[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - โรคราสนิมขาว
12 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 1 หน้า, หน้าที่ 2 มี 2 รายการ

ราสนิมขาวผักบุ้ง โรคผักบุ้งใบไหม้ และโรคราต่างๆ สร้างความเสียหายต่อผลผลิต ควบคุม ป้องกันกำจัดก่อนเกิดความเสียหาย
ราสนิมขาวผักบุ้ง โรคผักบุ้งใบไหม้ และโรคราต่างๆ สร้างความเสียหายต่อผลผลิต ควบคุม ป้องกันกำจัดก่อนเกิดความเสียหาย
ราสนิมขาวผักบุ้ง โรคใบไหม้ในผักบุ้ง เป็นปัญหาที่พบบ่อยในการปลูกผักบุ้ง นอกจากนี้ยังมีโรคราต่าง ๆ ที่สามารถทำให้ผักบุ้งเสียหาย

โรคราสนิมขาว: โรคราสนิมขาวมักแสดงอาการใบบุ้งเริ่มมีจุดสีขาวที่เกิดจากเชื้อรา Sclerotinia minor. สภาพอากาศชื้นและอากาศหนาวเป็นปัจจัยสำคัญในการเกิดโรคนี้

โรคใบไหม้: โรคใบไหม้ทำให้ใบผักบุ้งเริ่มเหี่ยวหรือหดตัวและมีรอยแห้งบนใบ สาเหตุของโรคนี้คือเชื้อรา Pseudoperonospora cubensis สาเหตุของโรคนี้ สภาพอากาศชื้นและฝนตกมากเป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างโอกาสให้โรคนี้ระบาด

โรคราต่างๆ: นอกจากนี้ยังมีโรคราอื่น ๆ ที่สามารถทำให้ผักบุ้งเสียหาย เช่น โรคราขาว และ โรคราดำ

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์ สำหรับป้องกัน กำจัด โรคราต่างๆในผักบุ้ง และยังใช้ได้กับทุกๆพืช
สั่งซื้อไอเอสได้ที่ ลาซาด้า http://ไปที่..link..
อ่าน:9433
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคพืชที่เกิดในหน้าฝน ใบจุด ราสนิม ราน้ำค้าง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคพืชที่เกิดในหน้าฝน ใบจุด ราสนิม ราน้ำค้าง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคพืชที่เกิดในหน้าฝน ใบจุด ราสนิม ราน้ำค้าง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
เชื้อราไตรโคเดอร์มา ตรา Trichorex เชื้อรากำจัดโรคพืชฤดูฝนอย่างได้ผล

เมื่อฤดูฝนใกล้เข้ามา เกษตรกรและชาวสวนต้องเผชิญกับความท้าทายชุดใหม่ในการรักษาพืชผลให้แข็งแรง ความชื้นและความชื้นที่เพิ่มขึ้นทำให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์ที่สมบูรณ์แบบสำหรับโรคต่างๆ ที่อาจส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อสุขภาพและผลผลิตของพืช อย่างไรก็ตาม การเปิดตัวเชื้อราไตรโคเดอร์มาแบรนด์ Trichorex ซึ่งเป็นเชื้อราไตรโคเดอร์มาสายพันธุ์ที่ทรงพลัง ทำให้ผู้ปลูกสามารถป้องกันและกำจัดโรคที่พบบ่อยในช่วงนี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เชื้อราไตรโคเดอร์มาคือเชื้อราที่มีประโยชน์ตามธรรมชาติซึ่งทำหน้าที่เป็นสารควบคุมทางชีวภาพ นำเสนอวิธีแก้ปัญหาที่ยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อต่อสู้กับโรคพืช Trichorex ซึ่งเป็นแบรนด์ที่โดดเด่นในตลาด ใช้พลังของ Trichoderma เพื่อจัดการกับการติดเชื้อราต่างๆ ที่มักเกิดกับพืชผลในช่วงฤดูฝน มาสำรวจโรคสำคัญที่ Trichorex ป้องกันและกำจัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ:

โรคราน้ำค้าง: โรคราน้ำค้างเป็นโรคทำลายล้างที่ส่งผลกระทบต่อผักหลากหลายชนิด รวมทั้งแตงกวา ผักกาดหอม และองุ่น อาจทำให้ใบเสียหายอย่างรุนแรง ทำให้ความแข็งแรงและผลผลิตของพืชลดลง Trichorex ต่อสู้กับโรคราน้ำค้างโดยการตั้งรกรากบริเวณรากและใบ สร้างเกราะป้องกันที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อราที่ทำให้เกิดโรคที่รับผิดชอบต่อโรคนี้

สนิมขาว: สนิมขาวเป็นเชื้อราทั่วไปอีกชนิดหนึ่งที่ส่งผลต่อผักใบ เช่น ผักโขม กะหล่ำปลี และคะน้า ปรากฏเป็นตุ่มหนองสีขาวหรือสีเหลืองที่ด้านล่างของใบ นำไปสู่การเปลี่ยนสีใบและการสังเคราะห์แสงลดลง Trichorex ยับยั้งการเกิดสนิมขาวได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยเอาชนะเชื้อโรคและหลั่งเอนไซม์ที่ย่อยสลายผนังเซลล์ ป้องกันการล่าอาณานิคมและการแพร่กระจาย

โรคเน่าในดิน: เชื้อโรคในดินสามารถทำลายพืชผลในช่วงฤดูฝน ทำให้รากเน่าและเหี่ยวแห้ง คุณสมบัติที่เป็นปฏิปักษ์ของเชื้อราไตรโคเดอร์มาทำให้เป็นทางออกที่ดีในการต่อสู้กับการเน่าของดิน สูตรของ Trichorex ประกอบด้วยสปอร์และไมซีเลียที่เกาะไรโซสเฟียร์อย่างแข็งขัน สร้างเกราะป้องกันรอบราก ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคที่เป็นอันตราย ป้องกันไม่ให้เกิดการเน่าเปื่อย

โรคเหี่ยว: โรคเหี่ยวเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อราเช่น Fusarium และ Verticillium มันส่งผลกระทบต่อพืชหลากหลายชนิด รวมทั้งมะเขือเทศ พริก และมะเขือยาว นำไปสู่การเหี่ยวเฉา ใบเหลือง และการเจริญเติบโตแคระแกรน Trichorex ส่งเสริมสุขภาพของพืชโดยการผลิตเอนไซม์ที่ทำลายผนังเซลล์ของเชื้อโรคเหล่านี้ ยับยั้งการเจริญเติบโตและป้องกันอาการเหี่ยวได้อย่างมีประสิทธิภาพ

โรคใบจุด โรคใบจุดที่เกิดจากเชื้อราหลายชนิดมักเกิดในช่วงฤดูฝน พวกมันปรากฏเป็นจุดกลมหรือรูปร่างผิดปกติบนใบ นำไปสู่การผลัดใบและการสังเคราะห์แสงลดลง Trichorex ควบคุมโรคใบจุดโดยการตั้งถิ่นฐานบนผิวใบและแข่งขันกับเชื้อโรคเพื่อทรัพยากร นอกจากนี้ยังผลิตสารต้านเชื้อราที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อโรคโดยตรง

การประยุกต์ใช้ Trichorex นั้นตรงไปตรงมาและสามารถรวมเข้ากับแนวทางปฏิบัติทางการเกษตรที่มีอยู่ได้อย่างง่ายดาย สามารถใช้เป็นสารปรับปรุงเมล็ดพันธุ์ สารปรับปรุงดิน หรือฉีดพ่นทางใบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพืชผลและโรคที่เป็นเป้าหมาย Trichorex สร้างความสัมพันธ์ทางชีวภาพกับพืช เสริมสร้างกลไกการป้องกันตามธรรมชาติและส่งเสริมสุขภาพโดยรวมของพืช

ข้อได้เปรียบที่โดดเด่นอย่างหนึ่งของสารละลายที่ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา เช่น Trichorex คือธรรมชาติที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม Trichorex ไม่เสี่ยงต่อการสะสมของสารเคมีตกค้าง ซึ่งแตกต่างจากสารเคมีฆ่าเชื้อรา ทำให้ปลอดภัยสำหรับเกษตรกร ผู้บริโภค และระบบนิเวศโดยรวม

สรุปได้ว่า เชื้อราไตรโคเดอร์มา ตรา Trichorex นำเสนอวิธีแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพสูงในการป้องกันและกำจัดโรคที่มักเกิดขึ้นในช่วงฤดูฝน ความสามารถในการต่อสู้กับโรคราน้ำค้าง โรคราสนิมขาว โรคเน่าในดิน โรคเหี่ยว และโรคใบจุดทำให้เป็นเครื่องมืออันล้ำค่าสำหรับเกษตรกรและชาวสวนที่ต้องการปกป้องพืชผลและเพิ่มผลผลิตสูงสุด ด้วยการใช้พลังของเชื้อรา Trichoderma ทำให้ Trichorex นำเสนอวิธีการจัดการโรคพืชที่ยั่งยืน เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และเชื่อถือได้

*** มาตรฐานการผลิต ***
✅ มาตรฐาน ห้อง LAB " ISO /IEC17025
✅ สกัดด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย
✅ วิจัยและคิดค้นสูตรในห้องแล็บที่ได้
มาตรฐาน
✅ ปลอดภัยต่อผู้ใช้ สัตว์ และสิ่งแวดล้อม
✅ สะดวก ใช้งานง่ายแค่ผสมน้ำพ่นได้เลย

***ปลอดภัยต่อคนและสิ่งแวดล้อม ***

-วิธีใช้-
*ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร
**ผสมเชื้อ 20 กรัม ต่อปุ๋ยอินทรีย์ 20 กิโล

สั่งซื้อ
โทร 097-918-3530
ไลน์ janemini1112
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
ผักบุ้ง ใบไหม่ ใบเหลือง ใบจุด กำจัดโรคผักบุ้ง จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ผักบุ้ง ใบไหม่ ใบเหลือง ใบจุด กำจัดโรคผักบุ้ง จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

โรคราสนิมขาว White Rust
สาเหตุ เชื้อรา Albugo ipomoea-aquaticae Sawada เป็นเชื้อราชั้นต่ำ
อาการ อาการของโรคสนิมขาวในผักบุ้งที่พบทั่วไปแบ่ง ออกได้ 2 แบบตามลักษณะการเข้าทําลายและอาการที่ แสดงออก คือ อาการเฉพาะแห่ง โดยจะเกิดขึ้นตรงจุดที่เชื้อเข้าทําลายเริ่มจากเกิดจุดเชลล์ตายสีเหลืองซีดขึ้นที่ ด้านบนของใบก่อน ต่อมา 2-3 วัน ที่ด้านล่างใบตรงกันจะเกิดแผลลักษณะเป็นกระจุกสีขาวซึ่งเป็นกลุ่มของสปอร์ มองดูเป็นตุ่มนูนเล็ก ๆ ขนาดประมาณ 1-2 มิลลิเมตรเกิดขึ้นทั่วไป ตุ่มเหล่านี้หากเกิดมากๆ อาจต่อเชื่อมกัน กลายเป็นแผลใหญ่ ทําให้มีขนาดและรูปร่างไม่แน่นอน เมื่อเกิดแผลตุ่มสีขาวขึ้นนั้นผิวด้านบนของใบซึ่งแสดงอาการซีด เหลืองในตอนแรกก็จะโป่งพองออกเป็นปุ่มปมคล้ายผิวมะระ ไม่ราบเรียบเหมือนปกติ ส่วนใหญ่แล้วอาการเฉพาะแห่ง นี้จะเกิดและพบมากกับใบ แต่ในบางครั้งก็จะเกิดกับส่วนของต้นและก้านใบได้เช่นกัน ส่วนอีกแบบหนึ่งเป็นอาการ แพร่กระจายที่เกิดขึ้นจากการที่เชื้อเข้าไปอยู่ภายในต้นพืช ซึ่งจะทําให้พืชแสดงอาการผิดปกติในลักษณะการสร้างเป็น ปุ่มปมหรือบวมพองโตขึ้นที่ส่วนของใบ ลําต้นและกิ่งก้าน ส่วนของลําต้นอ้วนหนา ปล้องหดสั้น ใบที่เกิดมีขนาดและ รูปร่างผิดปกติ อาจบิดเบี้ยวหรือหยักเป็นคลื่น

โรคใบไหม้ Leaf blight
สาเหตุ เชื้อรา Xanthomonas compestris pv.
อาการ เกิดจุดตุ่มใสเล็ก ๆ ใต้ใบ ต่อมาจุดแผลจะขยายออกกลายเป็นสีน้ำตาล-สีดำ ฉ่ำน้ำ ใบจะเหลืองซีดและแห้งเหี่ยวร่วงหล่นจากต้น

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย การควบคุมประจุไฟฟ้า สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
กำจัดเชื้อรา ผักบุ้ง ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
กำจัดเชื้อรา ผักบุ้ง ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
ไอเอส และ FK-T สามารถใช้ได้กับทุกพืช ใช้ฉีดพ่นทางใบ กับอุปกรณ์ฉีดพ่นทั่วไป และใช้โดรนบินฉีดพ่นได้เช่นกัน

โรคราสนิมขาว White Rust
เกิดจากเชื้อรา Albugo ipomoea-aquaticae Sawada
อาการ อาการของโรคสนิมขาวในผักบุ้งที่พบทั่วไปแบ่ง ออกได้ 2 แบบตามลักษณะการเข้าทําลายและอาการที่ แสดงออก คือ อาการเฉพาะแห่ง โดยจะเกิดขึ้นตรงจุดที่เชื้อเข้าทําลายเริ่มจากเกิดจุดเชลล์ตายสีเหลืองซีดขึ้นที่ ด้านบนของใบก่อน ต่อมา 2-3 วัน ที่ด้านล่างใบตรงกันจะเกิดแผลลักษณะเป็นกระจุกสีขาวซึ่งเป็นกลุ่มของสปอร์ มองดูเป็นตุ่มนูนเล็ก ๆ ขนาดประมาณ 1-2 มิลลิเมตรเกิดขึ้นทั่วไป ตุ่มเหล่านี้หากเกิดมากๆ อาจต่อเชื่อมกัน กลายเป็นแผลใหญ่ ทําให้มีขนาดและรูปร่างไม่แน่นอน เมื่อเกิดแผลตุ่มสีขาวขึ้นนั้นผิวด้านบนของใบซึ่งแสดงอาการซีด เหลืองในตอนแรกก็จะโป่งพองออกเป็นปุ่มปมคล้ายผิวมะระ ไม่ราบเรียบเหมือนปกติ ส่วนใหญ่แล้วอาการเฉพาะแห่ง นี้จะเกิดและพบมากกับใบ แต่ในบางครั้งก็จะเกิดกับส่วนของต้นและก้านใบได้เช่นกัน ส่วนอีกแบบหนึ่งเป็นอาการ แพร่กระจายที่เกิดขึ้นจากการที่เชื้อเข้าไปอยู่ภายในต้นพืช ซึ่งจะทําให้พืชแสดงอาการผิดปกติในลักษณะการสร้างเป็น ปุ่มปมหรือบวมพองโตขึ้นที่ส่วนของใบ ลําต้นและกิ่งก้าน ส่วนของลําต้นอ้วนหนา ปล้องหดสั้น ใบที่เกิดมีขนาดและ รูปร่างผิดปกติ อาจบิดเบี้ยวหรือหยักเป็นคลื่น

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สกัดจากธรรมชาติทั้งหมด โดยอาศัยเทคโนโลยีขั้นสูงอันทันสมัย 'การควบคุมประจุไฟฟ้า' สามารถฉีดพ่นได้ก่อนการเก็บเกี่ยว โดยไม่มีสารพิษตกค้าง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค

FK-T (FK ธรรมชาตินิยม) ปลอดภัย อาหารเสริมพืชชั้นเลิศ ลดต้นทุนปุ๋ย ได้ผลผลิตเพิ่ม พืชฟื้นตัวได้เร็ว
ขนาด 1 ลิตร
อัตราผสม 50 ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ฉีดพ่นทางใบ

แนะนำให้ผสม ไอเอส และ FK-T ฉีดพ่นไปพร้อมกัน
อัตราผสม สำหรับการฉีดพ่นพร้อมกัน
มาคา 50 ซีซี และ FK-T 50ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบ ทุก 3-5วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง หมั่นสังเกตุอาการ

การผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันส่งผลให้..

เมื่อพืช ถูกโรคหรือแมลงศัตรูพืชต่างๆเข้าทำลาย พืชจะมีความอ่อนแอ ต้านทานต่อโรคและแมลงศัตรูได้ต่ำกว่าปกติ
การที่เราใช้เฉพาะตัวยา ตัวยาจะช่วยหยุดโรค หรือกำจัดแมลง แต่พืชของเรานั้นจะยังทรงตัว ฟื้นตัวจากโรค หรือฟื้นตัวจากความเสียหายของการเข้าทำลายของแมลงได้ช้า

เปรียบได้คล้ายกับคนป่วย หากได้รับแต่เฉพาะยา ไม่ทานอาหาร ไม่บำรุง ร่างกายก็จะฟื้นตัวกลับมาสมบูรณ์แข็งแรงดังเดิมได้ช้า
พืชก็เช่นกัน หากเราให้ยา และให้อาหารเสริมพืชทางใบหรือ FK-T ไปพร้อมกัน พืชจะได้รับธาตุอาหารที่จำเป็นไปพร้อมกับยารักษาโรคหรือยาปราบศัตรูพืช จึงช่วยให้ฟื้นตัวได้เร็ว และกลับมาให้ผลผลิตดีดังเดิม


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
โรคผักบุ้ง โรคราสนิมขาวผักบุ้ง ผักบุ้งใบไหม้ ใบเหลือง จุดเหลือง โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
โรคผักบุ้ง โรคราสนิมขาวผักบุ้ง ผักบุ้งใบไหม้ ใบเหลือง จุดเหลือง โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
โรคราสนิมขาวผักบุ้ง White Rust มีสาเหตจาก เชื้อรา Albugo ipomoea-aquaticae Sawada เป็นเชื้อราชั้นต่ำ อาการที่แสดงให้เห็น เป็นจุดเหลืองอ่อนด้านบนใบ ทางตรงข้ามด้านใต้ใบ เป็นตุ่มนูน และพบปุ่มพอง ในส่วนของลำต้น และก้านใบ

การป้องกันกำจัด

ชุดคู่ป้องกันกำจัด บวกด้วยฟื้นฟูบำรุง

ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัด ยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ โรคใบไหม้ ใบจุด ยอดแห้ง ราสนิม ราน้ำค้าง แอนแทรคโนส ไฟทอปโธร่า

และ FKธรรมชาตินิยม ฟื้นฟู แก้ต้นโทรม ราพืชไม่กินปุ๋ย อาการใบซีด ใบเหลือง ต้นแคระ อาการขาดธาตุอาหารของพืช

โรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกัน กำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ยกตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น อาการ ใบไหม้ ใบจุด ใบขีดสีน้ำต้าง โรคใบติด ราสนิม ราน้ำค้าง โรคกุ้งแห้ง แอนแทรคโนส ไฟท็อปโธร่า เป็นต้น

ทั้งอาการใบไหม้ และใบเหลือง เกิดได้จากหลายสาเหตุ อาจเกิดได้จากโรค และการขาดธาตุอาหารพืชที่จำเป็น รวมถึงการให้น้ำ และการได้รับแสงแดด ซึ่งการพิจารณาสาเหตุนั้น ต้องสังเกตุอาการ และแก้ปัญหาทีละจุด

ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืชต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

FKธรรมชาตินิยม แก้ปัญหาโรคพืช ที่เกิดจากการขาดธาตุอาหารพืชต่างๆ และส่งเสริมการเจริญเติบโต ตลอดไปถึง การส่งเสริมผลผลิตพืช

ยกตัวอย่างเช่น

อาการใบไหม้ และอาการต่างๆ ที่เกิดจากโรคเชื้อรา
- โรคใบไหม้ โรคใบจุด และโรคใบขีดสีน้ำตาล จะต่างจากการขาดธาตุที่สังเกตุได้คือ โรคที่มีสาเหตุจากเชื้อรา จะลุกลามไปยังใบไหม้ และลุกลามขยายวงไปยังต้นข้างเคียง
- โรคราแป้ง ราสนิม ราน้ำค้าง มีการลุกลามติดต่อเช่นกัน

อาการใบไหม้ และอาการต่างๆ ที่เกิดจากการขาดธาตุ
- ขาด โพแทสเซียม ที่ใบแก่จะเหลืองซีด ขอบใบมีจุดสีน้ำตาลไหม้
- ขาด แมกนีเซียม ใบจะมีจุดเหลืองทั่วทั้งใบ ที่ปลายใบจะแห้ง
- ขาด สังกะสี ใบจะมีจุดเหลืองคล้ายราสนิม

อาการใบเหลือง ใบซีด ก็เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น
- ใบเหลือง จากการขาดธาตุ ไนโตรเจน
- ใบเหลือง เพราะได้รับแสงไม่เพียงพอ
- ใบเหลือง เพราะรดน้ำมาก หรือน้อยจนเกินไป
- ใบเหลือง เพราะค่า pH หรือความเป็นกรดด่างของดิน ไม่เหมาะสม
- ใบเหลือง เพราะขาดธาตุเหล็ก
- ใบเหลือง เพราะพืชลดจำนวนคลอโรฟิลล์ เพราะการขาดธาตุรอง หรือธาตุเสริมบางอย่าง

อาการใบไหม้และโรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ทุก 3-5 วัน

อาการของพืช ที่เกิดจากการขาดธาตุต่างๆ ฉีดพ่น FK ธรรมชาตินิยม

หมายเหตุ สามารถ ผสม ไอเอส และ FK ธรรมชาตินิยม ฉีดพ่นไปพร้อมกันในคราวเดียว

อัตราส่วนผสม
ไอเอส 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
FKธรรมชาตินิยม 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
สามารถผสมฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
*สำหรับท่านที่พ่นด้วย ฟ็อกกี้ ขนาด 1-2ลิตร ใช้ฝา FKธรรมชาตินิยมตวงประมาณ 2ฝา


การสั่งซื้อ

โทร 090-592-8614

ไลน์ไอดี http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ฟาร์มเกษตร http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

สั่งซื้อกับ ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..
ผักบุ้งในทุกระยะการเจริญเติบโต ระวังโรคราสนิมขาว(เชื้อรา ALBUGO IPOMOEA-PANDURATAE)
ผักบุ้งในทุกระยะการเจริญเติบโต ระวังโรคราสนิมขาว(เชื้อรา ALBUGO IPOMOEA-PANDURATAE)
ผักบุ้งในทุกระยะการเจริญเติบโต ระวังโรคราสนิมขาว(เชื้อรา ALBUGO IPOMOEA-PANDURATAE)
สภาพอากาศร้อนจัดและมีฝนตก ผักบุ้งในทุกระยะการเจริญเติบโต ระวังโรคราสนิมขาว(เชื้อรา Albugo ipomoea-panduratae)

โรคราสนิมขาวผักบุ้ง White Rust

สาเหตุ เชื้อรา Albugo ipomoea-aquaticae Sawada เป็นเชื้อราชั้นต่ำ

อาการ จุดสีเหลืองซีดด้านบนของใบ ด้านใต้ใบตรงกันข้ามจะเป็นตุ่มนูนเล็ก ๆ ขนาด 1-2 มิลลิเมตร อาจพบลักษณะปุ่มปม หรือบวมพองโตขึ้นในส่วนของก้านใบและลำต้น

การป้องกันรักษา

1. กำจัดวัชพืชในแปลงปลูก

2. แปลงที่เกิดโรคระบาด ควรงดการให้น้ำแบบพ่นฝอย และ ไม่ควรให้น้ำจนชื้นแฉะเกินไป

3. ตรวจแปลงปลูกสม่ำเสมอ โดยเฉพาะใบล่างๆ เมื่อพบโรค ตัดส่วนที่เป็นโรค ไปเผาทำลายนอกแปลงปลูก

4. หลังการเก็บเกี่ยว ควรนำเศษซากพืชไปเผาทำลายนอกแปลงปลูก

5. พื้นที่ที่เกิดโรคระบาด ควรปลูกพืชชนิดอื่นหมุนเวียนอย่างน้อย 2–3 ปี

6. ฤดูปลูกถัดไป

– การเตรียมดินก่อนปลูก ควรไถดินตากแดดให้นาน หรือ หว่านปูนขาว อัตรา 100 กิโลกรัมต่อไร่ แล้วไถกลบทิ้งไว้ ประมาณ 2 สัปดาห์ ก่อนปลูก จะช่วยลดการเกิดโรค

– ใช้เมล็ดพันธุ์ จากแหล่งที่ไม่มีโรคระบาดมาก่อน

– ไม่หว่านผักบุ้งแน่นเกินไป เพราะจะทำให้มีความชื้นสูง


โรคผักบุ้งใบไหม้ Leaf blight

สาเหตุ เชื้อแบคทีเรีย Xanthomonas compestris pv. (pathovar กำลังอยู่ในขึ้นตอนของการทดสอบ)

อาการ เกิดจุดตุ่มใสเล็ก ๆ ใต้ใบ ต่อมาจุดแผลจะขยายออกกลายเป็นสีน้ำตาล-สีดำ ฉ่ำน้ำ ใบจะเหลืองซีดและแห้งเหี่ยวร่วงหล่นจากต้น

การป้องกันรักษา

1. เก็บรวบรวมพืชที่เป็นโรค เผาทำลาย

2. ใช้ปูนขาวอัตรา 500 กิโลกรัมต่อไร่ คลุกดินแล้วตากดินไว้อย่างน้อย 1 เดือน

3. ปลูกพืชชนิดอื่นหนุนเวียน

อ้าอิง http://www.farmkaset..link..

สินค้าจากเรา

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

FKธรรมชาตินิยม ฟื้นฟู แก้อาการขาดธาตุ ส่งเสริมการเจริญเติบโต ส่งเสริมผลผลิต
ปลูกผักอะไรดี พืชผักสวนครัว ที่ปลูกง่ายใน ฤดูฝน
ปลูกผักอะไรดี พืชผักสวนครัว ที่ปลูกง่ายใน ฤดูฝน
พืชผักสวนครัวหลายชนิดเหมาะกับการปลูกใน "ฤดูฝน" โดย "ฤดูฝน" นั้นในการปลูกผักจะแบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ

ต้นฤดูฝน หมายถึงเดือน พฤษภาคม ถึง กรกฎาคม

เหมาะกับกัารปลูกผักสวนครัว เช่น
คะน้า
กุ๋ยช่าย
บวบเหลียม
ข้าวโพดหวาน
หอมแดง
กวางตุ้ง

ช่วงที่สองปลายฝน หมายถึงเดือน สิงหาคม ถึง ตุลาคม เหมาะกับกัารปลูกผักสวนครัว เช่น
ผักชีลาว
ผักกาดขาว
มะเขือเปาะ
มะเขือยาว
ผักบุ้งจีน
พริกต่าง ๆ

แต่อย่างไรดีในการดูแลผักของเราในฤดูฝนนั้นต้องคอยระมัดระวังโรคของพืชที่จะมาในฤดูฝนด้วย เช่น

โรคราน้ำค้าง
โรคน้ำค้าง มีสาเหตุมาจากเชื้อรา โดยจะทำให้ใบของผักนั้นมีมีจุดละเอียดสีดำ ส่วนใต้ใบจะมีราสีขาวคล้ายผงแป้งกระจายทั่วไป สร้างความเสียหายทำให้ต้องตัดใบทิ้ง

โรคเน่าคอดิน
โรคเน่าคอดิน มีสาเหตุมาจากเชื้อราเช่นกัน แต่จะเกิดในแปลงที่เราเพาะต้นกล้า

โรคราสนิมขาว
โรคราสนิมขาว เกิดจากเชื้อรา จะทำให้ใบมีสีเหลืองซีด ด้านใบจะมีตุ่มนู้น

โรคใบจุด
โรคใบจุด มีลักษณะจุดแผลเล็ก ๆ สีน้ำตาลในต้นกล้า ส่วนต้นที่โตแล้วจะมีแผลสีน้ำตาลซ้อนกันหายชั้น

จะเห็นได้ว่าโรคของพืชที่มาใน "ฤดูฝน" มักจะเป็นโรคเกี่ยวกับเชื้อรา ชาวสวนหรือนักปลูกผักมือสมัครเล่นต้องศึกษาโรคที่จะมากับฝนให้ดี

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา รายละเอียดด่านล่างนะคะ
โรคพืช ที่พบมากในฤดูฝน
โรคพืช ที่พบมากในฤดูฝน
เมื่อเข้าสู่ฤดูฝนที่แสนชุ่มฉ่ำ เกษตรกรก็มักจะเจอกับปัญหาที่เลี่ยงไม่ได้ นั่นคือปริมาณน้ำที่มากขึ้น พร้อมกับความชื้นในอากาศที่สูงขึ้น และสิ่งที่ตามมาคงไม่พ้น"โรคพืช"ต่างๆ โดยเฉพาะ"โรคพืช"ที่เกิดจาก"เชื้อรา" ดังนั้นหากฝนตกติดต่อกันเกินกว่า 2 - 3 วัน ควรมีการวางแผนที่ดีเพื่อป้องกันโรคพืชที่ตามมา เพราะพืชหลายชนิดเป็นเชื้อราได้ง่ายและมีการระบาดได้อย่างรวดเร็ว แล้วโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราจะมีโรคอะไรบ้าง และมีวิธีการป้องกันและแก้ไขยังไงไปดูกันเลย

1.โรคเน่าคอดิน (Damping off)

อาการ : โรคเน่าคอดินเป็นโรคพืชที่มักพบในพืชผักระยะกล้า เข้าทำลายบริเวณโคนต้น ราก รวมถึงเมล็ดที่กำลังงอกในพืชอวบน้ำ โดยต้นกล้าจะฟุบตายเป็นหย่อม ๆ บริเวณโคนต้นจะมีลักษณะแผลช้ำ เหี่ยวแฟบ คอเป็นสีน้ำตาลดำและเน่า เป็นเหตุทำให้ต้นกล้าหักพับลง

การป้องกันกำจัด

- เตรียมแปลงให้มีการระบายน้ำดี อย่าให้น้ำขังแฉะ ใช้เมล็ดพันธุ์ดีไม่มีเชื้อจุลินทรีย์ติดมากับเมล็ด และมีความงอกสูง ไม่หว่านเมล็ดแน่นเกินไป
- ก่อนปลูกแช่เมล็ดด้วย สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดโรคพืช
- สำหรับแปลงปลูกให้ปรับดินด้วยปูนขาว และปุ๋ยอินทรีย์ให้มาก ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มา ผสมกับดินปลูก
- ตรวจแปลงสม่ำเสมอพบต้นเป็นโรค รีบขุดเอาดินและต้นเป็นโรคทำลายหรือฝังลึกนอกแปลง

2.โรคราน้ำค้าง (Downy mildew)

อาการ : โรคราน้ำค้างเป็นโรคพืชที่ใบจะมีรอยจ้ำๆเป็นสีขาว ขอบสีน้ำตาลกระจายอยู่ทั่ว แต่บางครั้งก็เป็นสีเหลืองด่างๆ สีน้ำตาลเข้ม หรือเป็นจุดขาวๆเล็กๆ ถ้าปล่อยไว้นานๆจะทำให้พืชอ่อนแอ สร้างผลผลิตที่ดีไม่ได้ และยังอาจทำให้ต้นอ่อนตายได้ด้วย

การป้องกันกำจัด : ให้ฉีดพ่นด้วย สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดโรคพืช ซึ่งใช้ได้ระยะที่ยังเป็นต้นกล้า - ระยะการเติบโต

3.โรคใบจุด (Alternaria leaf spot)
อาการ : โรคใบจุดเป็นโรคพืชที่มีอาการบนต้นกล้า จะเกิดเป็นแผลเล็กๆ สีน้ำตาลดำ ลักษณะคล้ายโรคเน่าคอดินที่ขึ้นกับลำต้น เมื่อเชื้อเข้าทำลายในระยะต้นกล้า จะทำให้ต้นกล้าหยุดการเจริญเติบโตหรือชะงักงัน เมื่อย้ายไปปลูกในแปลงจะทำให้ต้นไม่สมบูรณ์ อาการในต้นแก่มักพบบนใบและก้าน เกิดเป็นแผลจุดเล็กๆ สีเหลือง ต่อมาแผลขยายใหญ่ขึ้น สีน้ำตาลเข้มถึงดำ เแผลมีลักษณะเป็นวงค่อนข้างกลม เรียงซ้อนกันเป็นชั้นๆ

การป้องกันกำจัด
- ทำลายต้นเป็นโรคโดยการขุดถอนไปเผาทิ้ง
- ปลูกพืชหมุนเวียน
- ไม่ควรให้น้ำแบบฉีดพ่นฝอย
- แช่เมล็ดในน้ำอุ่น 50 องศาเซลเซียส 30 นาที (ยกเว้นกะหล่ำดอก)
- ฉีดพ่น สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดโรคพืช

4.โรคราสนิมขาว (White rust)
อาการ : โรคราสนิมขาวเป็นโรคพืชที่มีจุดสีเหลืองซีดด้านบนของใบ ด้านใต้ใบตรงกันข้าม จะเป็นตุ่มนูนเล็ก ๆ ขนาด 1-2 มิลลิเมตร อาจพบลักษณะปุ่มปม หรือบวมพองโตขึ้นในส่วนของก้านใบและลำต้น

การป้องกันกำจัด
- หากเกิดโรคระบาด ให้ฉีดพ่นสารอินทรีย์ป้องกันกำจัดโรคพืช
- ดูแลระบบการให้น้ำในแปลงปลูก อย่าให้ขึ้นแฉะจนเกินไป

5.โรคเหี่ยว (Wilt)
อาการ : โรคเหี่ยวเป็นโรคพืชเกิดอาการเหี่ยวอย่างช้าๆ ใบที่อยู่โคนต้นเปลี่ยนเป็นสีหลืองและร่วง ต่อมาใบจะเหี่ยวทั้งต้น เมื่อผ่าลำต้นบริเวณเหนือระดับดินตามยาวจะพบว่า ท่อน้ำ ท่ออาหารเป็นสีน้ำตาล การผิดปกติของท่อน้ำ ท่ออาหารนี้จะลงไปถึงส่วนรากด้วย

การป้องกันกำจัด : ถ้าพบโรคในแปลง ต้องถอนต้นที่เป็นโรคมาทำลาย ก่อนปลูกควรปรับสภาพคืนด้วยปูนขาว และปุ๋ยคอก

เมื่อรู้แล้วว่าหน้าฝนนี้เราจะเจอโรคพืชอะไรบ้าง อย่าลืมสังเกตแปลงผักที่เราปลูกกันด้วยว่ามีอาการของโรคเหล่านี้หรือไม่ จะได้หาวิธีป้องกันกำจัดได้ทันท่วงที ลดความสูญเสียที่จะเกิดขึ้นกับผลผลิตตลอดฤดูกาลนี้

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา รายละเอียดด้านล่างนะคะ
โรคพืช ที่ระบาดหนักในฤดูฝน
โรคพืช ที่ระบาดหนักในฤดูฝน
ช่วงหน้าฝนแบบนี้สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้เลยคือปริมาณน้าที่มากขึ้น และความชื้นในอากาศที่สูงขึ้น หากฝนตกติดต่อกันเกินกว่า 2-3 วัน ควรมีการวางแผนที่ดี เพื่อป้องกันและกาจัดโรคพืชที่ตามมาในหน้าฝน ซึ่งเชื้อราเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดโรคพืชมากที่สุด พืชหลายชนิดเป็นเชื้อราได้ง่าย และมีการระบาดได้อย่างรวดเร็ว เพราะสปอร์ของเชื้อรา สามารถกระจายไปกับลม และน้าฝน หรือสิ่งมีชีวิตเป็นตัวนาพาเชื้อราไปสู่พืชชนิดอื่นๆได้



1. ราน้าค้าง (Downy mildew)
เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Peronosporaparasitica

ลักษณะอาการ : ใบจะเป็นจุดละเอียดสีดาอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเล็กๆ ด้านใต้ใบ ตรงจุดเหล่านี้จะมีราสีขาวอมเทาอ่อนคล้ายผงแป้งขึ้นเป็นกลุ่มๆ กระจายทั่วไป ใบที่อยู่ตอนล่างๆ จะมีแผลเกิดก่อนแล้วลุกลามขึ้นไปยังใบที่อยู่สูงกว่า ใบที่มีเชื้อราขึ้นเป็นกลุ่มกระจายเต็มใบจะมีลักษณะเหลืองและใบจะร่วงหรือแห้ง ในเวลาที่อากาศไม่ชื้นจะไม่พบผงแป้งและแผลแห้งเป็นสีเทาดา

การแพร่ระบาด : ระบาดได้ทั้งแต่ระยะที่เป็นต้นกล้าจนเจริญเติบโตเต็มที่ ซึ่งจะทาความเสียหายมากเพราะทาให้ใบเสียมากและเจริญเติบโตช้า โรคนี้ไม่ทาให้ต้นตาย แต่ทาให้น้าหนักผลผลิตลดลง เพราะต้องตัดใบที่เป็นโรคทิ้ง

2. โรคเน่าคอดิน (Damping off)

เชื้อสาเหตุ: เชื้อรา Pythium sp. หรือ Phytophthora sp.

ลักษณะอาการ : เกิดเฉพาะในแปลงต้นกล้า เนื่องจากการหว่านเมล็ดที่แน่น ต้นเบียดกัน ถ้าในแปลงมีเชื้อโรคแล้ว ต้นกล้าจะเกิดอาการเป็นแผลช้าที่โคนต้นระดับดิน เนื้อเยื่อตรงแผลจะเน่าและแห้ง ถ้าถูกแสงแดดทาให้ต้นกล้าหักพับ ต้นเหี่ยวแห้งตายในเวลารวดเร็ว

การแพร่ระบาด : เชื้อราติดมากับเมล็ด หรืออยู่ในดิน น้า ฝน ;

3. โรคใบจุด (Alternaria leaf spot)

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Alternaria brassicae

ลักษณะอาการ : ในต้นกล้าจะพบจุดแผลเล็กๆ สีน้าตาลที่บริเวณใบโคนต้น ต้นที่โตแล้วใบมีแผลวงกลม สีน้าตาลซ้อนกันหลายชั้น เนื้อเยื่อรอบๆ แผลเปลี่ยนเป็นสีเหลือง แผลมีทั้งเล็กและใหญ่ บนแผลมักจะมีเชื้อราชั้นบางๆ เป็นผงสีดา

การแพร่ระบาด : สปอร์ของเชื้อสาเหตุ สามารถปลิวไปตามน้า ลม แมลง สัตว์ เครื่องมือเกษตรกร มนุษย์ และสามารถติดไปกับเมล็ดพันธุ์ได้ หรืออาศัยอยู่กับวัชพืชในแปลง

สภาพที่เหมาะต่อการเกิดโรค: ความชื้นสูง สภาพอากาศร้อนชื้น โดยเฉพาะในฤดูฝน อุณหภูมิอยู่ระหว่าง 25-30 องศาเซลเซียส

4. โรคราสนิมขาวในผัก (White Rust)

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Albugo ipomoea-aquaticae Sawada

ลักษณะอาการ : มีจุดสีเหลืองซีดด้านบนของใบ ด้านใต้ใบตรงกันข้าม จะเป็นตุ่มนูนเล็ก ๆ ขนาด 1-2 มิลลิเมตร อาจพบลักษณะปุ่มปม หรือบวมพองโตขึ้นในส่วนของก้านใบและลาต้น

5. โรคเหี่ยว (wilt)

เชื้อสาเหตุ : เชื้อรา Fusarium oxysporum

ลักษณะอาการ : เกิดอาการเหี่ยวอย่างช้า ๆ ใบที่อยู่โคนต้นเปลี่ยนเป็นสีเหลืองและร่วง ต่อมาใบจะเหี่ยวทั้งต้น เมื่อผ่าลาต้นบริเวณเหนือระดับดินตามยาวจะพบว่าท่อน้าท่ออาหารเป็นสีน้าตาล จนในที่สุดจะแห้งตาย

การแพร่ระบาด : การเกิดโรคนี้มักจะเกิดเป็นหย่อม ๆ ถ้าสภาพอากาศมีอุณหภูมิสูงและดินมีความชื้นสูง ทาให้โรคนี้ระบาดได้ดี

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..
ยาแก้โรคสนิมขาว โรคราขาวในผักบุ้ง ยากำจัดหนอนผักบุ้ง ยากำจัดเพลี้ยผักบุ้ง และปุ๋ยเร่งโต สำหรับผักบุ้ง
ยาแก้โรคสนิมขาว โรคราขาวในผักบุ้ง ยากำจัดหนอนผักบุ้ง ยากำจัดเพลี้ยผักบุ้ง และปุ๋ยเร่งโต สำหรับผักบุ้ง
เพลี้ยอ่อนผักบุ้ง

ชื่อวิทยาศาสตร์ Aphis gossypii (Aphidiae) เพลี้ยอ่อนจะเข้าดูดกินน้ำเลี้ยง ทำให้ผลผลิตผักบุ้งเสียหาย ตัวอ่อนมีสีเขียวเข้ม บางครั้งพบตัวอ่อนสีเหลืองซีด หากพบใต้ใบหนาแน่น

ป้องกัน กำจัดเพลี้ยอ่อนผักบุ้ง ด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนผีเสื้อหัวกะโหลก

ชื่อวิทยาศาสตร์ Acherontia lachesis (Sphingidae) หนอนผีเสื้อจะกัดกินใบผักบุ้ง จนเกิดความเสียหาย ลักษณะตัวหนอน จมีสีเขียวแถบเหลือง ของฟ้า โตเต็มวัย ยาวประมาณ 10-12 ซม.

ป้องกัน กำจัดหนอนในผักบุ้ง กำจัดหนอนต่างๆ ด้วย ไอกี้-บีที

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

โรคราสนิมขาว ในผักบุ้ง

โรคราสนิมขาว สร้างความเสียหายให้กับผักบุ้ง ทั้งผักบุ้งไทย และผักบุ้งจีน สามารถพบโรคนี้ได้ทั่วไป

อาการของโรคราสนิมขาว จะเกิดจุดเหลืองซีด บริเวณใบผักบุ้ง หลังจากนั้นจะเริ่มเป็นแผลสีขาว อยู่รวมกันเป็นกระจุก ส่งผลให้ผักบุ้งโตช้า ได้ผลผลิตน้อย และดูไม่สวยงาม ไม่น่าทาน ทำให้ขายยาก ราคาตก

สาเหตุของโรคราสนิมขาว

เกิดจากเชื้อรา Albugo ipomoeae-aquaticae ซึ่งสามารถเจริญเติบโตได้ดี หรือลุกลามเข้าทำลายได้มาก ในช่วงอุณหภูมิ 10-35 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภมิทั่วไปของไทย

ป้องกัน กำจัดโรคราสนิมขาว ในผักบุ้ง ยับยั้งโรคผักบุ้งต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ด้วย ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งโต ฉีดพ่นด้วย FK-1 ช่วยให้พืชโตไว ได้ผลผลิตสูงขึ้น

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

12 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 1 หน้า, หน้าที่ 2 มี 2 รายการ
|-Page 1 of 2-|
1 | 2 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
โรคใบติดทุเรียน โรคราสีชมพูในทุเรียน โรคทุเรียนกิ่งแห้ง ต้องหมั่นสังเกตุตรวจดูแลสวน หากพบ ให้เร่งป้องกันกำจัด
Update: 2566/11/04 14:14:10 - Views: 10154
ป้องกันกำจัด โรคเหี่ยว ในมังคุด ที่เกิดจากเชื้อราฟิวซาเรียม
Update: 2566/01/13 07:26:26 - Views: 3437
โรคเชื้อราในต้นมะพร้าว เร่งป้องกันกำจัดก่อนจะเป็นแบบนี้
Update: 2567/05/20 07:50:31 - Views: 3581
โรคทุเรียนต่างๆ ทุเรียนใบไหม้ ราสีชมพูในทุเรียน โรคทุเรียนก้านธูป เชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส
Update: 2566/10/28 12:25:31 - Views: 10051
ดอกปทุมมา รากเน่า โคนเน่า กำจัดโรคดอกปทุมมา จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/10/08 11:02:19 - Views: 3382
ต้นปาล์ม โตไว ใบเขียว ผลใหญ่ ผลผลิตดี ฉีดพ่นปุ๋ย FK-1 ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4เท่าเพิ่มผลผลิตสูงสุด 20เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/04/28 10:19:49 - Views: 3395
ดาบซามูไร คาตานะ (Katana) ระหว่าง ดาบที่ทำจากเหล็กสปริง 9260 กับ ดาบที่ทำจากเหล็ก T10 อันไหนดีกว่ากัน?
Update: 2566/10/31 12:34:10 - Views: 3505
มะนาวใบไหม้ ใบเหลือง ขอบใบแห้ง เพราะโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/08/03 02:58:39 - Views: 4043
สารกำจัดเชื้อรา และ สารเร่งซ่อมแซม ฟื้นฟู แก้ต้นโทรม ไม่กินปุ๋ย โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/10 00:12:19 - Views: 3400
โรคเผือก โรคใบจุดตากบ โรคใบจุดตาเสือ โรคใบไหม้ในเผือก แก้ด้วย ไอเอส
Update: 2564/06/15 11:30:49 - Views: 4086
จริงหรือ? โควิด-19 แพร่เชื้อทางอากาศ (Airborne) ได้
Update: 2564/08/24 21:36:24 - Views: 3433
การจัดการเพลี้ยในต้นถั่วพู: วิธีที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันและลดความเสียหาย
Update: 2566/11/20 12:54:43 - Views: 3574
การป้องกันกำจัด โรคเหี่ยวในแตงกวา ที่เกิดจากเชื้อรา ฟิวซาเรียม
Update: 2566/01/12 10:20:20 - Views: 3470
แก้ โรคแอนแทรคโนส ในมะม่วง ฉีดพ่นด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกัน ยับยั้งเชื้อรา
Update: 2564/05/05 12:10:03 - Views: 4278
หนอนศัตรูพืชในต้นกระเพรา dkiป้องกันและควบคุมหนอนศัตรูพืชในต้นกระเพรา
Update: 2566/11/09 10:53:42 - Views: 3399
โรคกิ่งแห้ง ทุเรียนกิ่งแห้ง
Update: 2564/04/29 10:58:48 - Views: 3645
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าไรแดง ในมะเขือ และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/02 12:21:01 - Views: 3502
ผสมปุ๋ยสำหรับอ้อยตอ สูตร 15-5-20 ใช้เอง ลดต้นทุน เร่งอ้อยโตให้โตไวผลผลิตดี
Update: 2566/01/30 07:27:06 - Views: 3673
กำจัดเพลี้ย ใน มะม่วง เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/02 14:42:53 - Views: 3383
ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ป้องกันกำจัดหนอน ในมะเขือม่วงมะเขือเปราะ
Update: 2566/10/27 20:54:14 - Views: 3420
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022