หน้าแรก
บทความ
สินค้า
ตามสินค้า
ติดต่อเรา
Central Lab ห้องปฏิบัติการกลาง
iLab ตรวจดิน
รับจ้างผลิตปุ๋ยยาฯOEM
แอพผสมปุ๋ย
English
📱 ติดตั้งแอพมือถือ ฟาร์มเกษตร ฟรี!ไม่มีเงื่อนไข
(รวมแอพผสมปุ๋ย และแอพเกษตรอื่นๆไว้ในแอพนี้)
พิมพ์คำค้นหา หรือลองคลิกตัวอย่าง >
มันสำปะหลัง
,
ข้าว
,
อ้อย
,
ทุเรียน
,
กัญชา
,
ข้าวโพด
,
ปาล์ม
,
ยางพารา
,
อินทผลัม
,
โรคใบไหม้
,
ราสนิม
,
เพลี้ย
,
ยาแช่ท่อนพันธุ์
[sort by :
last post
|
top views
]
..
+ โพสเรื่องใหม่
|
^ เลือกหน้า
|
ค้นคำว่า - FK-1
925 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 92 หน้า, หน้าที่ 93 มี 5 รายการ
กรุณากรอกหัวข้อ
พิมพ์คำว่า ฟาร์มเกษตร
พิมพ์คำว่า ฟาร์มเกษตร
การป้องกันกำจัดเพลี้ยทุเรียน เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน ควบคุมเพี้ยไก่แจ้ ด้วยศัตรูธรรมชาติ กระตุ้นใบอ่อนลดเวลาการทำลาย ใช้ ยาฆ่าเพลี้ยอินทรีย์
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน (Durain psyllid )
รูปร่างลักษณะและชีวประวัติ
ตัวเต็มวัยวางไข่เข้าไปในเนื้อเยื่อพืช ทำให้เห็นเป็นวงสีเหลืองหรือน้ าตาลตามใบเป็นกลุ่ม ๆ กลุ่มหนึ่งมีประมาณ 8 - 14 ฟอง หลังจากนั้นไข่จะฟักออกเป็นตัวอ่อนขนาดยาวประมาณ 3 ม.ม. และมีปุยสีขาวติดอยู่ตามล าตัว โดยเฉพาะด้านท้ายของล าต้นมีปุยสีขาวคล้าย ๆ กับหางไก่ แมลงชนิดนี้จึงได้ชื่อว่า "เพลี้ยไก่แจ้" หรือ "เพลี้ยไก่ฟ้า" เมื่อแมลงนี้ลอกคราบเป็นตัวเต็มวัยมีสีน้ าตาลปนเขียว ขนาดยาวประมาณ 5 ม.ม. มีอายุได้นานถึง 6 เดือนมักไม่ค่อยบินนอกจากได้รับความกระทบกระเทือน ทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะอาศัยอยู่ด้านหลังใบตลอดเวลา
ลักษณะการทำลาย
ทั้งตัวอ่อน และตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบอ่อนของทุเรียน ที่ยังไม่โตเต็มที่ ทำให้ใบอ่อนเป็นจุดสีเหลือง ไม่เจริญเติบโตและเล็กผิดปกติเมื่อระบาดมาก ๆ ใบจะหงิกงอ แห้งและร่วงหมดนอกจากนั้นยังทำให้ยอดอ่อนแห้งและตายได้ ตัวอ่อนของเพลี้ยชนิดนี้จะขับสารสีขาวออกมา เป็นสาเหตุทำให้เกิดเชื้อราตามบริเวณที่สารสีขาวขับออกมา ระยะที่ทำลายมากที่สุดคือ ในระยะตัวอ่อน แมลงชนิดนี้ทำความเสียหายให้กับทุเรียนพันธุ์ชะนีมากที่สุด
การป้องกันและกำจัด
ระดับเศรษฐกิจ : เพลี้ยไก่แจ้ 5 ตัว/ยอด และยอดถูกท าลายมากกว่าร้อยละ 50 ต่อต้น
1. ติดตามสถานการณ์เพลี้ยไก่แจ้และศัตรูธรรมชาติ สำรวจร้อยละ 10 ของต้นทั้งหมด 7 วัน/ครั้ง ในช่วงมิถุนายน -พฤศจิกายน ตรวจนับ 5 ยอด/ต้น ทั้งเพลี้ยไก่แจ้และศัตรูธรรมชาติ พบเพลี้ยไก่แจ้ที่ยังมีชีวิตมากกว่า 5 ตัว/ยอด ถือว่ายอดถูกทำลาย
2. อนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติไว้ควบคุมเพลี้ยไก่แจ้ตามธรรมชาติ ตัวห้ำ : แมลงช้างปีกใส Chrysopa sp. แมลงช้างปีกใสแปดจุด Ankylopteryx octopunctata แมลงช้างปีกสีน้ำตาล Hemerobius sp. ต่อหลวง ต่อรัง แมงมุม _ด้วงเต่า Menochilus sexmaculatus ด้วงเต่าโรโดเลีย Rodolia sp. ด้วงเต่า Scymnus sp
3. กระตุ้นการแตกใบอ่อนให้พร้อมกันทุกต้นเพื่อลดช่วงเวลาการเข้าทำลายของเพลี้ยไก่แจ้ให้สั้นลง โดยการฉีดพ่น FK-1 อัตรา 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นที่ใบ ประมาณ 10 ลิตรต่อต้น จำนวน 2 ครั้ง ระยะแตกใบอ่อน ครั้งที่ 1 ระหว่างเดือนมิถุนายน - กรกฎาคม ระยะแตกใบอ่อน ครั้งที่ 2 ระหว่างเดือนสิงหาคม - กันยายน
4. ใช้กับดักกาวเหนียวสีเหลืองล่อตัวเต็มวัยมาทำลาย
5. ใช้น้ำฉีดพ่นใบอ่อนที่คลี่แล้ว เพื่อลดปริมาณเพลี้ยไก่แจ้
6. ฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ ป้องกันและกำจัดเพลี้ย ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน หมั่นสั่งเกตุอาการ ควรหายาอื่นๆ มาสลับใช้ หากจำเป็นต้องใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานาน เพื่อป้องกันการดื้อยา
7. ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูพืช จากการเข้าทำลายของโรค หนอน และแมลง
Reference: main content from pmc03.doae.go.th
อ่าน:3774
หนอนพริก แมลงวันพริก หนอนแมลงวัน ศัตรูพริก ป้องกันและกำจัดด้วย ไอกี้-บีที
แมลงวันพริก จัดเป็นแมลงวันผลไม้อีกชนิดหนึ่งที่สร้างความเสียหายให้กับผลผลิตการเกษตรโดยเฉพาะพืชในตระกูลพริก-มะเขือ
ชื่อสามัญ solanum fruit fly
ชื่อวิทยาศาสตร์ Bactrocera latifrons (Hendel)
ตัวเต็มวัยเพศเมียมีอวัยวะวางไข่ (ovipositor) ที่แหลมและแข็งแรง แทงผิวของเนื้อเยื่อพืชลึก 0.5-1.0 มิลลิเมตรเพื่อวางไข่ที่มีลักษณะรูปร่างยาวรี สีขาวขุ่น ผิวเป็นมันสะท้อนแสง เมื่อใกล้ฟักสีของไข่จะเข้มขึ้น ระยะไข่ 2-3 วัน ก็จะฟักเป็นตัวหนอนมีลักษณะหัวแหลมท้ายป้าน มีสีขาว หรือสีใกล้เคียงกับสีของพืชอาหาร ตัวหนอนเคลื่อนที่โดยการยืดหด
ลําตัวซึ่งเป็นปล้องๆ ส่วนหัวมีปากเป็นตะขอแข็งสีดําหนึ่งคู่เรียกว่า “mouth hook” ซึ่งเป็นอวัยวะที่หนอนใช้ชอนไชกินเนื้อเยื่อภายในผลพริกทําให้ผลพริกเน่าและร่วง นอกจากนี้ตัวหนอนยังมีความสามารถพิเศษในการงอตัวและดีดกระเด็นไปได้ไกล (หนอนวัย 3) ซึ่งช่วยให้หนอนหาที่เหมาะสมเพื่อเข้าดักแด้ในดิน ระยะหนอนมี 3 ระยะ (8-10 วัน)
ดักแด้มีรูปร่างกลมรีคล้ายถังเบียร์ ไม่เคลื่อนไหว ระยะแรกจะมีสีขาวและค่อยเปลี่ยนเป็นสีน้ําตาล สีจะเข้มขึ้นเรื่อยๆระยะดักแด้11-14 วัน ก็จะออกเป็นตัวเต็มวัยซึ่งมีปีกบางใสสะท้อนแสงและมีแถบสีเหลืองที่ส่วนอก จึงเรียกว่า “แมลงวันทอง” ในระยะตัวเต็มวัยมีอายุเฉลี่ย 77-183 วัน โดยตลอดวงชีวิตจากไข่ถึงตัวเต็มวัยใช้เวลา 23-25 วัน
ลักษณะการทําลาย
การเข้าทําลายของแมลงวันพริกเกิดจากตัวเต็มวัยเพศเมียใช้อวัยวะวางไข่แทงลงไปในผลพริกเพื่อวางไข่ตัวหนอนจะชอนไชกินไส้ในผลพริกทําให้พริกเน่าและร่วง ในระยะเริ่มแรกจะสังเกตได้ยากอาจพบอาการช้ําบริเวณใต้ผิวเปลือกเมื่อหนอนโตขึ้นเรื่อย ๆ จะทําให้ผลเน่าเละและมีน้ําไหลเยิ้มออกทางรูที่หนอนเจาะออกมาเพื่อเข้าดักแด้ในดิน นอกจากนี้รอยแผลที่เกิดขึ้นจากการวางไข่ของแมลงยังส่งผลให้เชื้อจุลินทรีย์สาเหตุโรคพืชเข้าทําลายตามทําให้ผลเน่าและร่วงหล่นก่อนระยะเก็บเกี่ยว ในพื้นที่ที่ไม่มีการป้องกันหรือควบคุมแมลงวันพริกความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการเข้าทําลายอาจรุนแรงมากถึง 100 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้น จึงจําเป็นที่ต้องป้องกันการเข้ามาทําลายผลผลิตพริกของแมลงวันพริก B. latifrons เพื่อลดความเสียหายที่อาจเกิดจากการเข้าทําลายของแมลงชนิดนี้
การป้องกันและกําจัด
- ฉีดพ่น ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ ป้องกันและกำจัดหนอน ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน หมั่นสั่งเกตุอาการ ควรหายาอื่นๆ มาสลับใช้ หากจำเป็นต้องใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานาน เพื่อป้องกันการดื้อยา
- ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูพืช จากการเข้าทำลายของโรค หนอน และแมลง
Reference: main content from trat.doae.go.th
อ่าน:3838
โรคอ้อย อ้อยขาดธาตุแคลเซียม (Calcium, Ca) แสดงอาการเป็นทางเหลือง หรือสีน้ำตาล แก้ไขได้
อ้อยใบแก่จะแสดงอาการขาดแคลเซียม โดยใบอ้อยจะมีลักษณะเป็นทางสีเหลืองจนถึงสีน้ำตาล โดยบนใบแก่อาจจะสังเกตเห็นลักษณะเป็นสีสนิมแล้วใบก็จะตายไปก่อนที่จะแก่
บ่อยครั้งที่จะพบว่ายอดใบนั้นจะมีการบิดม้วนไปตามความยาวของขอบใบเมื่อมีการขาดแคลเซียมอย่างต่อเนื่อง ในใบอ่อนนั้นจะมีการผิดรูปร่างแห้งตายอย่างไรก็ตามการขาดแคลเซียมนั้นพบได้ไม่บ่อย
ลักษณะอาการโรค อ้อยขาดแคลเซียมจะทำให้เนื้อเยื่อเจริญส่วนยอดตาย ใบอ่อนจะมีอาการยอดงอบิดเบี้ยวและไหม้ที่ส่วนยอด และขอบใบใบจะมีแผลเล็ก ๆ สีซีด และมีจุดแห้งๆ ตรงกลาง ต่อมาแผลจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลแดงเปลือกจะอ่อนนุ่มและเปราะ ลำจะผอมเรียวการเจริญเติบโตจะลดลงและอ่อนแอ ถ้าขาดแคลเซียมอย่างรุนแรงการเจริญเติบโตจะหยุดชะงักและตายในที่สุด
คำแนะนำการป้องกันกำจัด
การใส่ปุ๋ยโพแทสเซียมในอัตราสูงจะทำ ให้เกิดการขาดแคลเซียม ในดินเป็นกรดซึ่งมีแคลเซียมต่ำ โดยปกติอาการขาดแคลเซียมในอ้อยของประเทศไทยไม่ค่อยพบเห็นบ่อยนัก ส่วนใหญ่มักจะพบร่วมกับอาการเป็นพิษของอลูมิเนียมในดินกรดจัดในประเทศบราซิล อ้อยจะมีรากยาวขึ้นและหยั่งลึกลงในดินมากขึ้น เมื่อมีการใส่แคลเซียมในรูปของยิปซั่มโดยปกติการแก้ปัญหาการขาดแคลเซียมมักจะใช้หินปูนบดละเอียดหรือยิปซั่ม การใช้หินปูนก็เพื่อจะทำให้ความเป็นกรดของดินลดลง และเพื่อให้อ้อยได้แคลเซียมและแมกนีเซียมด้วย ส่วนยิปซั่มมักจะใส่ในดินที่เป็นด่าง หรือดินเค็ม เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพของดินให้ดีขึ้น และเข้าไปแทนที่ขับไล่เกลือออกจากดิน แล้วลดปริมาณเกลือโดยการชะล้าง
ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแตสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และ สังกะสี ในอัตราส่วน 50 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 กรัม ต่อน้ำ 200 ลิตร ฉีดพ่นที่ผสมแล้วประมาณ 80 ลิตรต่อไร่ ทุก 7-15 วัน ต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง
Reference: main content from ocsb.go.th
อ่าน:3760
โรคลำไย โรคราดำลำไย ต้องป้องกันกำจัดที่ต้นเหตุ และต้นเหตุนั้นเกิดจากเพลี้ยต่างๆ ถ่ายน้ำหวานมาปกคลุม ทำให้เชื้อราในอากาศปลิวมาเกาะติด
การทําลายของแมลงพวกปากดูด เพลี้ยแป้ง เพลี้ยต่างๆ แล้วถ่าย น้ําหวานมาปกคลุมส่วนต่างๆ ของลําไย เชื้อราที่มอยู่ในอากาศโดยเฉพาะเชื้อรา Capnodium ramosum_ Meliola euphoriae. จะปลิวมาขึ้นบนส่วนที่มีน้ําหวาน
ลักษณะอาการ
สีดําของเชื้อราขึ้นปกคลุมใบ กิ่ง ช่อดอก และผิวของผล ทําให้เห็นเป็นคราบสีดําคล้ายเขม่าบนใบที่ถูกเคลือบด้วยแผ่นคราบดําของเชื้อรานี้เมื่อแห้งจะหลุดออกเป็นแผ่นได้ง่าย เชื้อราไม่ได้ทําลายพืช โดยตรงแต่ไปลดการปรุงอาหารของใบ อาการที่ปรากฎที่ช่อดอกถ้าเป็นรุนแรงทําให้ดอกร่วงไม่สามารถผสมเกสรได้จึงเป็นเหตุหนึ่งที่ทําให้ดอกร่วงเพราะถูกเชื้อราดําเข้ามาเคลือบ
สาเหตของโรคและการแพร่ระบาด
ลักษณะอาการเช่นนี้เกิดจากผลของการทําลายของแมลงพวกปากดูด ที่ดูดกินส่วนอ่อนของลําไย แล้วถ่ายน้ําหวานมาปกคลุมส่วนต่างๆ ของลําไย เชื้อราที่มอยู่ในอากาศโดยเฉพาะเชื้อรา จะปลิวมาขึ้นบนส่วนที่มีน้ําหวานที่แมลงขับถ่ายออกมา แล้วเจรญเป็นคราบสีดํา แมลงปากดูดเท่าที่พบเช่น เพลี้ยแป้ง เพลี้ยหอยเพลี้ยจั๊กจั่น และเพลี้ยอ่อน เป็นต้น
การป้องกันและกําจัด
- ฉีดพ่น มาคา สารอินทรีย์ ป้องกันและกำจัดเพลี้ยต่างๆ ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน หมั่นสั่งเกตุอาการ ควรหายาอื่นๆ มาสลับใช้ หากจำเป็นต้องใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานาน เพื่อป้องกันการดื้อยา
- ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูพืช จากการเข้าทำลายของโรค
Reference: main content from eto.ku.ac.th
อ่าน:4135
โรคอินทผลัม โรคเชื้อราเขม่าผง Graphiola Leaf Spot (False Smut) of Palm
ธรรมชาติของอินทผลัม เป็นพืชที่อยู่ในพื้นที่แห้งแล้งแบบทะเลทราย การนำมาทดลองปลูกในประเทศไทยของเรา มีปัญหาของโรคต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับความชื้นปรากฏให้เห็นอยู่บ้าง โดยเฉพาะโรคเชื้อรา
"โรคเขม่าผง Graphiola Leaf Spot (False Smut) of Palm"
ซึ่งมีลักษณะเป็นผงสีขาวๆ เกิดขึ้นตามใบ ส่วนมากจะเกิดช่วงปลายฝนต้นหนาว แต่บางครั้งก็เกิดในฤดูอื่นๆ เมื่อมีความชื้นในอากาศ การที่ต้นจะตายไม่ใช่ตายเพราะโรคนี้ แต่จะตายเพราะโรคชนิดอื่นที่เข้ามาแทรกในตอนนั้น
- โรคนี้เกิดในพื้นที่ปลูกในภูมิภาคที่มีความชื้นสูง มีฝนมาก แต่ในภูมิภาคที่มีความร้อนและแห้ง จะปรากฏโรคชนิดนี้น้อย
- อินทผลัมพันธุ์แทบทุกสายพันธุ์สามารถเกิดโรคนี้ได้ในสภาพชื้น
- โรคชนิดนี้ เป็นผงจุดสีขาวๆ เกิดตามผิวใบ หากไม่มีโรคชนิดอื่นเกิดขึ้นพร้อมกัน จะปรากฏให้เห็นเป็นผงสีขาวๆ เกิดตามใบเท่านั้น มากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับระดังความชื้นที่สะสมมา หากเป็นเฉพาะโรคนี้โรคเดียว ไม่ปรากฏมีโรคอื่น หรือ การขาดสารอาหาร หรือ ขาดน้ำ มาพร้อมกัน โรคชนิดนี้ไม่มีผลต่อการเจริญเติบโตของต้น เอกสารต่างประเทศกล่าวว่า การเกิดโรคชนิดนี้อย่างเดียว เป็นเหมือนเครื่องสำอางค์ของใบเท่านั้น การขาดธาตุอาหารมีผลกระทบกับต้นอินทผลัมมากกว่าโรคนี้
- หากตรวจพบว่าเป็นโรคชนิดนี้แล้ว ไม่แนะนำให้มีการตัดแต่งออกไป ยกเว้นแต่จะเป็นโรคอื่นๆ ด้วย หากจะมีการตัดใบ ต้องมั่นใจว่า ธาตุโพแตสเซียมในดินเพียงพอที่จะทำให้ต้นฟื้นขึ้นมาได้จากการตัดแต่งใบออกไป หากดูแล้วไม่ค่อยจะชอบมันเกิดตามใบ ต้องการจะตัดออก ให้รดปุ๋ยที่มีธาตุโพแตสเซียมลงไปด้วยทุกครั้ง
- แนะนำให้ใช้ ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่นในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
- ให้เข้าใจว่า ยาป้องกันและกำจัดเชื้อราเหล่านี้ ไม่ได้ทำให้ใบที่เป็นอยู่แล้วหายไป แต่จะทำให้โรคไม่ลามต่อไปยังใบใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นมา หรือ ลามเพิ่มเติมออกไป เท่านั้น
- ฉีดพ่น FK-1 เพื่อบำรุง ให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคพืช ได้เร็วขึ้น และเจริญเติบโตได้รวดเร็ว สมบูรณ์
กรณีที่เป็นพื้นที่แห้งอยู่แล้ว แต่เนื่องจากการสะสมของโรคในช่วงฝนที่ตกบ่อยมากจึงทำให้เกิดโรคนี้ให้เห็นบ้าง ไม่เป็นมาก โรคแบบนี้ ไม่เป็นเฉพาะอินทผลัม พืชทางเศรษฐกิจที่เขาปลูกกันจำนวนมากก็เป็น วิธีการจัดการเมื่อพบโรคนี้ คือ
- ในช่วงของการเพาะต้นกล้า หากจะทำเรือนเพาะชำแบบมีแสงส่องถึงได้เต็มที่ก็ควรจะทำ เพื่อป้องกันน้ำฝนกที่อาจจะมากเกินไป หรือ ป้องกันน้ำค้างในช่วงฤดูหนาว
- จุดที่วางถุง ควรเป็นพื้นที่แห้ง ไม่ชุ่มน้ำ ไม่ควรวางถุงให้ชิดกัน ควรวางให้ห่างกันเล็กน้อย หากมีพื้นที่จำกัดลองวางให้ห่างกันสัก ๑ นิ้ว หากมีพื้นที่มาก ให้วางห่างกันประมาณสัก ๕ นิ้ว เพื่อให้อากาศรอบถุงหมุนเวียนได้ ไม่สะสมโรคชนิดนี้ รวมทั้งโรคอื่นๆ ที่เกิดขึ้นได้กับต้นอินทผลัม
ในส่วนของต้นที่ปลูกกันอยู่ตอนนี้ที่เป็นอยู่นี้ จุดไหนที่มีความชื้นสูงจะเป็นมากหน่อย และที่แน่ๆ จะเป็นดินเพาะแบบไหน ใส่วัสดุเพาะที่จะเสี่ยงต่อการเกิดโรคแบบไหนก็ตาม ก็มีโอกาสเป็นเท่ากันหมด หากจุดวางถุงมีความชื้นสูง ทั้งความชื้นใต้ถุง ใต้ดิน และร่มเงามากไป ได้ประยุกต์เพื่อแก้ไข ดังนี้
- รดน้ำให้น้อยลง เพื่อลดความชื้น ไม่ควรรดน้ำอินทผลัมในช่่วงเย็น แต่ควรจะรดน้ำในช่วงเช้า ทั้งนี้ เพื่อไม่ให้เกิดความชื้นสะสมในเวลากลางคืนที่อากาศเย็นนั่นเอง
- ใช้ปูนขาวผสมน้ำรดลงไปบ้าง เพื่อช่วยเรื่องการกำจัดเชื้อโรคบางชนิดในดิน
- บริเวณไหนมีร่มเงาหรือความชื้นมากไป ย้ายถุงเพาะออกไปวางในจุดที่แห้ง มีแสงแดดเต็มที่
Reference: main content from sites.google.com/site/datepalmnongtu/
อ่าน:3851
โรคกล้วยไม้ โรคแอนแทรคโนสกล้วยไม้ กล้วยไม้ใบไหม้ กล้วยไม้เป็นเชื้อรา
โรคแอนแทรคโนสกล้วยไม้อ สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides Penz. หรือ Colletotrichum sp.
อาการของโรคแอนแทรคโนสกล้วยไม้
แผลที่ใบมักเริ่มเกิดที่ปลายใบลามเข้าสู่เนื้อใบ อย่างไรก็ตามเชื้ออาจทําลายส่วนอื่นของใบก่อนก็ได้เช่นเดียวกัน แผลมีรอบเป็นวงๆซ้อนกัน มักมีกลุ่มของเชื้อราสีดําเกิดขึ้นตามวง ขอบแผลมีสีเหลืองอ่อน
การป้องกันกำจัด
- ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน หมั่นสั่งเกตุอาการ ควรหายาอื่นๆ มาสลับใช้ หากจำเป็นต้องใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานาน เพื่อป้องกันการดื้อยา
- ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูพืช จากการเข้าทำลายของโรค
Reference: main content from opsmoac.go.th
อ่าน:3906
โรคกุหลาบ กุหลาบใบไหม้ บนใบเป็นแผลสีน้ำตาล คือ โรคแอนแทรคโนสกุหลาบ ลุกลามไปส่วนอื่นๆได้
โรคแอนแทรคโนสกุหลาบ
สาเหตุ เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides Penz.
อาการ
บนใบเป็นแผลรูปไข่ สีน้ําตาลเข้มเป็นวงซ้อนๆกันหลายชั้น แผลมักเริ่มเกิดจากปลายใบ หรือกลางใบ ขอบแผลมีสีเหลืองอ่อนๆ แผลอาจลุกลามไปที่ก้านใบ ก้านดอก และกิ่งได้
การป้องกันกำจัด
- ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน หมั่นสั่งเกตุอาการ ควรหายาอื่นๆ มาสลับใช้ หากจำเป็นต้องใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานาน เพื่อป้องกันการดื้อยา
- ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูพืช จากการเข้าทำลายของโรค
Reference: main content from opsmoac.go.th
อ่าน:4402
โรคใบไหม้ โรคราใช้ ไอเอส กำจัดหนอนใช้ ไอกี้ กำจัดเพลี้ยใช้ มาคา ฟื้นฟูพืช ใช้ FK-1
ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้ง ผู้ใช้ ผู้บริโภค และ สัตว์เลี้ยง
อ่าน:4085
โรคมะม่วง โรคแอนแทรคโนสในมะม่วง เริ่มจากการเป็นจุดชุ่มน้ําและเปลี่ยนเป็นสีดํา ช่อที่ติดผลอ่อนรวมทั้งผลแก่จะมีแผลเน่าดํา
สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides Penz.
อาการบนใบอ่อนเริ่มจากการเป็นจุดชุ่มน้ําและเปลี่ยนเป็นสีดําต่อไป บริเวณที่เป็นแผลจะหดตัวเล็กลงเล็กน้อยจนดึงให้ใบบิดเบี้ยว ใบแก่ขนาดของจุดจะมีขนาดคงที่ค่อนข้างเป็นเหลี่ยม เมื่อมะม่วงแทงช่อดอก เชื้อจะเข้าทําลายที่ช่อดอก ทําให้ช่อดอกแห้ง ดอกร่วง ช่อที่ติดผลอ่อนรวมทั้งผลแก่จะมีแผลเน่าดํา ในสภาพอากาศที่มีความชื้นสูง จะมีสปอร์สีชมพูเกิดขึ้นตามแผลที่เป็นโรค
การป้องกันกำจัด
- ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน หมั่นสั่งเกตุอาการ ควรหายาอื่นๆ มาสลับใช้ หากจำเป็นต้องใช้ต่อเนื่องเป็นเวลานาน เพื่อป้องกันการดื้อยา
- ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อส่งเสริมการฟื้นฟูพืช จากการเข้าทำลายของโรค
Main reference: opsmoac.go.th
อ่าน:4093
โรคอ้อย โรคอ้อยยอดบิด (พกกะบอง) เมื่อโรครุนแรงยอดจะเน่าแห้งเป็นสีน้ำตาลแดง และใบที่ม้วนอยู่ถูกทำลาย ลำตายในที่สุด
สาเหตุของโรค เชื้อรา Fusarium moniliforme
ลักษณะอาการโรค
เริ่มแรกที่โคนของใบอ่อน จะคอดกว่าปกติมีสีขาวซีดหรือเหลืองซีดย่น ต่อไปใบอ่อนที่แตกออกมาใหม่จะมีลักษณะเหี่ยวย่นบิดม้วน ฉีกขาด ใบสั้น เมื่อใบแก่ขึ้นตรงบริเวณที่เคยเป็นสีซีดจะมีแถบสีแดง รูปร่างไม่แน่นอนเกิดขึ้น แถบนี้อาจจะลุกลามลงมายังส่วนที่เป็นสีเขียวของกาบใบ ลักษณะของแผลบนใบและกาบใบมีรูปร่างและการจัดเรียงไม่แน่นอนทั้งแผล
ปลายใบและขอบใบที่เป็นโรคมักมีสีน้ำตาลเข้มจนถึงสีดำทำให้ดูคล้ายกับถูกไฟเผา อาการใบที่ไม่คลี่จะเห็นยอดหดย่น เชื้อยังสามารถลุกลามเข้าไปยังลำต้น และเข้าไปยังจุดเจริญทำ ให้เกิดแถบสีน้ำตาลในลำต้น ซึ่งอาจยาวลงไปหลายปล้องในฤดูฝนที่สภาพอากาศมีความชื้นสูง เชื้อจากส่วนใบจะเจริญเข้าทำลายยอดอ้อย ทำให้เนื้อเยื่อเจริญภายในยอดและปล้องอ้อยส่วนบน ๆของลำเน่า มีสีแดงเข้ม
เมื่อโรครุนแรงยอดจะเน่าแห้งเป็นสีน้ำตาลแดง และใบที่ม้วนอยู่ถูกทำลาย ลำตายในที่สุด ดังนั้น หากโรคไม่รุนแรงมากลำที่เหลืออยู่ในกอจะเจริญต่อไปได้โดยไม่ถูกทำลายเมื่อโรคลดการระบาดการแพร่ระบาด โรคระบาดรุนแรงในฤดูฝนในระยะอ้อยย่างปล้องโดยเฉพาะในช่วงเวลาที่มีความชื้นสูง และลดการระบาดเมื่ออากาศแห้งลงในปลายฤดูฝน ทั้งนี้เชื้อสาเหตุโรคสามารถอยู่ข้ามฤดูได้ในเศษซากอ้อยที่เป็นโรค โดยแผลที่เป็นโรคสามารถสร้างสปอร์และปล่อยสปอร์ให้ลอยไปตามลมได้
คำแนะนำการป้องกันกำจัด
• ใช้พันธุ์อ้อยที่ต้านทานต่อโรค
• เผาทำลายอ้อยที่แสดงอาการของโรค เพื่อป้องกันไม่ให้มีการแพร่ระบาดไปยังแหล่งอื่น
• ลดการใช้ปุ๋ยเดี่ยวไนโตรเจนในขณะที่อ้อยอายุยังน้อย
• ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งโรคพืช ในอัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน หมั่นสังเกตุอาการ
• ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส เพื่อส่งเสริม ฟืนฟูอ้อย จากการเข้าทำลายของโรค
Reference: main content from ocsb.go.th
อ่าน:5797
925 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 92 หน้า, หน้าที่ 93 มี 5 รายการ
|
-Page 84 of 93
-|
1
|
2
|
3
|
4
|
5
|
6
|
7
|
8
|
9
|
10
|
11
|
12
|
13
|
14
|
15
|
16
|
17
|
18
|
19
|
20
|
21
|
22
|
23
|
24
|
25
|
26
|
27
|
28
|
29
|
30
|
31
|
32
|
33
|
34
|
35
|
36
|
37
|
38
|
39
|
40
|
41
|
42
|
43
|
44
|
45
|
46
|
47
|
48
|
49
|
50
|
51
|
52
|
53
|
54
|
55
|
56
|
57
|
58
|
59
|
60
|
61
|
62
|
63
|
64
|
65
|
66
|
67
|
68
|
69
|
70
|
71
|
72
|
73
|
74
|
75
|
76
|
77
|
78
|
79
|
80
|
81
|
82
|
83
|
84
|
85
|
86
|
87
|
88
|
89
|
90
|
91
|
92
|
93
|
แอพสุริยเกษตร
ปฏิทินเพาะปลูกดาราศาสตร์
แอพจันทรเกษตร (เกษตรจันทรคติ)
แอพผสมปุ๋ย
แอพพรุ่งนี้พ่นปุ๋ยยาฯได้ไหม
แอพเช็คปุ๋ยยาฯคู่นี้ผสมกันได้ไหม
แอพแปลงอัตราผสมปุ๋ยยาฯฉีดพ่น
แอพพยากรณ์โรคและศัตรูพืช
แอพพืชเป็นโรคอะไร
แอพคำนวณเงินกู้ ธกส.
แอพภาพถ่ายดาวเทียมที่ดินฉัน
แอพวัดพื้นที่ฟาร์ม
แอพคำนวณทุนกำไรปลูกพืช
แอพเดือนไหนปลูกผักอะไรได้
แอพแปลงหน่วยเกษตร
โทรศัพท์
📞 090-592-8614
ไลน์ไอดี
💬 @FarmKaset
🌾 ผลิตภัณฑ์เกษตรครบวงจร 🌾
จากเริ่มปลูก สู่การเก็บเกี่ยว ด้วยสินค้าคุณภาพ
🌱 ขั้นตอนที่ 1: เริ่มต้นและเร่งการเจริญเติบโต
สำหรับพืชที่เพิ่งปลูกหรือต้องการเร่งโต เร่งราก เร่งใบเขียว
🎯 เป้าหมายขั้นตอนนี้
ช่วยให้พืชมีรากแข็งแรง ใบเขียวแกร่ง และเติบโตเร็ว เป็นฐานที่ดีสำหรับการพัฒนาในขั้นตอนต่อไป
⭐ เอฟเค-1 (FK-1) - ตัวหลักเริ่มต้น
สูตรพิเศษสำหรับการเริ่มต้น ฟื้นฟูพืชที่อ่อนแอ เร่งการเจริญเติบโต เร่งระบบราก และกระตุ้นการออกดอก
✨ ประโยชน์เด่น:
• เร่งโต เร่งใบเขียว เร่งราก
• ฟื้นฟูพืชที่เสียหาย
• เร่งดอก เหมาะสำหรับทุกพืช
💰 1กล่อง (2กิโลกรัม) ราคา : 890 บาท
🛒 สั่งซื้อ FK-1:
Lazada
Shopee
📱 ช่องทางอื่น:
TikTok
Line
+
🚀 สตาร์เฟอร์ 30-20-5 + ฮิวมิคFK - เร่งต้น เร่งใบ
สูตรไนโตรเจนสูง เหมาะสำหรับช่วงต้นของการเจริญเติบโต เร่งใบเขียว เร่งต้นแข็งแรง
✨ ประโยชน์เด่น:
• ไนโตรเจนสูง เร่งใบเขียวเข้ม
• เร่งการเจริญเติบโตในช่วงแรก
• ผสมสูตรเองได้ตามต้องการ
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคแอซิดช่วยเพิ่มการดูดซับไนโตรเจนได้ 2-3 เท่า ทำให้ใบเขียวเข้มและโตเร็วกว่าปกติ ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้ทุกครั้ง
💰 สตาร์เฟอร์: 250 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อสตาร์เฟอร์:
Lazada
Shopee
🛒 สั่งซื้อฮิวมิค:
Lazada
Shopee
💎 ฮิวมิคFK - ตัวช่วยเสริมพื้นฐาน
สารฮิวมิคแอซิดธรรมชาติ เพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับปุ๋ย ปรับปรุงดิน ทำให้พืชแข็งแรงขึ้น
✨ ประโยชน์เด่น:
• เพิ่มการดูดซับปุ๋ย 2-3 เท่า
• ปรับปรุงโครงสร้างดิน
• ใช้ได้ทุกพืช ผสมกับปุ๋ยอื่นได้
💰 ขนาด 500g: 190 บาท | 1kg: 250 บาท
💧 1kg ผสมน้ำได้ถึง 2,000 ลิตร
🛒 สั่งซื้อฮิวมิค:
Lazada
Shopee
📱 ช่องทางอื่น:
TikTok
Line
🌸 ขั้นตอนที่ 2: เร่งดอก เร่งผล และเพิ่มผลผลิต
เมื่อพืชโตแข็งแรงแล้ว ก็ถึงเวลาเพิ่มขนาดผล น้ำหนัก และคุณภาพ
🎯 เป้าหมายขั้นตอนนี้
กระตุ้นการออกดอก ขยายขนาดผล เพิ่มน้ำหนัก และปรับปรุงคุณภาพผลผลิต เพื่อผลตอบแทนสูงสุด
+
🌺 สตาร์เฟอร์ 10-40-10 + ฮิวมิคFK - เร่งราก เร่งดอก
สูตรฟอสฟอรัสสูง เหมาะสำหรับช่วงเร่งดอก ช่วยให้รากแข็งแรง ดอกออกเยอะ คุณภาพดี
✨ ประโยชน์เด่น:
• ฟอสฟอรัสสูง เร่งดอก เร่งราก
• เพิ่มการติดผล ลดการร่วง
• เสริมความแข็งแรงของราก
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยให้ฟอสฟอรัสถูกดูดซับง่ายขึ้น เร่งการเจริญเติบโตของราก และกระตุ้นการออกดอกได้ดีกว่าใช้เดี่ยว ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้
💰 สตาร์เฟอร์: 250 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อสตาร์เฟอร์:
Lazada
Shopee
⭐ FK-3 - ขยายผล เพิ่มน้ำหนัก (สำหรับผลไม้)
สูตรเฉพาะสำหรับพืชออกผล ช่วยขยายขนาดผล เพิ่มน้ำหนัก และปรับปรุงคุณภาพผลผลิต
✨ ประโยชน์เด่น:
• ขยายขนาดผลไม้ เพิ่มน้ำหนัก
• เพิ่มความหวาน ปรับปรุงรสชาติ
• ใช้ได้กับผลไม้ทุกชนิด
💰 1ชุด (2กิโลกรัม) ราคา : 950 บาท
🛒 สั่งซื้อ FK-3:
Lazada
Shopee
📱 ช่องทางอื่น:
TikTok
Line
+
🍯 สตาร์เฟอร์ 15-5-30 + ฮิวมิคFK - เพิ่มผลผลิต เร่งแป้ง
สูตรโพแทสเซียมสูง เร่งการสร้างแป้ง น้ำตาล ขยายขนาดผล เหมาะสำหรับช่วงเก็บเกี่ยว
✨ ประโยชน์เด่น:
• โพแทสเซียมสูง เร่งแป้ง สร้างน้ำตาล
• ขยายขนาดผล เพิ่มน้ำหนัก
• ปรับปรุงคุณภาพและรสชาติ
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยส่งโพแทสเซียมเข้าสู่ผลได้เร็วขึ้น เพิ่มความหวาน แป้ง และน้ำหนักผลมากกว่าใช้เดี่ยว ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้ทุกครั้ง
💰 สตาร์เฟอร์: 250 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อสตาร์เฟอร์:
Lazada
Shopee
🌾 ขั้นตอนที่ 3: สูตรเฉพาะทางสำหรับพืชเศรษฐกิจ
สูตรพิเศษที่ออกแบบมาเฉพาะสำหรับผลไม้ ข้าว อ้อย และมันสำปะหลัง
🎯 เป้าหมายขั้นตอนนี้
ใช้สูตรที่ปรับแต่งมาเฉพาะสำหรับพืชแต่ละชนิด เพื่อผลผลิตและคุณภาพที่ดีที่สุด รวมถึงการใช้ FK-1 ร่วมด้วย
+
🍇 FK-1 + FK-3 - สำหรับผลไม้ทุกชนิด
ชุดคู่สำหรับผลไม้ทุกชนิด เริ่มด้วย FK-1 เพื่อฟื้นฟูและเร่งโต ตามด้วย FK-3 เพื่อขยายผลและเพิ่มน้ำหนัก
✨ ประโยชน์คู่:
• FK-1: เร่งโต เร่งใบเขียว เร่งราก
• FK-3: ขยายผล เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มความหวาน
• เหมาะกับผลไม้ทุกชนิด
⏰ ช่วงเวลาการใช้:
FK-1: ใช้หลังปลูก 1-4 สัปดาห์ และเมื่อต้องการฟื้นฟูพืช
FK-3: ใช้เมื่อผลเริ่มติด ช่วงผลอ่อน ก่อนเก็บเกี่ยว 2-4 สัปดาห์
💰 FK-1: 890 บาท | FK-3: 950 บาท
🛒 สั่งซื้อ FK-1:
Lazada
Shopee
🛒 สั่งซื้อ FK-3:
Lazada
Shopee
+
🌾 FK-1 + FK-3R - เฉพาะสำหรับข้าว (Rice)
ชุดคู่สำหรับข้าว เริ่มด้วย FK-1 เพื่อเร่งโตและแข็งแรง ตามด้วย FK-3R เพื่อรวงยาว เมล็ดเต็ม
✨ ประโยชน์คู่:
• FK-1: เร่งโต เร่งใบเขียว เร่งแตกกอ
• FK-3R: รวงยาว เมล็ดเต็ม น้ำหนัก 1,000 เมล็ดสูง
• เพิ่มผลผลิตต่อไร่
⏰ ช่วงเวลาการใช้:
FK-1: หลังหว่าน 15-45 วัน และเมื่อข้าวใบเหลือง
FK-3R: ช่วงตั้งท้อง ออกรวง และก่อนข้าวสุก 2-3 สัปดาห์
💰 FK-1: 890 บาท | FK-3R: 950 บาท
🛒 สั่งซื้อ FK-3R:
Lazada
Shopee
+
🎯 FK-1 + FK-3S - เฉพาะสำหรับอ้อย (Sugarcane)
ชุดคู่สำหรับอ้อย เริ่มด้วย FK-1 เพื่อเร่งโตและแตกหน่อ ตามด้วย FK-3S เพื่อลำสูง ความหวาน CCS สูง
✨ ประโยชน์คู่:
• FK-1: เร่งโต เร่งแตกหน่อ ลำแข็งแรง
• FK-3S: ลำสูง ปล้องยาว เพิ่มค่า CCS
• น้ำหนักต่อลำเพิ่มขึ้น
⏰ ช่วงเวลาการใช้:
FK-1: หลังปลูก 1-3 เดือน และเมื่ออ้อยใบเหลือง
FK-3S: อายุ 6-10 เดือน และก่อนตัด 2-3 เดือน
💰 FK-1: 890 บาท | FK-3S: 950 บาท
🛒 สั่งซื้อ FK-3S:
Lazada
Shopee
+
🥔 FK-1 + FK-3C - เฉพาะสำหรับมันสำปะหลัง (Cassava)
ชุดคู่สำหรับมันสำปะหลัง เริ่มด้วย FK-1 เพื่อต้นแข็งแรง ตามด้วย FK-3C เพื่อหัวมันดก โตใหญ่ แป้งสูง
✨ ประโยชน์คู่:
• FK-1: เร่งโต ต้นแข็งแรง ทนแล้ง
• FK-3C: หัวมันดก โตใหญ่ เปอร์เซ็นต์แป้งสูง
• น้ำหนักต่อต้นเพิ่มขึ้นมาก
⏰ ช่วงเวลาการใช้:
FK-1: หลังปลูก 1-4 เดือน และเมื่อมันใบเหลือง
FK-3C: อายุ 6-10 เดือน และก่อนขุด 2-3 เดือน
💰 FK-1: 890 บาท | FK-3C: 950 บาท
🛒 สั่งซื้อ FK-3C:
Lazada
Shopee
🛡️ ขั้นตอนที่ 4: ป้องกันและกำจัดศัตรูพืช
ป้องกันโรคพืช แมลงศัตรูพืช และวัชพืช เพื่อผลผลิตที่สมบูรณ์
+
🐛 ไทอะมีทอกแซม + ฮิวมิคFK - กำจัดแมลงปากดูด
สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดเพลี้ยทุกชนิด แมลงปากดูด หนอนชอนใบ และโล่ปลาดาว
✨ ป้องกันศัตรูพืช:
• เพลี้ยไฟ เพลี้ยแป้ง เพลี้ยไก่แจ้
• แมลงปากดูดทุกชนิด
• หนอนชอนใบ โล่ปลาดาว
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการติดผิวใบ ทำให้สารกำจัดแมลงทำงานได้นานขึ้น และช่วยฟื้นฟูพืชหลังถูกแมลงทำลาย ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้
💰 ไทอะมีทอกแซม 100g: 69 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อไทอะมีทอกแซม:
Lazada
Shopee
+
🍄 แพนน่อน + ฮิวมิคFK - กำจัดโรคเชื้อรา
สารป้องกันกำจัดโรคพืชจากเชื้อราหลายชนิด เหมาะสำหรับทุกพืช ใช้ได้ตลอดปี
✨ ป้องกันโรคพืช:
• ใบไหม้ ใบจุด ใบติด กิ่งแห้ง
• ราน้ำค้าง ราสนิม ไปทอปธอร่า
• แอนแทรคโนส กุ้งแห้ง
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยเสริมความแข็งแรงให้พืช ทำให้ต้านทานโรคได้ดีขึ้น และช่วยฟื้นฟูพืชที่เสียหายจากโรคเร็วกว่า ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้
💰 แพนน่อน 1kg: 390 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อแพนน่อน:
Lazada
Shopee
+
⚡ อินเวท + ฮิวมิคFK - เคมีกำจัดเพลี้ยแรงแล้ว
สารเคมีประสิทธิภาพสูง กำจัดเพลี้ยทุกชนิด ใช้ได้ทุกพืช สำหรับการระบาดหนัก
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยลดความเครียดของพืชจากสารเคมี และช่วยฟื้นฟูพืชหลังการฉีดพ่นให้แข็งแรงเร็วขึ้น ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้
💰 อินเวท: 250 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้ออินเวท:
Lazada
Shopee
+
💚 แม็กซ่า + ฮิวมิคFK - สร้างภูมิต้านทาน
สารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ประกอบด้วยแมกนีเซียม ซิงค์ เร่งเขียว สร้างภูมิต้านทานโรค
✨ ประโยชน์เด่น:
• เร่งใบเขียวเข้ม เพิ่มคลอโรฟิลล์
• สร้างภูมิต้านทานโรค
• เสริมแมกนีเซียม ซิงค์
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยเพิ่มการดูดซับแมกนีเซียมและซิงค์ ทำให้ใบเขียวเข้มกว่า และสร้างภูมิต้านทานได้ดีกว่าใช้เดี่ยว ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้
💰 แม็กซ่า: 250 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อแม็กซ่า:
Lazada
Shopee
🎁 ขั้นตอนที่ 5: ชุดโปรโมชั่นสุดคุ้ม
แพ็คเกจคู่ที่ประหยัดและได้ผลดี รวมถึงสินค้ายอดนิยมจาก Lazada
🔥 โปรฯเล็กยอดฮิต - บำรุง + ป้องกัน
ชุดคู่สุดคุ้ม FKT 250cc + ไอเอส 250cc ทั้งบำรุงและป้องกันโรค ในราคาเดียว
✨ ได้ 2 ประโยชน์:
• FK ธรรมชาตินิยม: บำรุงฟื้นฟู
• ไอเอส: ป้องกันโรคราต่างๆ
• ผสมน้ำได้รวม 100 ลิตร
💰 ราคาพิเศษ : 499 บาท
(ปกติ 740 บาท ประหยัด 241 บาท!)
🛒 สั่งซื้อโปรพิเศษ:
Lazada
Shopee
🏆 #1 ขายดี
+
🌟 ไอเอส + ฮิวมิคFK - ยอดขายอันดับ 1 บน Lazada
สินค้าขายดีที่สุดในหมวดโรคพืช ป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ได้ผลจริง
✨ ทำไมขายดี:
• ได้ผลจริง ราคาไม่แพง
• ป้องกันโรคได้หลายชนิด
• ใช้ง่าย ปลอดภัย
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยเสริมภูมิต้านทานธรรมชาติให้พืช ทำให้ป้องกันโรคได้ยาวนานขึ้น และลดการใช้สารเคมีลงได้ ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้
💰 ไอเอส 1L: 450 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อไอเอส:
Lazada
Shopee
+
🦗 มาคา + ฮิวมิคFK - กำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช
สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช ใช้ได้ทุกพืช ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม
✨ ประโยชน์เด่น:
• กำจัดเพลี้ยทุกชนิด
• แมลงศัตรูพืชต่างๆ
• ปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยเพิ่มการติดผิวใบของสารอินทรีย์ ทำให้ได้ผลนานขึ้น และช่วยฟื้นฟูพืชหลังถูกแมลงทำลายเร็วกว่า ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้
💰 มาคา 1L: 470 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อมาคา:
Lazada
Shopee
+
🌿 FK ธรรมชาตินิยม + ฮิวมิคFK
ปุ๋ยธรรมชาติ ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค
✨ ปุ๋ยธรรมชาติ ปลอดภัย:
• พืชทุกชนิด โตไว ใบเขียว ทนแล้ง
• ผลิตภัณฑ์ปลอดภัย
• เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับธาตุอาหารธรรมชาติ ทำให้พืชแข็งแรงและทนแล้งได้ดีกว่าใช้เดี่ยว ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้
💰 FK-T 1L: 890 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อ FK-T:
Lazada
Shopee
+
💊 เมทาแลคซิล + ฮิวมิคFK - เคมีป้องกันโรค ราต่างๆในพืช
สารเคมีประสิทธิภาพสูง ป้องกันกำจัดโรคพืช โรคใบไหม้ ใบจุด ราน้ำค้าง ราสนิม โรคจากเชื้อราทุกชนิด
✨ ประโยชน์เด่น:
• แก้ปัญหาโรครุนแรง
• ได้ผลเร็ว ครอบคลุมโรคหลายชนิด
• สำหรับการระบาดหนัก
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยลดความเครียดจากสารเคมี และเร่งการฟื้นฟูพืชหลังการรักษาโรค ทำให้พืชแข็งแรงเร็วขึ้น ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้
💰 เมทาแลคซิล: 450 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อเมทาแลคซิล:
Lazada
Shopee
📱 ช่องทางอื่น:
TikTok
Line
+
🌿 คาร์รอน + ฮิวมิคFK - กำจัดหญ้า คุมวัชพืช
ยากำจัดหญ้าและวัชพืช ครอบคลุมทั้งใบแคบและใบกว้าง ได้ผลดี ราคาประหยัด
✨ ประโยชน์เด่น:
• กำจัดหญ้าใบแคบ ใบกว้าง
• คุมวัชพืชได้ยาวนาน
• ประหยัด ได้ผลดี
⚠️ หมายเหตุพิเศษ:
หลังฉีดกำจัดวัชพืช ใช้ฮิวมิคช่วยฟื้นฟูดินและเสริมความแข็งแรงให้พืชหลัก ป้องกันการกลับมาของวัชพืช ใช้แยกเวลา 3-7 วันหลังฉีดคาร์รอน
💰 คาร์รอน: 450 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อคาร์รอน:
Lazada
Shopee
📱 ช่องทางอื่น:
Line
🎯 สรุปขั้นตอนการใช้ผลิตภัณฑ์
ขั้นตอนแนะนำ:
🌱
เริ่มต้น:
เลือกใช้ FK-1 หรือ สตาร์เฟอร์ 30-20-5 + ฮิวมิคFK
🌸
เร่งดอกผล:
เลือกใช้ FK-3 (หรือ FK-3R/3S/3C) หรือ สตาร์เฟอร์ 10-40-10 + ฮิวมิคFK
🛡️
ป้องกัน:
ไทอะมีทอกแซม หรือ แพนน่อน หรือ แม็กซ่า + ฮิวมิคFK
🍯
เก็บเกี่ยว:
สตาร์เฟอร์ 15-5-30 + ฮิวมิคFK
💎 สำคัญที่สุด:
ใช้ ฮิวมิคFK ผสมกับผลิตภัณฑ์อื่นทุกครั้ง จะได้ผลดีขึ้น 2-3 เท่า
💡
เคล็ดลับ:
เริ่มด้วยโปรโมชั่นขนาดเล็ก → หากได้ผลแล้วค่อยซื้อเพิ่ม
💡 คำแนะนำสำหรับมือใหม่
🔰 แนะนำเริ่มต้น:
โปรฯเล็กยอดฮิต (499 บาท) + ฮิวมิคFK (250 บาท) = ทดลองในงบ 750 บาท
🌾 เกษตรกรข้าว:
FK-1 + FK-3R + ไอเอส + ฮิวมิคFK
🎯 เกษตรกรอ้อย:
FK-1 + FK-3S + แม็กซ่า + ฮิวมิคFK
🥔 เกษตรกรมันฯ:
FK-1 + FK-3C + ฮิวมิคFK
🍇 เกษตรกรผลไม้:
FK-1 + FK-3 + สตาร์เฟอร์ 15-5-30 + ฮิวมิคFK
⚠️ หมายเหตุ:
คาร์รอน ไม่ผสมกับผลิตภัณฑ์อื่น ใช้แยกเวลา แล้วค่อยใช้ฮิวมิคฟื้นฟูพืช
📞 ติดต่อสอบถาม คำแนะนำการใช้
โทรศัพท์
📞 090-592-8614
ไลน์ไอดี
💬 @FarmKaset
🌟 ทีมงานพร้อมให้คำแนะนำการใช้ผลิตภัณฑ์ ปรึกษาปัญหาพืช และแนะนำสูตรที่เหมาะสม
📅 เวลาทำการ: 9:00-17:00 น.
💎
พิเศษ:
ปรึกษาการใช้ ฮิวมิคFK คู่กับผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อประสิทธิภาพสูงสุด
⏰
คำแนะนำเวลา:
ช่วงเวลาการใช้ FK-1 และ FK-3 ชุดต่างๆ ตามพืชแต่ละชนิด
🌾
FarmKaset
- ผลิตภัณฑ์เกษตรคุณภาพ เพื่อเกษตรกรไทย 🌾
📍
ส่งทั่วประเทศ
🚚
จัดส่งเร็ว
💯
ได้ผลจริง
🏆
ขายดี #1 บน Lazada
💎 จุดเด่นใหม่:
ฮิวมิคFK เพิ่มประสิทธิภาพทุกผลิตภัณฑ์ 2-3 เท่า
© 2025 FarmKaset - สงวนลิขสิทธิ์ | 🔗
ระบบคำนวณการผสมปุ๋ย
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025
ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ
คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย
เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด
|
ปุ๋ยทุเรียน
|
ปุ๋ยมันสำปะหลัง
|
ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย
|
ปุ๋ยนาข้าว
|
ปุ๋ยยางพารา
|
ปุ๋ยมะพร้าว
|
ปุ๋ยข้าวโพด
|
ปุ๋ยปาล์ม
|
ปุ๋ยสับปะรด
|
ปุ๋ยถั่วเหลือง
|
ปุ๋ยพริกไทย
|
ปุ๋ยกาแฟ
|
ปุ๋ยมะนาว
|
ปุ๋ยส้ม
|
ปุ๋ยลำไย
|
ปุ๋ยลิ้นจี่
|
ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง
|
ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว
|
ปุ๋ยมังคุด
|
ปุ๋ยมันฝรั่ง
|
ปุ๋ยหอมหัวใหญ่
|
ปุ๋ยกระเทียม
|
ปุ๋ยหอมแดง
|
ปุ๋ยมะเขือเทศ
|
ปุ๋ยกล้วยไม้
|
ปุ๋ยอินทผลัม
|
ปุ๋ยน้อยหน่า
|
ปุ๋ยชมพู่
|
ปุ๋ยเงาะ
|
ปุ๋ยมะม่วง
|
ปุ๋ยมะขาม
|
ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้
|
ทุเรียนใบติด
|
มันสำปะหลังใบไหม้
|
โรคอ้อยใบไหม้
|
ข้าวใบไหม้
|
ยางพาราใบไหม้
|
โรคมะพร้าวใบไหม้
|
โรคราน้ำค้างข้าวโพด
|
ปาล์มใบไหม้
|
โรคสับปะรด
|
โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง
|
พริกไทยใบไหม้
|
โรคกาแฟใบไหม้
|
ราสนิมมะนาว
|
ส้มใบไหม้
|
ลำไยใบไหม้
|
ลิ้นจี่ใบไหม้
|
หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้
|
กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย
|
โรคใบจุดมังคุด
|
มันฝรั่งใบใหม้
|
โรคหอมเลื้อย
|
โรคใบจุดกระเทียม
|
โรคหอมแดง
|
ราแป้งมะเขือเทศ
|
โรคจุดสนิมกล้วยไม้
|
อินทผลัมใบไหม้
|
น้อยหน่าดอกร่วง
|
ชมพู่ใบไหม้
|
เงาะใบไหม้
|
มะม่วงใบไหม้
|
ราแป้งมะขาม
|
โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด
|
เพลี้ยทุเรียน
|
เพลี้ยมันสำปะหลัง
|
เพลี้ยอ้อย
|
เพลี้ยข้าว
|
เพลี้ยยางพารา
|
เพลี้ยมะพร้าว
|
เพลี้ยข้าวโพด
|
เพลี้ยปาล์มน้ำมัน
|
เพลี้ยสับปะรด
|
เพลี้ยถั่วเหลือง
|
เพลี้ยพริกไทย
|
เพลี้ยกาแฟ
|
เพลี้ยมะนาว
|
เพลี้ยส้ม
|
เพลี้ยลำไย
|
เพลี้ยลิ้นจี่
|
เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง
|
เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว
|
เพลี้ยมังคุด
|
เพลี้ยมันฝรั่ง
|
เพลี้ยหอมหัวใหญ่
|
เพลี้ยกระเทียม
|
เพลี้ยหอมแดง
|
เพลี้ยมะเขือเทศ
|
เพลี้ยกล้วยไม้
|
เพลี้ยอินทผาลัม
|
เพลี้ยน้อยหน่า
|
เพลี้ยชมพู่
|
เพลี้ยเงาะ
|
เพลี้ยมะม่วง
|
เพลี้ยมะขาม
|
เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้
|
โรคทุเรียน
|
โรคมันสำปะหลัง
|
โรคอ้อย
|
โรคข้าว
|
โรคยางพารา
|
โรคมะพร้าว
|
โรคข้าวโพด
|
โรคปาล์ม
|
โรคสับปะรด
|
โรคถั่วเหลือง
|
พริกไทยใบไหม้
|
โรคกาแฟ
|
โรคมะนาว
|
โรคส้ม
|
โรคลำไย
|
โรคลิ้นจี่
|
โรคหน่อไม้ฝรั่ง
|
โรคกระเจี๊ยบเขียว
|
โรคมังคุด
|
โรคมันฝรั่ง
|
โรคหอม
|
โรคกระเทียม
|
โรคหอมแดง
|
โรคมะเขือเทศ
|
โรคกล้วยไม้
|
โรคอินทผาลัม
|
โรคน้อยหน่า
|
โรคชมพู่
|
โรคเงาะ
|
โรคมะม่วง
|
โรคมะขาม
|
โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด
|
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน
|
เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
|
เพลี้ยอ้อย
|
เพลี้ยศัตรูข้าว
|
เพลี้ยแป้งยางพารา
|
เพลี้ยศัตรูมะพร้าว
|
เพลี้ยข้าวโพด
|
เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน
|
เพลี้ยแป้งสับปะรด
|
เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง
|
เพลี้ยแป้งพริกไทย
|
เพลี้ยแป้งกาแฟ
|
เพลี้ยไฟมะนาว
|
เพลี้ยไฟส้ม
|
เพลี้ยแป้งลำไย
|
เพลี้ยแป้งลิ้นจี่
|
เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง
|
เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว
|
เพลี้ยไฟมังคุด
|
เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง
|
เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่
|
เพลี้ยไฟกระเทียม
|
เพลี้ยไฟหอมแดง
|
เพลี้ยมะเขือเทศ
|
เพลี้ยไฟกล้วยไม้
|
เพลี้ยแป้งอินทผาลัม
|
เพลี้ยแป้งน้อยหน่า
|
เพลี้ยไฟชมพู่
|
เพลี้ยแป้งเงาะ
|
เพลี้ยจักจั่นมะม่วง
|
เพลี้ยมะขาม
|
เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช
|
กำจัดหนอนทุเรียน
|
กำจัดหนอนมันสำปะหลัง
|
กำจัดหนอนกออ้อย
|
กำจัดหนอนในนาข้าว
|
กำจัดหนอนในสวนยางพารา
|
กำจัดหนอนมะพร้าว
|
กำจัดหนอนข้าวโพด
|
กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน
|
กำจัดหนอนสับปะรด
|
กำจัดหนอนถั่วเหลือง
|
กำจัดหนอนพริกไทย
|
กำจัดหนอนกาแฟ
|
กำจัดหนอนมะนาว
|
กำจัดหนอนส้ม
|
กำจัดหนอนลำไย
|
กำจัดหนอนลิ้นจี่
|
กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง
|
กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว
|
กำจัดหนอนมังคุด
|
กำจัดหนอนมันฝรั่ง
|
กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่
|
กำจัดหนอนกระเทียม
|
กำจัดหนอนหอมแดง
|
กำจัดหนอนมะเขือเทศ
|
กำจัดหนอนกล้วยไม้
|
กำจัดหนอนอินทผาลัม
|
กำจัดหนอนน้อยหน่า
|
กำจัดหนอนชมพู่
|
กำจัดหนอนเงาะ
|
กำจัดหนอนมะม่วง
|
กำจัดหนอนมะขาม
|
กำจัดหนอนพริก
โรคทุเรียนต่างๆ ทุเรียนใบไหม้ ราสีชมพูในทุเรียน โรคทุเรียนก้านธูป เชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส
Update: 2566/10/28 12:25:31 - Views: 11343
ตอซัง ฟางข้าว มีประโยชน์ ช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวในฤดูการปลูกถัดไปได้เป็นอย่างมาก
Update: 2564/08/24 05:25:18 - Views: 3624
กำจัดศัตรูพืช ยาฆ่าหนอนชอนใบ ใน มะกรูด และ พืชทุกชนิด บาซีเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/17 13:36:16 - Views: 3657
ปลูกพืช พบปัญหา ใบไหม้ โรคใบจุดสีน้ำตาล ราน้ำค้าง ราสนิม และโรคพืชต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2563/04/08 09:35:14 - Views: 3651
การควบคุมวัชพืชในสวนกล้วย การใช้คาร์รอน (Diuron 80% WG)
Update: 2567/02/13 09:23:20 - Views: 3865
การป้องกันและกำจัด โรคยางพาราเปลือกเน่า โรคยางพาราเปลือกแห้ง
Update: 2566/03/04 11:36:06 - Views: 3667
การป้องกันกำจัด โรคเส้นดำ (Black Stripe) ในยางพารา
Update: 2566/03/04 14:07:38 - Views: 3773
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยอ่อน ในหัวไชเท้า และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/20 13:51:46 - Views: 3629
การจัดการและป้องกันโรคราสีชมพูในต้นลำไย: วิธีแก้ปัญหาเพื่อสวนลำไยที่แข็งแรง
Update: 2566/11/13 12:54:51 - Views: 3605
ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค - เคล็ดลับการปลดปล่อยธาตุอาหารให้กับพืชแอ๊ปเปิ้ล
Update: 2567/02/13 09:25:43 - Views: 3617
ฟื้นระบบรากและปรับปรุงดินในการปลูกมะเฟือง-ฮิวมิค แอซิด ฟาร์มิค
Update: 2567/02/13 09:28:09 - Views: 3649
หนอนผีเสื้อหัวกะโหลกในงา หรือ หนอนแก้ว
Update: 2564/08/10 12:09:36 - Views: 3850
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยอ่อน ในพืช บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/23 14:46:27 - Views: 3971
ป้องกัน กำจัด เพลี้ยอ่อนข้าวโพด เพลี้ยต่างๆ และ แมลงจำพวกปากดูดต่างๆ ใช้ได้กับพืชทุกชนิด (1ลิตร ผสมน้ำได้ 400ลิตร)
Update: 2564/08/14 03:08:43 - Views: 3537
การจัดการและป้องกันปัญหาหนอนในต้นอะโวคาโด้: วิธีการแก้ไขที่มีประสิทธิภาพ
Update: 2566/11/16 13:33:07 - Views: 3646
บอนสี โคนเน่า ใบไหม้ ซีดเหลือง กำจัดโรคบอนสี จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
Update: 2565/10/28 11:32:52 - Views: 3574
โรคเปลือกแตก ยางไหล กิ่งแห้ง ที่เกิดกับไม้ยืนต้นต่างๆ แก้ได้ด้วย ไอเอส
Update: 2564/05/05 03:12:57 - Views: 5001
การป้องกันและกำจัด โรคราน้ำค้างในเมล่อน ด้วยสารอินทรีย์ และเทคนิคการควบคุมไอออน
Update: 2566/01/11 19:51:02 - Views: 3709
กำจัดเชื้อรา ต้นหอม ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2565/09/22 11:33:56 - Views: 3571
ปุ๋ยอินทรีย์เคมี 5-3-14 (เพอร์เฟคพี) ตรานกอินทรีคู่ สำหรับ เร่งผล เร่งน้ำหนัก เพิ่มความหวาน พืชออกผลทุกชนิด รวมถึงอ้อย และมันสำปะหลัง
Update: 2566/01/02 08:14:10 - Views: 3759
GA4 © FarmKaset.ORG |
สถาบันอนุญาโตตุลาการ
: 2022