวโพด #ราน้ำค้างถั่วเหลือง #ราน้ำค้างบวบ #ราน้ำค้างกะหล่ำปลี #ราน้ำค้างฟักแม้ว #ราน้ำค้างฟักเขียว #ราน้ำค้างแตงกวา #ราน้ำค้างซูกินี #ราน้ำค้างมะระจีน #ราน้ำค้างฟักทอง #ข้าวไหม้คอรวง #ข้าวเน่าคอรวง #ข้าวขาดคอรวง #โรคข้าว #แตงโมเถาเหี่ยว #ราน้ำค้างแตงโม #แตงโมใบไหม้ #โรคพืช #โรคใบไหม้ #โรคราสนิม #โรคใบติด #ทุเรียนใบติด #โรคราน้ำค้าง #ข้าวเน่าคอรวง #แอนแทรคโนส #ไฟธอปโทร่า #โรคกุ้งแห้ง #โรคใบจุด #ราแป้ง #โรคเหี่ยว

ตัวอย่างเชื้อรา สาเหตุโรคพืชต่างๆ
#Pyricularia_oryzae สาเหตุ โรคไหม้คอรวง ข้าวเน่าคอรวง
#Phytophthora_spp. #Sclerotium_spp. สาเหตุ โรครากเน่า โคนเน่า
#Capnodium_sp. #Meliola_sp. สาเหตุ โรคราดำ
#Maravaria_pterocarpi (ราสนิมพะยูง)
#Olivea_teetonae (ราสนิมสัก)
#Cercospora_sp. #Macrophoma_sp. สาเหตุ โรคใบจุด
#Alternaria_sp. #Phyllachora_sp. สาเหตุ โรคใบจุดนูนดำ
#Pestalotropsis_sp. สาเหตุ โรคใบไหม้
#Oidium_sp. #Uncinula_tectonas สาเหตุ โรคราแป้ง
#Verticillium_sp. #Fumsarium_spp. #Selerotium_sp. สาเหตุ โรคเหี่ยว

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง (เลือกแยกซื้อได้)

http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

ข้อมูลและอัตราผสมใช้
🍂 ไอเอส อัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)
🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส ได้เลย
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🍂ข้อมูลจำเพาะ ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค
*การใช้ ไอเอส ในช่วงรักษาโรคพืชจากเชื้อรา กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
กรมส่งเสริมการเกษตร ตั้ง คลินิกพืช ปั้นนักส่งเสริมเป็น หมอพืช วินิจฉัยโรคพืช แก้ปัญหาให้กับเกษตรกรตรงจุด
กรมส่งเสริมการเกษตร ตั้ง คลินิกพืช ปั้นนักส่งเสริมเป็น หมอพืช วินิจฉัยโรคพืช แก้ปัญหาให้กับเกษตรกรตรงจุด
กรมส่งเสริมการเกษตรเร่งขับเคลื่อนคลินิกพืชพร้อมปั้นหมอพืชให้มีความองค์ความรู้และเกิดความชำนาญในการให้คำปรึกษาด้านโรคพืชอย่างถูกต้องแม่นยำ คาดสิ้นเดือนเมษายนนี้เกษตรกรสามารถเข้ารับบริการได้ครอบคลุมทั่วประเทศ

นายเข้มแข็ง ยุติธรรมดำรง อธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร เปิดเผยว่า จากปัญหาความสูญเสียผลผลิตทางการเกษตรจากการเข้าทำลายของศัตรูพืชและโรคพืชที่ปัจจัยรอบด้านแตกต่างกัน ส่งผลให้ผลผลิตทางการเกษตรเกิดความเสียหาย เกิดผลกระทบต่อผลผลิตและรายได้ของเกษตรกร กรมส่งเสริมการเกษตร ได้ขับเคลื่อนงานคลินิกพืชและฝึกอบรมนักวิชาการส่งเสริมการเกษตร ที่ดูแลงานอารักขาพืชให้ เป็นหมอพืชที่สามารถวินิจฉัยปัญหาโรคพืชและแมลงศัตรูพืชเบื้องต้น โดยบทบาทของหมอพืช จะต้องผ่านการอบรมเกี่ยวข้องกับการวินิจฉัยและการจัดการศัตรูพืช และมีประสบการณ์ด้านการวินิจฉัยอาการผิดปกติและการจัดการศัตรูพืชเบื้องต้นในระดับพื้นที่ เพื่อให้คำแนะนำการจัดการศัตรูพืชที่เหมาะสมถูกต้องแม่นยำกับสภาพปัญหาของเกษตรกรแต่ละพื้นที่ได้

นายรพีทัศน์ อุ่นจิตตพันธ์ ผู้อำนวยการกองส่งเสริมการอารักขาพืชและจัดการดินปุ๋ย กรมส่งเสริมการเกษตร กล่าวเพิ่มเติมว่า สำหรับคลินิกพืช จะเปิดให้บริการครบทั้ง 77 จังหวัด โดยจะให้บริการอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง พร้อมกับมีการติดตามประเมินผลเบื้องต้นเพื่อปรับปรุงแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้น ซึ่งเกษตรกรสามารถเข้ารับบริการคลินิกพืชได้หลายแห่ง ได้แก่ 1. ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จำนวน 9 ศูนย์ โดยจะเปิดให้บริการเป็นประจำทุกวัน 2. สำนักงานเกษตรจังหวัด จำนวน 77 ศูนย์ และสำนักงานเกษตรอำเภอ 882 ศูนย์ โดยจะเปิดให้บริการ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 วัน 3. ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร จำนวน 882 ศูนย์ หรือศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน จำนวน 1_764 ศูนย์ โดยจะเปิดให้บริการ อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 วัน

“อย่างไรก็ตามคาดว่าคลินิกพืชที่มีหมอพืชที่ผ่านการอบรมความรู้อย่างเข้มข้นจะสามารถให้บริการเกษตรกรแก้ไขปัญหาได้ตรงจุดถูกต้องแม่นยำโดยยึดหลักการจัดการศัตรูพืชด้วยวิธีผสมผสานที่มีความยืดหยุ่นตามบริบทของตัวเกษตรกรและพื้นที่ ลด ละ การใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชเกินความจำเป็น ซึ่งจะทำให้เกษตรกรสามารถผลิตผลผลิตทางการเกษตรได้มีอย่างคุณภาพ มีต้นทุนการผลิตที่ลดลงสามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้ในอนาคต”

ที่มา http://www.farmkaset..link..
งานวิจัยฝ้ายในรอบทศวรรษ
งานวิจัยฝ้ายในรอบทศวรรษ
ในรอบทศวรรษที่ผ่านมา นักปรับปรุงพันธุ์พืชและนักวิจัยของศูนย์วิจัยพืชไร่นครสวรรค์ รวมทั้งศูนย์เครือข่าย ได้วิจัยและพัฒนาพันธุ์ฝ้ายที่มีคุณภาพดี มีความหลากหลาย สอดคล้องและตรงกับความต้องการของตลาด ตลอดจนได้เทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม ลดการใช้สารเคมีตั้งแต่ขั้นตอนการปลูกจนกระทั่งกระบวนการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

1. ตากฟ้า 84-4

พันธุ์ฝ้ายใบขน ผลผลิตฝ้ายปุยทั้งเมล็ด 260 กิโลกรัมต่อไร่ และคุณภาพเส้นใยดีมาก โดยมีเปอร์เซ็นต์ปุย 38.0 เปอร์เซ็นต์ ความยาวของเส้นใย 1.23 นิ้ว ความเหนียวของเส้นใย 24.3 กรัมต่อเท็กซ์ ความสม่ำเสมอของเส้นใย 56 และความละเอียดอ่อนของเส้นใย 3.9 นอกจากนี้ผลผลิตเสียหายน้อยกว่าพันธุ์ตากฟ้า 2 ซึ่งเป็นฝ้ายใบเรียบ จากการเข้าทำลายอย่างรุนแรงของเพลี้ยจักจั่นที่ระบาดอย่างรวดเร็ว เมื่อประสบภาวะแห้งแล้งติดต่อกันเป็นเวลานาน เนื่องจากฝ้ายพันธุ์ตากฟ้า 84-4 มีใบปกคลุมด้วยขนทั้งบนใบและบริเวณเส้นใบ ทำให้ลดการเข้าทำลายของเพลี้ยจักจั่นได้ดีกว่า อีกทั้งยังมีความต้านทานต่อโรคใบหงิก ซึ่งทำให้สามารถลดการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดแมลงปากดูดพวกเพลี้ยอ่อนและเพลี้ยจักจั่นลงในระดับหนึ่ง ดังนั้น ฝ้ายพันธุ์ตากฟ้า 84-4 จึงเหมาะสมที่จะส่งเสริม ให้เกษตรกรปลูก ในภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก ที่ก่อให้เกิดภาวะแห้งแล้งเป็นระยะเวลานานตลอดจนเป็นพันธุ์ที่มีเสถียรภาพในการให้ผลผลิต สามารถปรับตัวได้ดีในสภาพแวดล้อมของการปลูกฝ้ายที่สำคัญของประเทศไทย

เทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม ในการผลิตฝ้ายพันธุ์ตากฟ้า 84-4 สำหรับดินชุดสมอทอด ควรใช้ อัตราประชากร 1_828 ต้นต่อไร่ โดยใช้ระยะปลูกระหว่างแถว 1.75 เมตร ระหว่างต้น 0.5 เมตร ใส่ปุ๋ยอัตรา 12-12-12 กิโลกรัมต่อไร่ ของ N-P2O5-K2O เมื่อฝ้ายอายุ 30 วัน

2. ตากฟ้า 86-5

ฝ้ายเส้นใยสีเขียว และมีคุณภาพเส้นใยดีพันธุ์แรกของไทย มีความยาวเส้นใย 1.26 นิ้ว ความเหนียว 31.6 กรัม/เท็กซ์ ความสม่ำเสมอ 84 และความละเอียดอ่อน 2.54 ตลอดจนต้านทานต่อโรคใบหงิก เหมาะสำหรับใช้เป็นวัตถุดิบรองรับการผลิตหัตถกรรมสิ่งทอในท้องถิ่น เพื่อนำไปสู่การแข่งขันและพึ่งพาตนเอง อีกทั้งเส้นใยสีเขียวยังเป็นคุณสมบัติเฉพาะตัว ไม่ต้องผ่านกระบวนการฟอกย้อมสี ปลอดภัยต่อผู้ผลิต ผู้ใช้ และลดมลภาวะน้ำเสียที่เกิดจากการฟอกย้อม ตรงตามกระแสของผู้บริโภคที่ต้องการใช้เส้นใยฝ้ายสี ซึ่งอนุรักษ์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

เทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม ในการเพิ่มมูลค่าของผลผลิตฝ้าย ซึ่งเป็นฝ้ายเส้นใยสีเขียวพันธุ์แรกของไทย แนะนำให้ใช้อัตราประชากร ที่เหมาะสม 2_650 ต้นต่อไร่ หรือ ใช้ระยะปลูก 1.25×0.50 เมตร ใส่ปุ๋ยอัตรา 8-16-8 กิโลกรัมต่อไร่ ของ N-P2O5-K2O ซึ่งเหมาะสมและให้กำไรสูงสุด ในชุดดินวังไฮ สำหรับการป้องกันกำจัดเพลี้ยจักจั่น ให้พ่นสารเคมีป้องกันกำจัดแมลงศัตรูฝ้ายเฉพาะที่ฝ้ายอายุ 50-100 วัน หรือ เมื่อมีปริมาณเพลี้ยจักจั่น ถึงระดับเศรษฐกิจ และแนะนำให้เก็บเกี่ยวฝ้ายพันธุ์นี้ ทุก 5 และ 10 วันหลังจากสมอเริ่มแตก เพื่อให้ได้เส้นใยที่มีสีเขียวเข้มที่สุด

3. ตากฟ้า 6

ฝ้ายเส้นใยสีน้ำตาลพันธุ์แรกของไทย ความยาวเส้นใยปานกลาง 1.09 นิ้ว และมีความละเอียดอ่อนของเส้นใยสูง 2.7 เมื่อนำไปทอจะได้เนื้อผ้าที่มีความนิ่ม สบาย ให้ผลผลิตเฉลี่ย 177 กิโลกรัมต่อไร่ และปลูกได้ในแหล่งผลิตฝ้ายของไทย มุ่งเน้นความเป็นเส้นใยธรรมชาติที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และมีสีน้ำตาลตามธรรมชาติ โดยไม่ต้องใช้สารเคมีในการฟอกย้อม เพื่อให้ลด ต้นทุนแรงงาน ลดขั้นตอน และเวลาในการฟอกย้อมสี อีกทั้งยังปลอดภัยต่อผู้ผลิต ผู้ใช้ และลดมลภาวะน้ำเสียที่เกิดจากการฟอกย้อม

เทคโนโลยีการผลิตที่เหมาะสม ในการผลิตฝ้ายตากฟ้า 6 ที่ปลูกในดินร่วนเหนียว ชุดดินวังไฮ ควรใช้อัตราประชากร 3_200 ต้นต่อไร่ โดยใช้ระยะปลูกระหว่างแถว 1.0 เมตร ระหว่างต้น 0.5 เมตร หรือ อัตราประชากร 2_560 ต้นต่อไร่ โดยใช้ระยะปลูกระหว่างแถว 1.25 เมตร ระหว่างต้น 0.5 เมตร ใส่ปุ๋ยเคมีรองพื้นเกรด 15-15-15 อัตรา 15 กิโลกรัมต่อไร่ และเมื่อฝ้ายอายุ 30 วัน ใส่ปุ๋ยเคมี 46-0-0 อัตรา 15 กิโลกรัมต่อไร่

เทคโนโลยีการผลิตฝ้ายอินทรีย์

ซึ่งเป็นอีกเทคโนโลยีหนึ่งที่เพิ่มมูลค่าของผลผลิตฝ้าย เนื่องจากลดการใช้สารเคมี สร้างผลผลิตและสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยจากสารเคมีปนเปื้อนในการผลิตฝ้าย โดยสามารถเลือกใช้การปรับปรุงดินจาก 4 วิธี คือ การใช้ปอเทืองหว่านแล้วไถกลบเมื่ออายุ 2 เดือน หรือใช้ปอเทืองร่วมกับปุ๋ยหมักแห้ง 3 ตันต่อไร่ หรือใช้ปอเทืองร่วมกับโบกาชิ 200 กิโลกรัมต่อไร่ หรือใช้ปอเทืองร่วมกับปุ๋ยหมัก 3 ตันต่อไร่และใส่โบกาชิ 200 กิโลกรัมต่อไร่เมื่ออายุ 1 เดือน แต่กรรมวิธีที่ให้ค่า BCR ต่ำกว่ากรรมวิธีอื่นหรือคุ้มค่ามากกว่า คือ ใช้ปอเทืองอย่างเดียว หรือใช้โบกาชิ 200 กิโลกรัมต่อไร่อย่างเดียว (ค่า BCR เท่ากับ 1.26 และ 1.40 ในพันธุ์ตากฟ้า 86-5 และ ตากฟ้า 6 ตามลำดับ และพันธุ์ฝ้ายทั้งสองพันธุ์นี้สามารถปลูกในระบบอินทรีย์ได้ ส่วนการควบคุมแมลงศัตรูพืช สามารถพ่นน้ำหมักชีวภาพจากผลไม้และจากสมุนไพร (อัตราส่วนน้ำหมัก : น้ำ 1 : 200) ตั้งแต่ฝ้ายอายุ 15-100 วันหลังงอก ช่วงฤดูปลูกปลายฝนสำหรับภาคเหนือ (จังหวัดเชียงใหม่) สามารถปลูกได้ตั้งแต่ปลายเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม และมีโอกาสพบกับความแปรปรวนของฝนได้ตลอดฤดูปลูก

4. ตากฟ้า 7

ฝ้ายพันธุ์รับรองล่าสุดของกรมวิชาการเกษตร ตากฟ้า 7 เป็นฝ้ายใบขน ผลผลิตฝ้ายปุยทั้งเมล็ด เฉลี่ย 196 กิโลกรัมต่อไร่ ทนทานต่อเพลี้ยจักจั่น และต้านทานต่อโรคใบหงิกในสภาพการปลูกแบบปลอดการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดแมลงศัตรูฝ้าย ตลอดจนมีเปอร์เซ็นต์หีบ 36.6 % คุณภาพเส้นใยยาวปานกลาง โดยกลุ่มเส้นใยมีความยาว 1.02 นิ้ว ความเหนียว 16.6 กรัมต่อเท็กซ์ ความละเอียดอ่อน 4.4 และความสม่ำเสมอ 58 อายุเก็บเกี่ยวประมาณ 120-189 วัน สามารถปลูกได้ในแหล่งผลิตฝ้ายของประเทศไทย เป็นทางเลือกให้เกษตรกรใช้ปลูกในพื้นที่ขนาดเล็ก (น้อยกว่า 1 ไร่) ในสภาพปลอดการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดโรคและแมลง รองรับแนวความคิดในการผลิตฝ้ายที่ปลอดภัยต่อสุขภาพผู้ผลิต ผู้บริโภค จากศักยภาพของพันธุ์ สามารถที่จะก่อให้เกิดการพัฒนาต่อเนื่องในการผลิตฝ้ายอินทรีย์ เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิต และรองรับกระแสความต้องการของผู้บริโภคที่มีกำลังซื้อสูง (niche market)

คำแนะนำการจัดการปุ๋ย ในการผลิตฝ้ายพันธุ์ตากฟ้า 7 ที่ปลูกในดินร่วนเหนียวชุดดินวังไฮ ควรใช้อัตราประชากร 3_200 ต้นต่อไร่ (ระยะระหว่างแถว 1.0 เมตร ระหว่างต้น 0.5 เมตร) หรือ อัตราประชากร 1_828 ต้นต่อไร่ (ระยะระหว่างแถว 1.75 เมตร ระหว่างต้น 0.5 เมตร) ใส่ปุ๋ยรองพื้นสูตร 8-24-24 อัตรา 33 กิโลกรัมต่อไร่ และใส่ปุ๋ย 21-0-0 อัตรา 7 กิโลกรัมต่อไร่เมื่อฝ้ายอายุ 30 วัน

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ฉีดพ่น FK-1 เพื่อ บำรุง ส่งเสริมการเจริญเติบโต ของ ฝ้าย
814 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 81 หน้า, หน้าที่ 82 มี 4 รายการ
|-Page 75 of 82-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 |


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
โรงงานรับจ้างผลิตปุ๋ย OEM/ODM เป็นแบรนด์สินค้าของคุณ ปุ๋ยน้ำ ปุ๋ยเม็ด ไตรโคเดอร์มา บิวเวอร์เรีย เมธาไรเซียม จุลินทรีย์ย่อยสลาย ยาปราบฯ สารปรับสภาพดิน ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์เคมี ปุ๋ยเคมี ทำได้ทุกชนิด
เริ่มต้นเพียง 15,000 บาท
ปุ๋ยยาฯ จุลินทรีย์ต่างๆ ปุ๋ยน้ำต่างๆ ปุ๋ยน้ำอะมิโน ไตรโคฯ ประเภทน้ำ ประเภทผง บรรจุขวด บรรจุซอง ทุกชนิด ฯลฯ
เริ่มต้นเพียง 45,000 บาท
ปุ๋ยเม็ดทุกชนิด บรรจุกระสอบ 50 กิโลกรัม บิ๊กแบ็ค 1 ตันเพื่อส่งออก กระสอบ 25 กิโลกรัม ทำได้ทุกชนิด ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สารปรับสภาพดิน อะมิโนเม็ดสกัด ฮิวมิค ฯลฯ
โทร 090-592-8614
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค - เพื่อปรับปรุงการเจริญเติบโตของต้นสับปะรด
Update: 2567/02/13 09:51:24 - Views: 172
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคเมลาโนส หรือ โรครา น้ำหมาก ในส้ม ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/05 13:57:26 - Views: 3101
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคพืช ฉีดพ่น ไอเอส และ FK-T ช่วยฟื้นฟู พืช จากการเข้าทำลายของเชื้อรา โดย FK ขนาด 1 ลิตร
Update: 2566/06/21 14:49:54 - Views: 505
หนอนชอนใบส้ม หนอนเจาะผลส้ม หนอนผีเสื้อ หนอนต่างๆในพืชตระกูลส้ม ป้องกันดีที่สุด พบระบาดให้เร่งกำจัด
Update: 2566/11/06 08:56:06 - Views: 8940
โรคทุเรียน
Update: 2566/03/03 08:27:38 - Views: 3036
มะม่วง ผลใหญ่ ผลดก ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ยโพแทสเซี่ยมคลอไรด์ สตาร์เฟอร์ 0-0-60
Update: 2567/04/17 10:51:19 - Views: 79
การป้องกันกำจัด โรค แอนแทรคโนส กุหลาบ
Update: 2563/12/04 20:24:08 - Views: 3069
โรคราน้ำค้างในฟักแม้ว
Update: 2564/08/10 05:04:09 - Views: 3326
การป้องกันกำจัด เพลี้ยไก่แจ้ เพลี้ยต้นทุเรียน
Update: 2566/05/06 08:15:02 - Views: 11739
ฉีดพ่นป้องกันและกำจัด เพลี้ยหอย ศัตรูพืชสำหรับต้นส้ม ด้วย INVET ไดโนเตฟูราน และ เร่งฟื้นฟูด้วย ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 30-20-5
Update: 2567/02/24 14:32:02 - Views: 130
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนเจาะกิ่ง ใน ทับทิม และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/28 14:13:07 - Views: 3108
การควบคุมวัชพืชด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG) ในไร่สับปะรด
Update: 2567/01/25 12:39:38 - Views: 151
การปลูกอ้อย เพิ่มผลผลิตอ้อยสูงสุดด้วยปุ๋ยตรา FK ปุ๋ยน้ำสำหรับอ้อย
Update: 2566/01/02 09:26:52 - Views: 3254
วิธีการควบคุมและป้องกันการระบาดของเพลี้ยในผักชีลาว
Update: 2566/11/23 14:14:44 - Views: 367
โรคพืชตระกูลแตง โรคราน้ำค้าง และ โรคราแป้ง
Update: 2564/08/09 22:28:59 - Views: 3352
กำจัดหนอนเจาะเมล็ด ในต้นทุเรียน ระยะที่เมล็ดแข็งแล้ว ไอกี้-บีที ชีวินทรีย์กำจัดศัตรูพิช โดย FK ใช้ได้กับพืชทุกชนิด
Update: 2566/05/27 13:47:16 - Views: 6553
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 15-5-30+3 MgO: เคล็ดลับใหม่สำหรับการขยายขนาดและเพิ่มคุณภาพของมะม่วง
Update: 2567/02/13 13:05:45 - Views: 157
น้ำท่วม หากต้องการความช่วยเหลือจากทหาร โทรประสานงานได้ที่ นพค.51
Update: 2562/09/01 09:45:15 - Views: 2972
ปุ๋ยเร่งผลผลิต FK-3 ฉีดพ่นทางใบ เพื่อเพิ่มผลผลิต ใช้ได้กับพืชทุกชนิด
Update: 2566/09/26 10:33:25 - Views: 295
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรครากเน่า โคนเน่า ในกัญชา กัญชง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/21 09:15:12 - Views: 3350
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022