[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - เพิ่มผลผลิต
907 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 90 หน้า, หน้าที่ 91 มี 7 รายการ

อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด แรปเตอร์ ตราไดโนเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำ บำรุงพืช ปลอดภัยไม่มีเคมีตกค้าง 100% บำรุงพืชทุกชนิด
อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด แรปเตอร์ ตราไดโนเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำ บำรุงพืช ปลอดภัยไม่มีเคมีตกค้าง 100% บำรุงพืชทุกชนิด
อะมิโนโปรตีน แรปเตอร์อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด ช่วยในการสร้างฮอร์โมนพืช ทำให้เกิด การสร้างและขยายขนาดของเซลล์ เนื้อเยื่อ ขยายขนาดของเซลล์เนื้อเยื่อ และพัฒนาส่วนต่างๆ ของพืชเจริญ เติบโตได้อย่างเต็มที่ ผ่านระยะการ ออกดอก และผลได้อย่างสมบูรณ์

อะมิโนโปรตีน แรปเตอร์ : ใช้อย่างไร?
1. ผสมน้ำฉีดพ่น พืชผัก
- 10-20 มล. ต่อน้ำ 20 ลิตร
- 10-20 มล. ต่อน้ำ 20 ลิตร
- 10-20 มล. ต่อน้ำ 20 ลิตร
2. นาข้าว พืชไร่ ไม้ผล 20-40 มล. : น้ำ 20 ลิตร
3. ผสมน้ำระบบน้ำหยด 500 มล. : 1 ไร่
4. ควรฉีดพ่น 2 ครั้ง / เดือน
* ไม่ควรฉีดพ่นช่วงระยะพืชออกดอก *


สั่งซื้อ
โทร 0909-592-8614
ไลน์ @FarmKaset มี @ ด้วยนะคะ
สามารเลือกซื้อกับลาซาด้า http://ไปที่..link.. และช้อปปี้ http://ไปที่..link.. ได้เช่นกัน
ปลูกมังคุดให้ถูกวิธี ใส่ปุ๋ยให้กับมังคุด ฉีดพ่น FK-1 และ FK-3 เพิ่มผลผลิต ได้คุณภาพ
ปลูกมังคุดให้ถูกวิธี ใส่ปุ๋ยให้กับมังคุด ฉีดพ่น FK-1 และ FK-3 เพิ่มผลผลิต ได้คุณภาพ
ปลูกมังคุดให้ถูกวิธี ใส่ปุ๋ยให้กับมังคุด ฉีดพ่น FK-1 และ FK-3 เพิ่มผลผลิต ได้คุณภาพ
ข้อมูลทางด้านล่างนี้ เป็นการปลูกมังคุดให้ได้ผลผลิตทีดี FK-1 และ FK-3 เป็นปุ๋ยทางใบประสิทธิภาพสูง ใช้เพิ่มผลผลิต และคุณภาพของผลมังคุดได้ดี

ฉีดพ่น FK-1 ในช่วงที่ต้องการเร่งการเจริญเติบโตของมังคุด ปุ๋ยน้ำ FK-1 จะส่งเสริมการเจริญเติบโต ขยายทรงพุ่ม สร้างความเขียวของใบ ทำให้ระบบรากแข็งแรงดูดกินอาหารได้ดีขึ้น มีสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ประกอบอยู่ใน FK-1 ส่งเสริมกระบวนการสร้างอาหารให้กับต้นมังคุด มังคุดจึงโตใบ เขียวสมบูรณ์ แข็งแรง ต้านทานต่อโรคพืชได้ดีขึ้น

ฉีดพ่น FK-3 เมื่อมังคุดเริ่มติดผล ทำให้มังคุดผลโต น้ำหนักดี มีคุณภาพดี FK-3 ประกอบด้วยธาตุอาหารที่จำเป็นต่อการส่งเสริมผลผลิตมังคุดอย่างครบถ้วน เน้นให้ ธาตุ โพแตสเซียม (K) สูงมาเป็นพิเศษถึง 40% จึงเน้นไปที่การส่งเสริมกระบวนการสะสมอาหารไปที่ผลมังคุดโดยตรง ทำให้มังคุดผลโต คุณภาพดี มีน้ำหนัก จึงได้ผลผลิตที่สูงขึ้น

การปลูกมังคุดให้ได้ผลผลิตดี

การวางผังปลูก มี 2 ระบบ คือ ระบบสี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือสามเหลี่ยมด้านเท่า ระยะระหว่างแถวและต้น 8×8 เมตร หรือ 10×10 และระบบแถวกว้างต้นชิด ระยะปลูกระหว่างแถว 8×3 เมตร หรือ 10×5 เมตร

วิธีการปลูก มี 2 แบบ คือ การปลูกแบบเตรียมหลุมปลูก เหมาะกับพื้นที่ค่อนข้างแห้งแล้ง และการปลูกแบบนั่นแท่นหรือยกโคก เหมาะกับพื้นที่ฝนตกชุก ช่วยให้ดินระบายน้ำได้ดีขึ้น

การลดต้นทุน
ใช้ระยะปลูกและวิธีปลูกที่เหมาะสม สะดวกต่อการจัดการแปลงและการดูแลรักษา ทำให้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพ

5. การใส่ปุ๋ยให้กับมังคุด
เก็บตัวอย่างดินและตัวอย่างพืชส่งวิเคราะห์ปริมาณธาตุอาหารและใส่ปุ๋ยให้สอดคล้องกับค่าวิเคราะห์ดินและใบ หรือ

การใส่ปุ๋ยหลังการเก็บเกี่ยว: ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ อัตรา 20-30 กิโลกรัม/ต้น ร่วมกับใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา (กิโลกรัม/ต้น) 1/3 ของเส้นผ่าศูนย์กลางทรงพุ่ม

การใส่ปุ๋ยในช่วงพัฒนาของผล: ใส่ปุ๋ยสัดส่วน 3:1:4 เช่นปุ๋ยสูตร 15-5-20 อัตรา(กิโลกรัม/ต้น) 1 ใน 3 ของเส้นผ่าศูนย์กลางทรงพุ่ม หรือตามค่าวิเคราะห์ดินหลังการติดผลทันที ร่วมกับพ่นปุ๋ยทางใบสัดส่วน 4:1:6 อัตรา 100 กรัม/น้ำ 20 ลิตร

การลดต้นทุน
ใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินและความต้องการของพืช และใส่ 3 ครั้ง หลังเก็บเกี่ยว ก่อนออกดอก และเมื่อติดผลผสมปุ๋ยใช้เองลดต้นทุนค่าปุ๋ยได้ 30-50ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีและปุ๋ยชีวภาพให้ปุ๋ยในระบบน้ำ ลดต้นทุนการใช้แรงงาน 15-20%

การให้น้ำ
ให้น้ำเพียงพอกับความต้องการของมังคุดในแต่ละช่วงการเจริญเติบโต
ระยะติดผล อายุผลประมาณ 5 สัปดาห์ ให้น้ำทุก 3 วัน อัตรา 80% ของการให้น้ำปกติ
ระยะอายุผล 5 สัปดาห์ถึงก่อน 10 สัปดาห์ ให้น้ำอัตรา 90% ของการให้น้ำปกติ
ระยะอายุผลประมาณ 10-12 สัปดาห์ถึงเก็บเกี่ยว ให้น้ำอัตรา 80% ของการให้น้ำปกติ

7. การดูแลรักษา
การพรางแสง เพื่อให้ร่มเงาในช่วงแรกของการเจริญเติบโต อาจใช้วัสดุธรรมชาติช่วยพรางแสง หรืออาจปลูกต้นไม้โตเร็วระหว่างแถวมังคุด เช่น กล้วย ทองหลาง

การตัดแต่งและควบคุมทรงพุ่ม
มังคุดต้นเล็ก ตัดแต่งเฉพาะกิ่งด้านล่างให้สูงจากพื้นดินประมาณ 50 เซนติเมตร และกิ่งที่ซ้อนทับกันจนแน่นทึบออก

มังคุดที่ให้ผลผลิตแล้ว ตัดแต่งกิ่งที่อยู่ด้านข้างของทรงพุ่มที่ประสานกันออก ให้มีช่องว่างระหว่างชายพุ่มโดยรอบกับต้นข้างเคียงประมาณ 50-70 เซนติเมตร ตัดยอดที่สูงเกินต้องการออก ตัดกิ่งประธานหรือกิ่งรองออกด้านละ 1-5 กิ่ง ให้เลี้ยงกิ่งแขนงที่อยู่ในทรงพุ่มไว้เพื่อได้ผลผลิตเพิ่ม

อ้างอิงข้อมูลทางวิชาการ จาก กรมวิชาการเกษตร
อ่าน:3397
ขายปุ๋ย FK-1 -ปุ๋ยนาข้าว คุณภาพสูง ข้าวแตกกอ โตไว ให้ผลผลิตดี
ขายปุ๋ย FK-1 -ปุ๋ยนาข้าว คุณภาพสูง ข้าวแตกกอ โตไว ให้ผลผลิตดี
ขายปุ๋ย FK-1 -ปุ๋ยนาข้าว คุณภาพสูง ข้าวแตกกอ โตไว ให้ผลผลิตดี
ปุ๋ยน้ำฉีดพ่นนาข้าว FK-1 ประกอบด้วย ธาตุอาหารหลักที่จำเป็นที่สุดสำหรับการเจริญเติบโต และการเพิ่มผลผลิตข้าว ทำให้ข้าวแตกกอใหญ่ ใบเขียว ส่งเสริมผลผลิต ข้าวรวงยาว เมล็ดเต็ม ผลผลิตเพิ่มขึ้นทันทีในรอบการปลูกที่ฉีดพ่น FK-1
อ่าน:3452
การปลูกทานตะวัน
การปลูกทานตะวัน
ทานตะวัน เป็นพืชนํ้ามันที่มีความสําคัญพืชหนึ่ง นํ้ามันที่ได้จากการสกัดจากเมล็ดทานตะวันจะ
มีคุณภาพสูง ที่ประกอบด้วยกรดไขมันที่ไม่อิ่มตัว เช่น กรดลิโนเลนิค หรือกรดลิโนเลอิค ที่จะช่วยลด
โคเลสเตอรอลที่เป็นสาเหตุของโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด นอกจากนี้นํ้ามันจากทานตะวันยังประกอบด้วย วิตามิน เอ ดีอีและเคด้วย ผลผลิตส่วนใหญ่อยู่ในเขตอบอุ่น เช่น สหภาพโซเวียต อาร์เจนตินา และประเทศ ในแถบยุโรปตะวันออก สําหรับประเทศไทย ได้มีการส่งเสริมให้มีการ ปลูกทานตะวันเป็นอาชีพเสริมมากขึ้น เพื่อเพิ่มผลผลิตให้เพียงพอกับอุตสาหกรรมพืชนํ้ามันและความต้องการของผู้บริโภค ทั้งนี้ เพราะ ทานตะวันเป็นพืชที่มีอายุสั้นระบบรากลึก มีความทนทานต่อสภาพแห้งแล้งได้ดีกว่าพืชอื่น ๆ แหล่งปลูกที่สําคัญ ได้แก่ จังหวัดลพบุรี เพชรบูรณ์ และสระบุรี

สภาพแวดล้อม
ทานตะวัน เป็นพืชที่มีการปรับตัวเข้ากับสภาพของเขตร้อนได้ดีพอสมควรไม่ไวต่อแสง สามารถ
ออกดอกใหผลได้ทุกสภาพช่วงแสง ปลูกได้ในบริเวณที่มีการปลูกข้าวโพด ข้าวฟาง เมื่่อทานตะวันตั้งตัวได้แล้ว จะมีความทนทานต่อสภาพแห้งและร้อนได้พอสมควร และจะเริ่มเติบโตทันทีเมื่อมีฝน นอกจากนี้ทานตะวันยังมีความทนทานต่อสภาพอากาศเย็นจัดได้ดีกว่าข้าวโพด ข้าวฟ่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะต้นกล้า ทานตะวันขึ้นได้กับดินหลายประเภท แต่จะขึ้นได้ดีในสภาพดินที่มีผิวดินหนาและอุ้มความชื้นไว้ได้ดี สามารถทนต่อสภาพความอุดมสมบูรณ์ตํ่า ตลอดจนสภาพดินเกลือและเป็นด่างจัดได้พอสมควร ซึ่งดินเหล่านี้จะมีอยู่เป็นจํานวนมากในเขตแห้งแล้งทั่วๆไป

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ทานตะวัน เป็นพืชในตระกูลเดียวกันกับเบญจมาศ คําฝอย ดาวเรือง เป็นพืชล้มลุกที่มีปลูกกัน
มากในเขตอบอุ่น การที่มีชื่อเรียกว่า ทานตะวัน เพราะลักษณะการหันของช่อดอกและใบจะหันไปทาง
ทิศของดวงอาทิตย์คือ หันไปทางทิศตะวันออกในตอนเช้า และทิศตะวันตกในตอนเย็น แต่การหันจะลดน้อยลงเรื่อย ๆ หลังจากมีการผสมเกสรแล้วไปจนกระทั่งถึงช่วงดอกแก่ ซึ่งช่อดอกจะหันไปทิศตะวันออกเสมอ

ราก เป็นระบบรากแก้วหยั่งลึกลงไปประมาณ 150-270 เซนติเมตร มีรากแขนงค่อนข้างแข็ง
แรงแผ่ขยายไปด้านข้างได้ยาวถึง 60-150 เซนติเมตร เพื่อช่วยคํ้าจุนลําต้นได้ดีและสามารถใช้ความชื้นระดับผิวดินได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ลําต้น ส่วนใหญ่ไม่มีแขนง แต่บางพันธุ์มีการแตกแขนง ขนาดของลําต้น ความสูง การแตก
แขนงขึ้นอยู่กับพันธุ์และสภาพแวดล์อม ความสูงของต้นอยู๋ระหว่าง 1-10 เซนติเมตร การโค้งของลําต้น ตรงส่วนที่เป็นก้านช่อดอกมีหลายแบบ แบบที่ต้องการคือแบบที่ ส่วนโค้งตรงก้านช่อดอกคิดเป็นร้อยละ15 ของความสูงของลําต้น พันธุ์ที่มีการแตกแขนง อาจมีความยาวของแขนงสูงกวาลําตนหลักแขนง อาจแตกมาจากส่วนโคนหรือยอด หรือตลอดลําต้นก็ได้

ใบ เป็นใบเดี่ยวเกิดตรงกันข้าม หลังจากที่มีใบเกิดแบบตรงกันข้ามอยู่ 5 คู่แล้ว ใบที่เกิดหลัง
จากนั้นจะมีลักษณะวน จํานวนใบบนต้นอาจมีตั้งแต่ 8-70 ใบ รูปร่างของใบแตกต่างกันตามพันธุ์สีของ
ใบอาจมีตั้งแต่เขียวอ่อน เขียว และเขียวเข้ม ใบที่เกิดออกมาจากตายอดใหม่ๆ ก้านใบจะอยู่ในแนวตั้งจนกระทั้งใบมีความยาว 1 เซนติเมตร ปลายยอดจะค่อย ๆ โค้งลงจนเมื่อใบแก่แล้วก็จะโค้งลงมาเป็นรูปตัวยู (U) การสร้างใบจะมีมากจนกระทั่งดอกบาน หลังจากนั้นการสร้างใบจะลดน้อยลง
ดอก เป็นรูปจาน เกิดอยู่บนตายอดของลําต้นหลัก หรือแขนงลําต้นมีเส้นผ่าศูนย์กลางของดอก
อยู่ระหว่าง 6-37 เซนติเมตร ซึ่งขึ้นกับพันธุ์และสภาพแวดล้อม ดอกมีลักษณะเป็นแบบช่อดอก
ประกอบด้วยดอกย่อยเป็นจํานวนมาก ซึ่งแบ่งเป็น 2 ชนิด คือ

1. ดอกย่อยที่อยู่รอบนอกจานดอก เป็นดอกที่ไม่มีเพศ (เป็นหมัน) มีกลับดอกสีเหลืองส้ม
2. ดอกย่อยที่อยู่ในจานดอก เป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีเกสรตัวผู้ที่พร้อมจะผสมได้ก่อนเกสรตัว
เมีย และสายพันธุ์ผสมเป็นส่วนใหญ่ผสมตัวเองน้อยมาก
ในแต่ละจานดอกจะมีดอกย่อยอยู่ประมาณ 700-3_000 ดอก ในพันธุ์ที่ให้นํ้ามัน ส่วนพันธุ์
อื่นๆ อาจมีดอกย่อยถึง 8_000 ดอก การบานหรือการแก่ของดอกจะเริ่มจากวงรอบนอกเข้าไปสู่ศูนย์
กลางของดอก ดอกบนกิ่งแขนงจะมีขนาดเล็ก แต่ถ้าเป็นแขนงที่แตกออกมาตอนแรกๆ ดอกจะมีขนาด
ใหญ่เกือบเท่ากับดอกบนลําต้นหลัก ส่วนใหญ่พันธุ์ที่ปลูกเป็นการค้า มักจะเลือกต้นชนิดที่มีดอกเดี่ยว
เพื่อความสมบูรณ์ของดอก และให้เมล็ดที่มีคุณภาพดี

เมล็ด (หรือผล) ประกอบด้วยเนื้อใน ซึ่งถูกห่อหุ้มไว้ด้วยเปลือกที่แข็งแรง เมื่อผลสุกส่วนของ
ดอกที่อยู่เหนือรังไข่จะร่วง ผลที่มีขนาดใหญ่จะอยู่วงรอบนอก ส่วนผลที่อยู่ข้างในใกล้ๆ กึ่งกลางจะมีผลเล็กลง

เมล็ดทานตะวัน แบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ คือ
1. เมล็ดใช้สกัดนํ้ามัน จะมีเมล็ดเล็ก สีดํา เปลือกเมล็ดบางให้นํ้ามันมาก
2. เมล็ดใช้รับประทาน จะมีเมล็ดโตกว่าพวกแรก เปลือกหนาไม่ติดกับเนื้อในเมล็ด เพื่อสะดวก
ในการกะเทาะแล้วใช้เนื้อในรับประทาน โดยอบหรือปรุงแต่งขนมหวาน หรือทําเป็นแป้งประกอบอาหารหรือใช้เมล็ดคั่วกับเกลือแล้ว แทะเปลือกออกรับประทานเนื้อข้างในเป็นอาหารว่าง เช่นเดียวกับเมล็ดแตงโม
3. เมล็ดใช้เลี้ยงนก ใช้เมล็ดเป็นอาหารเลี้ยงนก หรือไก่ โดยตรง

สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
ทานตะวันชอบอากาศอบอุ่นในเวลากลางวันและอากาศเย็นในเวลากลางคืน อุณหภูมิที่เหมาะ
สมคือ อยู่ระหว่าง 18-25 องศาเซลเซียส สภาพความเป็นกรด-ด่าง ของดินประมาณ 5.7-8 สามารถ
ขึ้นได้ในดินแทบทุกประเภท แต่ที่ขึ้นได้ดีคือดินที่มีหน้าดินลึกที่อุ้มนํ้าได้ดี แต่ไม่ชอบนํ้าขังและไม่ชอบดินที่มีลักษณะเป็นกรด หากดินที่ปลูกมีความชื้นตํ่า ผลผลิตของเมล็ดจะตํ่าลงมาก

พันธุ์
ทานตะวันมี 3 สายพันธุ์พันธุ์ผสมเปิด ซึ่งเป็นพันธุ์เดิมที่ใช้ปลูก ซึ่งในดอกจะมีจํานวนเรณูที่ติด
อยู่ที่ก้านชูเกสรตัวเมียน้อย ทําให้การติดเมล็ดด้วยการผสมตัวเองตํ่า ต้องอาศัยแมลงช่วยในการผสม
เกสร จึงจะทําให้ติดเมล็ด การปลูกจึงไม่ประสบผลสําเร็จเพราะได้เมล็ดลีบ ผลผลิตตํ่าเนื่องจากไม่ค่อยมีแมลงช่วยผสมเกสร แต่ปัจจุบันมีพันธุ์ลูกผสมสามารถติดเมล็ดได้ดีโดยไม่ต้องอาศัยแมลงช่วยผสมเกสร เพราะในดอกมีละอองเรณูที่ติดอยู่ก้านชูเกสรตัวเมียมากกว่าพันธุ์ผสมเปิด 3-4 เท่า จึงทําให้การติดเมล็ดด้วยการผสมตัวเองดีกว่าสายพันธุ์ผสมเปิด

ปัจจุบันยังไม่มีการผลิตเมล็ดทานตะวันลูกผสมในประเทศไทย ต้องนําเข้าจากต่างประเทศ ได้แก่
พันธุ์ไฮซัน 33 และพันธุ์เอส 101 ซึ่งมีลักษณะของจานดอกค่อนข้างใหญ่กลีบดอกสีเหลืองสดใสและให้ปริมาณนํ้ามันสูง สายพันธุ์สังเคราะห์ซึ่งยังไม่มีการส่งเสริมในปัจจุบัน แต่ในขณะนี้อยู่ระหว่างการวิจัยของหน่วยงานวิจัย สําหรับทานตะวันที่ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกในขณะนี้คือ สายพันธุ์ลูกผสม

ลักษณะดีเด่นของพันธุ์ลูกผสม ได้แก่
1. ผลผลิต เฉลี่ย 254.82 กิโลกรัมต่อไร่
2. การติดเมล็ด เฉลี่ยร้อยละ 76.3
3. เส้นผ่าศูนย์กลาง เฉลี่ย 15.4 เซนติเมตรของจานดอก
4. ความสูงของต้น เฉลี่ย 168.9 เซนติเมตร
5. อายุเก็บเกี่ยว เฉลี่ย 90-100 วัน
6. ปริมาณนํ้ามัน เฉลี่ยร้อยละ 48 ที่มา
1-4 การเปรียบเทียบพันธุ์ทานตะวันในท้องถิ่น จํานวน 5 พันธุ์ฤดูแล้ง ปี 2529 ศูนย์วิจัยพืชไร่เชียงใหม่ 5-6 บริษัทแปซิฟิค เมล็ดพันธุ์จํากัด

ลักษณะที่ดีของพันธุ์ ลูกผสม คือ สามารถผสมเกสรภายในดอกเดียวกันได้สูง การติดเมล็ดค่อน
ข้างดี การหาผึ้งหรือแมลงช่วยผสมเกสรจึงไม่จําเป็นมากนัก แต่ถ้ามีแมลงช่วยผสมก็มีลักษณะประจํา
พันธุ์ที่มีผลต่อการดึงดูดแมลง เช่น กลีบดอกสีสดใส กลิ่นของเรณูปริมาณและคุณภาพของนํ้าหวานก็ดีกว่าพันธุ์ผสมเปิด ทนทานต่อการโค่นล้มและต้านทานต่อโรคราสนิม

ฤดูปลูก
ทานตะวันเป็นพืชที่สามารถเจริญเติบโตได้ในทุกฤดูกาล เพราะเป็นพืชที่ไม่ไวต่อช่วงแสง อย่าง
ไรก็ตามการปลูกในบางท้องที่อาจไม่มีความเหมาะสม เช่น ในที่ลุ่มภาคกลาง ในฤดูฝนจะมีนํ้าขังแฉะ
เกินไป หรือที่ดินในฤดูแล้งที่ไม่มีนํ้าชลประทาน ดังนั้นฤดูที่เหมาะสมที่สุดมี 2 ฤดูคือ

1. ปลายฤดูฝน ในสภาพพื้นที่ที่เป็นดินร่วนเหนียว ควรปลูกทานตะวันในปลายฤดูฝน คือ ตั้ง
แต่เดือนกันยายน-พฤศจิกายน แต่ถ้าสภาพพื้นที่ที่ปลูกเป็นดินร่วนทราย ควรปลูกในเดือนสิงหาคมตุลาคม ซึ่งเป็นช่วงกลางฤดูฝน
2. ฤดูแล้ง ถ้าในแหล่งปลูกนั้นสามารถใช้นํ้าจากชลประทานได้ก็สามารถปลูกเป็นพืชเสริมได้
โดยปลูกในช่วงเดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ์ซึ่งเป็นช่วงหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว
เนื่องจากพันธุ์ลูกผสมนี้ดอกค่อนข้างใหญ่ เวลาเมล็ดแก่จานดอกจะห้อยลงมาและด้านหลังของ
จานดอกจะมีลักษณะเป็นแอ่งเหมือนกระทะก้นแบน เมื่อฝนตกลงมานํ้าฝนจะขังในแอ่งดังกล่าว จะทําให้เกิดโรคเน่าได้มากและทําให้เมล็ดเน่าเสียหาย ดังนั้นจึงควรปลูกในปลายฤดูฝน หรือในฤดูแล้งถ้ามี
ฝนตกนํ้าขังในแอ่งของจานดอก ให้เขย่าต้นเพื่อทําให้นํ้าไหลออกให้หมด

การเตรียมดิน
การเตรียมดินก้อนปลูก ควรไถดินให้ลึกในระดับ30 เซนติเมตรหรือลึกกว่านั้น เพราะว่า เมื่อฝนตกดินจะสามารถรับนํ้าให้ซึมซับอยู่ในดินได้มากขึ้น การไถดินลึกจะช่วยทําลายการอัดแน่นของดินในชั้นไถพรวน ทําให้นํ้าซึมลงในดินชั้นล่างได้มากขึ้น ควรกําจัดวัชพืชในแปลงให้สะอาด และไถย่อยดินครั้งสุดท้ายให้ร่วนซุย หากมีการใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักลงไปพร้อมกับการย่อยดินครั้งสุดท้ายจะช่วย
เสริมธาตุอาหารต่างๆเพื่อให้พืชนําไปใช้ประโยชน์

การปลูก
หลังจากเตรียมดินเสร็จแล้ว ควรทําร่องสําหรับหยอดเมล็ด โดยให้แต่ละร่องห่างกัน 70-75 เซนติเมตร และให้หลุมปลูกในร่องห่างกัน 25-30เซนติเมตร หยอดหลุมละ 2 เมล็ด แลวกลบดินโดยให้เมล็ดอยู่ลึก 5-8เซนติเมตร เมื่อพืชงอกได้ 10 วัน หรือมีใบจริง 2-4 คู่ให้ถอนแยกเหลือไว้
เฉพาะต้นที่แข็งแรงเพียงหลุมละ 1 ต้น และถ้าหากดินมีความชื้นตํ่าควรใช้
ระยะปลูกกว้างขึ้น

การยกร่องนี้ เพื่อเป็นการสะดวกในการให้นํ้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลูกในฤดูแล้งที่ต้องการนํ้ามาก ส่วนการปลูกในฤดูฝน ถ้าเป็นดินที่มีการระบายนํ้าดีก็ไม่จําเป็นต้องยกร่องและใช้ระยะปลูกเช่นเดียวกับยกร่องการปลูกวิธีนี้ต้องใช้เมล็ดพันธุ์ลูกผสมจํานวน 0.7 กิโลกรัมต่อไร่และปลูกตามระยะที่แนะนํานี้
จะได้จํานวนต้น 6_400-8_500 ต้นต่อไร่

ใส่ปุ๋ย
ทานตะวันเป็นพืชที่ให้โปรตีน และแร่ธาตุสูง จึงควรใส่ปุ๋ยในปริมาณที่พืชต้องการตามสภาพดิน
ที่ปลูกด้วยสําหรับปุ๋ยเคมีที่เหมาะสมที่แนะนํา คือ สูตร 15 – 15 - 15 หรือ 16 - 16 - 8 อัตรา 30
- 50 กิโลกรัมต่อไร่ โดยใส่รองพื้นพร้อมปลูก และใช้ปุ๋ยยูเรีย 46 – 0 - 0 อัตรา 20-30 กิโลกรัมต่อ
ไร่ เมื่อทานตะวันอายุได้ 30 วัน หรือมีใบจริง 6-7 คู่ ซึ่งเป็นระยะกําลังจะออกดอก หากมีการตรวจ
วิเคราะห์ดินก่อนปลูก จะช่วยให้การใช้ปุ๋ยมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและในกรณีที่เป็นดินทรายและขาดธาตุ
โบรอน ควรใส่ผงโบแรกซ์ประมาณ 2 กิโลกรัมต่อไร่ จะทําให้เพิ่มผลผลิตได้มากและทําให้คุณภาพของเมล็ดทานตะวันดีขึ้น

ให้นํ้า
นํ้าเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีผลกระทบต่อการผลิตทานตะวัน หากความชื้นในดินมีน้อยก็จะทําให้ผล
ผลิตลดลงด้วย การให้นํ้าที่เหมาะสมแก่ทานตะวันจึงจะทําให้ได้รับผลผลิตดีด้วย ดังนั้นการให้นํ้าควร
ปฏิบัติดังนี้
ครั้งที่ 1 หลังจากปลูกเสร็จแล้วรีบให้นํ้าทันทีหรือควรทําการปลูกทันทีหลังฝนตกเพื่อใช้ความชื้นในดินให้เต็มที่โดยไม่ต้องรดนํ้า
ครั้งที่ 2 ระยะมีใบจริง 2 คู่ หรือประมาณ 10-15 วัน หลังงอก
ครั้งที่ 3 ระยะเริ่มมีตาดอก หรือประมาณ 30-35 วัน หลังงอก
ครั้งที่ 4 ระยะดอกเริ่มบาน หรือประมาณ 50-55 วัน หลังงอก
ครั้งที่ 5 ระยะกําลังติดเมล็ด หรือประมาณ 60-70 วัน หลังงอก การให้นํ้าควรให้นํ้าอย่างเพียง
พอให้ดินชุ่ม แต่ไม่ต้องถึงกับแฉะและนํ้าขังการให้นํ้าควรคํานึงถึงความชุ่มชื้นในดินด้วย ไม่ควรปล่อย
ให้ดินแห้งมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วงแรกของการเจริญเติบโตจนถึงระยะติดเมล็ด

การกําจัดวัชพืช
ควรกําจัดวัชพืชอย่างน้อย 2 ครั้ง ครั้งแรก เมื่อทานตะวันมีใบจริง 2-4 คู่ ซึ่งการทํารุ่นครั้งแรก
นี้ทําพร้อมกับการถอนแยกต้นพืชให้เหลือ 1 ต้นต่อหลุม เป็นการสะดวกสําหรับเกษตรกรในการปฏิบัติ
และครั้งที่สองทําพร้อมกับการใส่ปุ๋ยครั้งที่สอง เมื่อทานตะวันมีใบจริง 6-7 คู่ ทํารุ่นพร้อมกับใส่ปุ๋ยและ
พูนโคนต้นไปด้วย ในแปลงที่มีปัญหาวัชพืชขึ้นรบกวน ควรทําการกําจัดวัชพืชเพื่อป้องกันการแย่งอาหารและความชื้นในดิน ตั้งแต่ต้นยังเล็กหรือใช้สารเคมีคุมกําเนิดหรือใช้สารเคมีคุมกําเนิดพวกอะลาคลอร์ หรือเมโธลาคลอร์ฉีดพ่นหลังหยอดเมล็ดก่อนที่จะงอกในอัตรา 300-400 ซีซีผสมนํ้า 4 ปี๊บ สําหรับฉีดพ่นในเนื้อที่ปลูก 1 ไร่ โดยฉีดให้สมํ่าเสมอกันสามารถคุมการเกิดวัชพืชได้นานถึง 2 เดือน และควรใช้แรงงานคน สัตว์หรือเครื่องทุ่นแรง ทํารุ่นได้ตามความจําเป็น

ข้อควรระวัง
ห้ามใช้สารเคมีกําจัดวัชพืชอะทราซีนในทานตะวันโดยเด็ดขาด

การเก็บเกี่ยว
ทานตะวัน จะมีอายุการเก็บเกี่ยวแตกต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับพันธุ์ที่ปลูก (พันธุ์ลูกผสม อายุเก็บเกี่ยว 90-100 วัน)

วิธีการ
เก็บเกี่ยวนั้นให้สังเกตจากด้านหลังของจานดอกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองซึ่งเป็นช่วงการสร้างนํ้ามันในเมล็ดจะเริ่มลดลง และจะหยุด
สร้างนํ้ามันเมื่อจานดอกเปลี่ยนเป็นสีนํ้าตาลก็เริ่มเก็บเกี่ยวได้หลัง
จากนั้นให้นําไปผึ่งแดดจัด ๆ 1-2 แดด โดยแขวนให้หัวห้อยลงและ
หมั่นกลับช่อดอก เพื่อให้ดอกแห้งอย่างสมํ่าเสมอ ถ้าเก็บเกี่ยวในช่วงที่ยังมีฝนชุกให้นํามาผึ่งในร่ม
หลายๆ วันจนแห้งสนิท แล้วจึงรวบรวมไปนวด อาจใช้แรงคนหรือสัตว์หรือใช้เครื่องนวดเมล็ดถั่วเหลืองหรือถั่วลิสงก็ได้เสร็จแล้วนําไปทําความสะอาดแล้วเก็บไว้ในยุ้งฉางที่ป้องกันแดด-ฝน และแมลงศัตรูได้ เพื่อรอจําหน่าย (ความชื้นของเมล็ดที่จะเก็บรักษาไว้ควรไม่เกิน 10%)

การให้ผลผลิต
การปลูกทานตะวันในพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีการบํารุงรักษาดีจะให้ผลผลิตไม่ตํ่ากว่า
300 กิโลกรัมต่อไร่แต่โดยเฉลี่ยประมาณไม่ตํ่ากว่า 200 กิโลกรัมต่อไร่

โรคแมลงและศัตรูทานตะวัน
- โรคใบและลําตำนไหม้อัลเทอร์นาเรีย
- โรคโคนเน่าหรือลําต้นเน่า
แมลงศัตรูทานตะวัน
- หนอนกระทู้ผัก
- หนอนเจาะสมอฝ้าย
- หนอนม้วนใบส้ม
- หนอนเจาะลําต้นข้าวโพด

ศัตรูทานตะวัน
นก หนูและอื่น ๆ นับว่าเป็นศัตรูสําคัญอีกประการหนึ่ง ที่จะทําความเสียหายให้แก่ทานตะวัน
โดยเฉพาะในแหล่งปลูกใหญ่ๆ ฉะนั้นเกษตรจะต้องหมั่นออกสํารวจตรวจแปลงเสมอ เมื่อพบว่ามีการ
ระบาดก็ให้รีบทําการป้องกันกําจัด โดยวิธีกลคือ การวางกับดัก การล้อมตีเป็นต้น

ประโยชน์ของทานตะวัน
แต่เดิมทานตะวันเป็นเพียงไม้ดอกไม้ประดับเท่านั้น ต่อมาได้นําเมล็ดมาเป็นของขบเคี้ยว และ
สกัดเป็นนํ้ามัน จึงทําให้กลายเป็นพืชเศรษฐกิจที่สําคัญพืชหนึ่ง การใช้ประโยชน์จากทานตะวันมีหลายลักษณะดังนี้

1. เมล็ด ใช้บริโภคโดยตรง เพื่อเป็นแหล่งโปรตีนแทนเนื้อสัตว์ได้ในเมล็ด มีธาตุเหล็กสูงไม่แพ้
ธาตุเหล็กจากไข่แดงและตับสัตว์เมื่อบดทําแป้งจะได้แป้งสีขาว มีไขมันสูง มีโปรตีนมากกว่าร้อยละ 50ของปริมาณแป้ง
2. เปลือกของลําต้น มีลักษณะเหมือนเยื่อไม้นํามาทํากระดาษสีขาวได้คุณภาพดีลําต้นใช้ทํา
เชื้อเพลิงได้เมื่อไถกลบจะเป็นปุ๋ยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ให้แก่ดินได้ดี
3. ราก ใช้ทําแป้งเค้ก สปาเก็ตตี้ในรากมีวิตามินบี1 และธาตุอีกหลายชนิด แพทย์แนะนําให้ใช้ รากทานตะวันประกอบอาหารสําหรับผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน
4. นํ้ามัน นํ้ามันที่สกัดจากเมล็ดจะให้ปริมาณนํ้ามันสูงถึงร้อยละ 35 และได้นํ้ามันที่มีคุณภาพ
สูง ประกอบด้วยกรดไขมันที่ไม่อิ่มตัวเช่น กรดลิโนเลอิค หรือกรดลิโนเลนิค สูงถึงร้อยละ 60-70 ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อร่างกายในการช่วยลดคลอเรสเตอรอลที่เป็นสาเหตุของโรคไขมันอุดตันในเส้นเลือดได้ และยังประกอบด้วยไวตามิน เอ ดีอีและเค ซึ่งคุณภาพของไวตามินอีจะสูงกว่าในนํ้ามันพืชอื่น ๆ เมื่อ เก็บไว้เป็นเวลานานจะไม่เกิดกลิ่นหืน ทั้งยังทําให้สีกลิ่น และรสชาติไม่เปลี่ยนแปลง นอกจากใช้เป็นนํ้ามันพืชแล้วยังนิยมใช้ในอุตสาหกรรม ทําเนยเทียม สีนํ้ามันชักเงา สบู่และนํ้ามันหล่อลื่นเครื่องยนต์
5. กาก กากที่ได้จากการสกัดนํ้ามันออกแล้ว จะนําไปใช้เป็นส่วนผสมของอาหารสัตว์ได้ในกาก
เมล็ดทานตะวันที่กะเทาะเปลือกและบีบนํ้ามันออกแล้ว จะมีโปรตีนร้อยละ 42 และใช้เป็นแหล่ง
แคลเซียมสําหรับปศุสัตว์ได้ดีแต่จะมีปริมาณกรดอะมิโนอยู่เล็กน้อย และขาดไลซีนจึงต้องใช้อย่างรอบคอบ เมื่อจะเอาไปผสมเป็นอาหารสัตว์ที่มิใช่สัตว์เคี้ยวเอื้อง


ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
รูปภาพจาก
อ่าน:3455
การปลูกดอกทานตะวัน ปลูกเป็นไร่ หรือปลูกรอบบ้าน
การปลูกดอกทานตะวัน ปลูกเป็นไร่ หรือปลูกรอบบ้าน
วิธีการปลูกดอกทานตะวัน

ดอกทานตะวัน (ทานตะวัน) เป็นพืชที่มีสารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายด้วยวิตามินที่มีประโยชน์ต่อร่างกายและจิตใจ ต้องหยุดเชยชมและแมลงวันที่กินเกสรเป็นอาหารต้องเข้ามาตอมดูดดื่มน้ำหวานจากดอกทานตะวัน

การปลูกดอกทานตะวันมี 3 รูปแบบวิธี
1. วิธีการปลูกแบบจำนวนมากให้เป็นไร่หลายไร่หรือเป็นทุ่งกว้าง
2. วิธีการปลูกต้นไม้รอบบ้านประดับรอบบ้านให้บานสวยงาม
3. วิธีการปลูกใส่กระถางเพื่อจัดเรียงหรือย้ายไปปลูกตามจุดที่ต้องการ

1. วิธีการปลูกแบบจำนวนมาก เป็นไร่หลายไร่หรือเป็นทุ่งกว้าง
ขั้นตอนแรก การเตรียมดิน
เตรียมดิน กำจัดวัชพืช หว่านปุ๋ยคอกอัตรา 1.5 ตัน/ไร่ แล้วไถปรับสภาพพื้นดิน ยกร่องให้กว้าง 150 เซนติเมตร ระยะระหว่างร่อง 75 เซนติเมตร ขุดหลุมบนสันร่อง ระยะระหว่างหลุม 45 เซนติเมตร ใส่ปุ๋ยรองพื้น สูตร 16-20-0 หรือ 25-7-7 อัตรา 20-25 กิโลกรัม/ไร่

ในการขุดดินที่ไม่เคยปลูกอะไรมานานควรเลือกใช้ผานดิน 3 ใบลงหลุมที่ 1 จากนั้นทิ้งดิน 15 นาทีให้ดินกรอบจากนั้นเราจะเปลี่ยนเป็น
หน้าผาพรวนดินเผาพรวนให้ ดินแตกละเอียดอีกครั้งก่อนทำการปลูก พืชใด ๆ ครับ

ขั้นตอนการปลูกโดยการหยอดเมล็ดพันธุ์

1. เตรียมดิน โดยดายหญ้าให้เตียน หว่านปุ๋ยคอกอัตรา 1.5 ตัน/ไร่ แล้วไถปรับสภาพพื้นดิน
2. ยกร่องให้กว้าง 150 เซนติเมตร ระยะระหว่างร่อง 75 เซนติเมตร ขุดหลุมบนสันร่อง ระยะระหว่างหลุม 45 เซนติเมตร ใส่ปุ๋ยรองพื้น สูตร 16-20-0 หรือ 25-7-7 อัตรา 20-25 กิโลกรัม/ไร่
3. ใช้เมล็ดพันธุ์ประมาณ 0.8 กิโลกรัม / ไร่ หยอดหลุมละ 2-3 เมล็ด กลบดินหนา ประมาณ 3-5 เซนติเมตร ให้แน่นพอสมควร
4. ใช้ยาคุมหญ้า อัตรา 300-400 ซีซี/ไร่ หรือ 7-8 ช้อนโต๊ะต่อน้ำ 18-20 ลิตร ฉีดพ่นหลังหยอดเมล็ด
5. หลังจากปลูกไปแล้ว 5 – 10 วัน ให้ตรวจดูการงอก และการปลูกซ่อม หลังจากนั้นอีก 5– 8 วัน ถอนแยกให้เหลือ 1 ต้น/หลุม โดยเลือกถอนต้นที่มีขนาดเล็กหรือผิดปกติก่อน

การให้น้ำ
ทานตะวันต้องการน้ำพอสมควรในช่วงระยะแรกของการเจริญเติบโต ถ้าปลูกปลายฤดูฝนอาจไม่จำเป็นต้องให้น้ำ แต่ถ้าปลูกในฤดูแล้งควรรดน้ำช่วงระยะ 1 เดือนแรก และระยะ 50 วัน (ช่วงมีดอก)

การให้ปุ๋ย
ระยะที่ 1 เสริมสร้างการเจริญเติบโตของราก ลำต้นและใบ หลังจากย้ายกล้าแล้วประมาณ 30 วัน ให้ปุ๋ยไนโตรเจนสูง 46-0-0 อัตรา 20-30 กก./ไร่
ระยะที่ 2 ช่วงการเจริญเติบโตถึงระยะสังเกตเห็นตุ่มดอก ให้ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 20-30 กก/ไร่ ระยะที่ 3 เมื่อดอกเริ่มบาน ให้ปุ๋ยสูตร ให้ปุ๋ยสูตร 8 – 24 – 24 หรือ 13 – 13 – 21 อัตรา 20-30 กก./ไร่ต่อเนื่องตลอดอายุการให้ดอก

การเก็บเกี่ยว
ทานตะวันต้องรอให้ดอกแห้ง ซึ่งจะมีอายุหลังปลูกประมาณ 4 เดือนสำหรับทานตะวันซึ่งเป็นมีผลผลิตเฉลี่ย 350 กก ต่อไร่ แต่ถ้าดูแลดีจะมีผลผลิตสูงถึง 500 กิโลกรัม เมล็ดที่เก็บได้ถ้าอยากให้เก็บได้นาน ๆ ควรเอาไปตากแดดให้แห้งสัก 1-2 แดด แล้วเก็บเข้าห้องเย็น เพราะเมล็ดทานตะวันเป็นพืชน้ำมันอายุการเก็บรักษาจะสั้นถ้าเก็บไว้ในที่อุณหภูมิสูง

ขั้นตอนตอนการปลูกโดย(ด้วยเครื่องและใช้คน)

หลังจากที่เตรียมดินเสร็จแล้วให้เราเอาเมล็ดพันธุ์ทานตะวันเดินสูงส่งลงบนพื้นดินใช้ปริมาณที่เหลือ 1-1.2 กม. ต่อไร่ 1 ไร่ ด้วยความลึกของการวางผานประมาณ 5 ซม. ให้ดินกลบให้ทั้งแปลงหรือถ้าใครที่มีผานพรวนที่มีอุปกรณ์การสะสมเหลืออยู่เราก็สามารถใส่ลงไปในอุปกรณ์และการกระจายพรวนและการชุมนุมในพื้นที่

นำเข้าใส่ขุนนางแล้วก็คร่ำครวญเอาไว้ในรอบเดียวในการเป็นผู้มีเกียรติจะใช้ลงคะแนนเสียงมากกว่า
การสะสม แต่แลกด้วยความสะดวกสะบายรวดเร็วครับ

การใส่

เกลือทานตะวันเป็นพืชที่ให้โปรตีนและแร่ธาตุสูงควรใส่ปุ๋ยในปริมาณที่ต้องการตามสูตรที่เหมาะสมสำหรับการทำปุ๋ยเคมี 15-15-15 หรือ 16-16-8 อัตรา 30 -50 กิโลกรัมต่อไร่ โดยใส่รองหนาพร้อมปลูกและใช้ปุ๋ยยูเรีย46-0-0 อัตรา20-30 กิโลกรัมต่อไร่เมื่อทานตะวันมีอายุได้30 วันหรือมีใบจริง6-7 คู่ การตรวจวิเคราะห์ดินก่ อนปลูกจะช่วยให้การใช้ปุ๋ยมีคุณสมบัติมากขึ้นและในกรณีที่เป็นดินทรายและขาดธาตุโบรอนควรใส่ผงโบแรกซ์ประมาณ2กิโลกรัมต่อไร่จะช่วยเพิ่มผลผลิตได้มากและทำให้คุณภาพของเมล็ดทานตะวันดีขึ้น แต่ถ้าคุณมีใครบ้างที่มีปุ๋ยสามารถใช้ได้มาก ๆ ถ้ามีปริมาณมากเราสามารถลดการใช้ปุ๋ยเคมีหรือ ไม่ใส่เลยวรรณกรรมครับ

การให้น้ำดอกไม้เป็น

ผลดีต่อการผลิตทานตะวันการลดปริมาณน้ำฝนจะช่วยลดปริมาณการผลิตลงได้ด้วยการให้น้ำที่เหมาะสมแก่การผลิตทานตะวัน
ครั้งที่ 1 ปลูกทันทีทำการหลังที่คุณคุณคุณฝนตกเพื่อใช้ความชื้นในห้างหุ้นส่วนจำกัดห้างหุ้นส่วนจำกัดที่คุณคุณคุณดินให้เต็มที่โดยไม่ที่คุณคุณคุณต้องรดน้ำ
ครั้งที่ 2 ยระมีคุณใบจริง 2 คู่หรือประมาณ 10-15 หลังงอกการ ธ นา วันรา
ครั้งที่ 3 ระยะเริ่มมีตาดอกหรือประมาณ 30-35 หัวเรื่อง: การงอกหลังธนาคารวัน
ครั้งที่ 4 ระยะดอกเริ่มบานหรือประมาณ 50-55 หัวเรื่อง: การงอกหลังธนาคารวัน
ครั้งที่ 5 ระยะกำลังติดหรือประมาณ 60-70 วัน ที่ได้หลังจากรับหัวเรื่อง: การปฐมพยาบาล แต่อย่างใด แต่ก็ไม่จำเป็นที่จะคุณต้องทำด้วยความสามารถระมัดระวัง แต่อย่างใดยิ่งชวงแรกของหัวเรื่อง: การเจริญเติบโตจนถึงระยะติดยังไม่ได้

การเก็บเกี่ยวทานตะวัน
ในกรณีที่มีการปลูกพืชจำนวนมากในสมัยก่อนฉันจะใช้วิธีการตัดดอกออกมาแดดเมื่อแห้งแล้วจะนำมาใช้ในการแกะหรือแกะออกมาพร้อมกับการกรีด เพื่อให้ได้มาซึ่งความสะอาดและสามารถพัฒนาต่อไปได้อีกเป็นขั้นตอนสุดท้ายแล้วจึงทำการนวดด้วยเครื่องนวดข้าว เมื่อถึงเวลาที่เราจะใช้รถเกี่ยวกับทานตะวันออกมาเป็นสีแดงได้เร็ว ๆ นี้ แต่ในโซนเกษตรกรที่ปลูกมาก ๆ เฉพาะในพื้นที่ห่างไกลก็จะ สามารถใช้วิธีที่ไร่เราใช้สมัยก่อนก็ได้ครับ

ปัญหาในการ ปลูกทานตะวัน
1. ตอนวิกตอเรีย
ตอบ เมื่อวิคตอเรียจากนั้นควรคร่ำครวญเพื่อป้องกันตัวทันที
2. ต้นอายุได้ 7-10 วันมันชอบกินช่วงที่ตัวอ่อนถ้ากินจะยอดของต้นทานตะวันไม่เหลือต้นนั้นก็จะตายในที่สุดครับ
ตอบ สนองต่อการกินก็กินเพียง 5-10% เมื่อต้นบานเต็มท้องทุ่งแล้วเราไม่ได้เห็นความแตกต่างต่างประเทศครับ ขึ้นบางและเราไม่อยากให้มันกินยอดอ่อนในช่วง 7-10 วันแรกที่เราจะต้องพ่ายแพ้ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่นการเคาะปี๊บใช้ถุงกระสอบห้อยกับไม้ให้ลมพัด วิธีนี้ก็ช่วยให้นกไม่กล้าม กินได้
3. เมื่อต้นทานตะวันมีอายุ 15 วันขึ้นไปก็จะมีหนอนมากินที่ใบ
การตอบ สนองต่อการทำลายของหนอนกินใบถ้าเราจะหลีกเลี่ยงการใช้ยาเคมีและปล่อยให้มันเป็นไปได้ที่จะใช้เวลานานในการกำจัดแมลงศัตรูพืชที่เหลืออยู่ ดีไม่มีผลกับความสมบูรณ์ของการลงคะแนนในแน่นอน

2. วิธีการปลูกต้นไม้รอบบ้านประดับรอบบ้านให้บานสวยงาม
วิธีการปลูกต้นไม้เพื่อประดับบ้านจะไม่มีขั้นตอนอะไรมากครับขอแสดงความยินดีเลือกสถานที่ที่มีแสงแดดมากที่สุดจากนั้นขุดหลุมลึก 5 ซม. รวบรวมเมล็ดทานตะวันลงไปในหลุมที่ 2 จากนั้นกลบทิ้งด้วยดินที่ขุด ระยะห่างต่อหลุมประมาณ 30 ซม. เมื่อต้นขึ้นแล้วถ้าหลุมไหนมี 2 ต้นให้เราดึงต้นหนึ่งออกให้เหลือเพียงหลุมละ 1 ต้นเท่านั้น

การดูแลรักษา
การให้น้ำ ควรรดน้ำทุกวันในตอนเช้าหรือเย็น หากรดน้ำในเวลาเย็นควรให้น้ำ ที่ค้างอยู่บนใบแห้งก่อนพระอาทิตย์ตกดิน และเมื่อมีดอกบาน อย่ารดน้ำให้ถูกดอกเพราะอาจทำให้ดอกช้ำหรือเน่าได้ การให้น้ำควรให้สภาพดินชุ่มสลับแห้ง ไม่ควรให้ชุ่มตลอดเวลา เพราะอาจเป็นสาเหตุของโรครากเน่า โคนเน่า และทำให้ระบบรากไม่พัฒนา ส่งผลให้ต้นแคระแกร็น ไม่สมบูรณ์ สามารถสังเกตสีของดินหรือวัสดุเพาะ หากมีสีดำหรือน้ำตาลเข้ม แสดงว่าดินยังชุ่มหรือมีน้ำอยู่ เมื่อดินเปลี่ยนสีเป็นน้ำตาลอ่อน แห้งแข็ง แสดงว่าดินขาดน้ำ

วิธีการปลูกแบบกระถาง
1.เตรียมดินสำหรับการปลูกทานตะวัน
สูตรที่ 1 ส่วนประกอบดินผสมโดยทั่วไป ได้แก่ ดินร่วน ปุ๋ยหมัก แกลบดิบ แกลบเผา ขุยมะพร้าว
อัตราส่วน 1 : 1 : 2 : 2 : 2
สูตรที่ 2 ส่วนประกอบดินผสมโดยทั่วไป ได้แก่ แกลบดิบ ขุยมะพร้าว ดิน อัตราส่วน 3 : 5 : 2

2.หลังจากการเพาะเมล็ดไปแล้วประมาณ 10-15 วัน ให้สังเกต ต้นกล้าเมื่อมีใบจริง 2 คู่ขึ้นไป ต้นกล้าจะโตพอที่จะย้ายได้ รดน้ำดินให้ชื้นก่อนการย้ายปลูก โดยการเจาะหลุมดินให้ลึกและกว้างพอกับดินที่หุ้มรากมา แล้วนำต้นกล้าหยอดลงในหลุมแล้วกลบด้วยดิน

3.รดน้ำให้ชุ่มโดยใช้บัวรดแบบฝอยละเอียด ควรมีการให้น้ำอย่างสม่ำเสมอ เช้า-เย็น



ข้อมูลจาก http://ไปที่..link..
อ่าน:3564
น้ำหมัก จุลินทรีย์ เพื่อนที่ดีของต้นไม้
น้ำหมัก จุลินทรีย์ เพื่อนที่ดีของต้นไม้
ก่อนอื่นมาทำความรู้จักกับจุลินทรีย์กันดีกว่า จุลินทรีย์เป็นสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมาก ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า แต่บทบาทของมันไม่ได้เล็กไปด้วย จุลินทรีย์มีบทบาทที่สำคัญต่อดินและพืชหลายประการ ไม่ได้เป็นแหล่งธาตุอาหารของพืชโดยตรง แต่ทำหน้าที่ “เป็นผู้ย่อยสลาย” ย่อยสลายสารประกอบอินทรีย์ที่มีโครงสร้างซับซ้อนให้มีขนาดเล็กและกลายเป็นธาตุอาหารที่มีประโยชน์ รวมทั้งปรับสมดุลและสภาพแวดล้อมต่างๆ ในดินให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช

จุลินทรีย์มีหลายชนิด สามารถใช้ทางการเกษตรได้ และชนิดที่คนอาจจะคุ้นเคยและใช้กันแพร่หลายแล้วคือ จุลินทรีย์ EM (Effective Microorganisms) ลักษณะเป็นน้ำสีน้ำตาลเข้ม ที่ขยายพันธุ์ด้วยกากน้ำตาล ไม่ชอบแสงแดด แต่วันนี้เราจะพาไปทำความรู้จักกับจุลินทรีย์น้องใหม่ที่ชอบแสงแดดและมีประโยชน์ไม่แพ้กัน นั่นก็คือจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง หรือ PSB (Photosynthetic Bacteria) ซึ่งเป็นจุลินทรีย์ที่อยู่ในกลุ่มของจุลินทรีย์สีม่วง พบได้ทั่วไปตามแหล่งน้ำธรรมชาติ สามารถใช้ประโยชน์ทางการเกษตร บำบัดน้ำเสียจากอาคารบ้านเรือนและอุตสาหกรรมได้เช่นกัน จุลินทรีย์กลุ่มนี้ต้องการสิ่งที่จำเป็นในการเจริญเติบโตคือแสงแดด

ความสามารถที่ไม่ธรรมดาของจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง ซึ่งเป็นประโยชน์ด้วยมีดังนี้

1.ช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันโรคพืชได้ดี ทำให้เปลือกหรือลำต้นแข็งแรง ทนต่อการกัดกินของแมลง
2.ช่วยกระตุ้นเซลล์เจริญบริเวณปลายรากพืชให้ขยายตัวและแตกแขนงได้ดี ทำให้มีรากฝอยที่หากินเก่งจำนวนมาก จึงทำให้พืชสามารถเพิ่มผลผลิตได้ดีเนื่องจากการสะสมอาหารได้มาก
3.สามารถใช้แทนปุ๋ยยูเรีย ปุ๋ยยูเรีย คือ ปุ๋ยสังเคราะห์ที่มีส่วนประกอบของไนโตรเจนในอัตราที่สูง โดยจุลินทรีย์ใช้หลักการย่อยสลายกลุ่มก๊าซของเสียให้เป็นไนโตรเจนซึ่งเป็นธาตุอาหารหลักของพืช
4.นำจุลินทรีย์ไปใช้ผสมผสานร่วมกับน้ำหมักหรือปุ๋ยสูตรต่างๆ จะทำให้ผลผลิตยิ่งเพิ่ม และคุณภาพผลิตดีขึ้นตามด้วย
5.ลดต้นทุนการผลิต เมื่อใช้เป็นประจำและต่อเนื่อง สามารถลดการใช้ปุ๋ยสูตรต่างๆ ลงได้สูงสุด 50% ทำให้ต้นทุนในการผลิตลดลง กำไรเพิ่มมากขึ้น
6.ช่วยในการบำบัดน้ำเสีย ได้ทั้งกับน้ำเสียที่อยู่ทั่วไปในท่อ บ่อปลา ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ หรือกับน้ำเสียจากอุตสาหกรรมก็ได้
7.ช่วยย่อยสลายของเสียในดิน โดยเฉพาะกลุ่มก๊าซไข่เน่า หรือไฮโดรเจนซัลไฟด์ จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงจะเข้าไปทำลายกำจัดก๊าซไฮโดรเจนโดยนำของเสียนั้นมาเป็นพลังงานใช้ในการเจริญเติบโตและแบ่งเซลล์ และขับของเสียออกมาให้อยู่ในรูปกลุ่มโกรทฮอร์โมน (growth hormone) ที่มีประโยชน์ต่อพืช
8.ช่วยลดสภาวะโลกร้อน เนื่องจากจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงย่อยสลายทำลายโครงสร้างของก๊าซมีเทน (methane) ซึ่งเป็นหนึ่งในก๊าซเรือนกระจกที่สำคัญ เป็นตัวทำลายชั้นบรรยากาศของโลกเรา และมีอยู่มากในท้องนาที่มีน้ำขังอยู่ เพียงแค่เกษตรกรนำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงไปใส่ในนา นอกจากจะทำให้ต้นข้าวเติบโตแข็งแรงแล้ว ยังเป็นการช่วยปกป้องโลกของเราได้ด้วย

ในการขยายเชื้อจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง สิ่งที่ต้องเตรียม ประกอบไปด้วย
1.ขวดน้ำพลาสติก (สามารถเตรียมได้ทั้ง 3 ขนาด คือ 600 cc / 1500 cc / 6000 cc)
2.น้ำเปล่า (สามารถใช้น้ำฝน น้ำบ่อ หรือน้ำประปาที่พักค้างคืนไว้)
3.ไข่ (ไข่ไก่ หรือไข่เป็ดก็ได้ ไข่เน่าแล้วก็ยังได้ จุลินทรีย์ยิ่งชอบ)
4.น้ำปลา หรือกะปิ
5.ผงชูรส
6.ถ้วย ช้อน ส้อม
7.หัวเชื้อจุลินทรีย์ (ถ้ามี)

ขั้นตอนการทำจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง
1.ลอกพลาสติกที่ปิดขวดออกก่อน และกรอกน้ำลงไปในขวดให้ได้ 70% ของขวด
2.ตอกไข่ใส่ถ้วย ตีไข่ขาวและไข่แดงให้เป็นเนื้อเดียวกัน ใส่น้ำปลา และผงชูรสตามไป ตีจนเข้ากันเหมือนกำลังทำไข่เจียว อัตราส่วน ไข่ 1 ฟอง : น้ำปลา 1 ช้อนโต๊ะ : ผงชูรส 1 ช้อนโต๊ะ จำง่ายๆ คือ 1:1:1)
3.จะใส่หรือไม่ใส่เปลือกไข่ก็ได้ ถ้าใส่ก็ช่วยเสริมแคลเซียม ให้ตำหรือบดให้ละเอียดแล้วใส่ลงในไข่ที่ผสมเป็นเนื้อเดียวกัน
4.ตักใข่ที่ผสมแล้วใส่ลงในขวดน้ำที่เตรียมไว้ ดังนี้
5.สำหรับขวด 600 cc ใส่ครึ่งช้อนโต๊ะ
6.สำหรับขวด 1500 cc ใส่ 1 ช้อนโต๊ะ
7.สำหรับขวด 6000 cc ใส่ 4 ช้อนโต๊ะ
8.เขย่าส่วนผสมให้เข้ากับน้ำ แล้วเติมหัวเชื้อจุลินทรีย์สังเคราะแสงลงไปให้เหลือพื้นที่วางในขวดเล็กน้อย ปิดฝาขวดให้แน่น
9.นำขวดไปวางเรียงกันในที่ที่มีแสงแดดส่องตลอดวัน
เขย่าขวดบ้าง หากมีแก๊สในขวดมากก็เปิดฝาระบายออกได้ รอจนกว่าจะเป็นสีแดงเข้มทั้งขวดจึงจะนำไปใช้ได้ (ถ้าใส่หัวเชื้อใช้เวลา 2 อาทิตย์จึงแดงดี ถ้าไม่มีหัวเชื้อใช้เวลาประมาณ 1 เดือน)

เท่านี้ ก็ได้จุลินทรีย์ใช้กันแล้ว ซึ่งทำไม่ยากเลยแต่แค่ต้องใจเย็นในการรอให้จุลินทรีย์ขยายตัว โดยปริมาณการใช้ จะใช้จุลินทรีย์ 200 CC ผสมน้ำ 20 ลิตร (ใช้กะปริมาณได้ไม่ต้องเป๊ะมาก ประมาณจุลินทรีย์ 1 แก้ว ต่อน้ำ 1 กะละมัง) ฉีดพ่นหรือรดน้ำทุกๆ 5-7 วัน ซึ่งใช้ทางการเกษตรในการปลูกต้นไม้ ดังนี้

-ใช้แช่เมล็ดพืช ก่อนปลูก 1-2 ชั่วโมง หรือมากกว่านั้น ช่วยให้รากพืชงอกเร็วและแข็งแรง ลดการติดเชื้อกำจัดเชื้อราหรือแบคทีเรียก่อโรคที่เมล็ดพืช ใช้ตั้งแต่เริ่มต้นปลูกสามารถควบคุมไม่ให้เกิดโรครากเน่าโคนเน่าได้
-ใช้เตรียมดินปลูก ฉีดพ่นลงพื้นดินที่เพาะปลูก จะช่วยปรับสภาพดินให้ร่วนซุย ลดความเป็นกรดในดิน และลดเชื้อโรคในดิน
-ใช้ฉีดพ่น หรือรดต้นไม้ ทุก 7-15 วัน ช่วยทำให้ต้นไม้เจริญเติบโตงอกงามแข็งแรง ผลไม้รสชาติดี หวาน กรอบ อร่อย ช่วยเพิ่มน้ำหนักผลไม้ ช่วยป้องกันโรคและแมลง ช่วยป้องกันการร่วงหล่นทิ้งลูกทิ้งผลก่อนเก็บเกี่ยว

หากอยากผลิตจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงเพื่อจำหน่าย ต้องปฏิบัติตามนี้

การขออนุญาตและการออกใบอนุญาตเกี่ยวกับปุ๋ย

ขั้นตอนการ ขึ้นทะเบียนปุ๋ย (ฉบับสมบูรณ์)
1. เครื่องหมายการค้า (กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์)
– ขึ้นทะเบียนเครื่องหมายการค้าใหม่ (ใช้เวลาประมาณ 1-3 ปี)
– ซื้อต่อเครื่องหมายการค้าจากคนอื่น ที่จดจำพวกสำหรับ “ปุ๋ย” ไว้แล้ว (ใช้เวลาประมาณ 2 สัปดาห์)

บริการขึ้นทะเบียนเครื่องหมายการค้า
2. ขึ้นทะเบียนปุ๋ย (กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) (ใช้เวลาประมาณ 8-12 เดือน)
2.1 เลือกประเภทของปุ๋ย
– ปุ๋ยอินทรีย์
– ปุ๋ยเคมี
– ปุ๋ยเคมี ธาตุรองเสริม
– ปุ๋ยอินทรีย์เคมี
– ปุ๋ยชีวภาพ
2.2 เลือก สูตร / ลักษณะการผลิต ที่ต้องการขึ้นทะเบียน
– ปุ๋ยอินทรีย์ OM20% ปั้นเม็ด ขนาดบรรจุ 25 กก. และ 50 กก.
– ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สูตร 6-3-3 OM10% แบบคอมปาวน์ ขนาดบรรจุ 25 กก. และ 50 กก.
– ปุ๋ยอินทรีย์เคมี สูตร 6-3-3 OM10% แบบผสม ขนาดบรรจุ 25 กก. และ 50 กก.
– ปุ๋ยเคมี ธาตุรองเสริม ชนิดน้ำ Cal 10% ขนาดบรรจุ 100 CC. _ 250 CC. _ 500 CC. และ 1 ลิตร
2.3 เลือก ชื่อทางการค้า
– ตั้งชื่อทางการค้า สำหรับเรียกสินค้าชนิดนั้น ๆ เฉพาะ เช่น ดินน้ำต้นไม้ _ บราโว่ เอ _วะว้าว
– เครื่องหมายการค้า ตรา อินเนอร์โกร ต้องการขึ้นทะเบียนปุ๋ย โดยใช้ชื่อที่ขออนุญาตขึ้นทะเบียนว่า “ปุ๋ยอินทรีย์ ดินน้ำต้นไม้ ตรา อินเนอร์โกร” หรือ “ปุ๋ยอินทรีย์เคมี 6-3-3 OM10% บราโว่ เอ ตรา อินเนอร์โกร” หรือ “ปุ๋ยเคมี วะว้าว ตรา อินเนอร์โกร”
2.4 ส่งตัวอย่างปุ๋ยเพื่อตรวจวิเคราะห์ กับแล็บที่ได้รับรองจากกรมวิชาการเกษตรเท่านั้น
2.5 ยื่นผลวิเคราะห์ปุ๋ย พร้อมกับเอกสารเจ้าของเครื่องหมายการค้า ที่กรมวิชาการเกษตร

3. ขออนุญาติขายปุ๋ย (กรมวิชาการเกษตร / หน่วยราชการใกล้บ้าน ) (ใช้เวลาประมาณ 1-4 สัปดาห์)
– จดทะเบียนการค้า / จดทะเบียนบริษัท / จดห้างหุ้นส่วน

4. สั่งทำบรรจุภัณฑ์ (ใช้เวลาประมาณ 2-4 สัปดาห์)
– ออกแบบ
– ทำบล็อคกระสอบ
– ผลิตกระสอบ
– ผลิตขวด บรรจุภัณฑ์
– ผลิตฉลาก

5. ผลิตปุ๋ยน้ำหมัก (ใช้เวลาประมาณ 7-14 วันทำการ)
– ผลิตปุ๋ย
– หารถขนส่ง

ข้อมูลการทำน้ำหมักจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง จาก okmd.or.th/okmd-kratooktomkit/4064/

ข้อมูลการขึ้นทะเบียน ปุ๋ย (น้ำหมักจุลินทรียื) จาก http://ไปที่..link..

สำหรับผู้ผลิตน้ำหมักจุลินทรีย์สังเคาะห์แสง เพื่อจำหน่าย ที่สนใจตรวจวิเคราะห์น้ำหมักจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง สามารถส่งตัวอย่างเข้าตรวจวิเคราะห์กับ บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด หรือ CENTRAL LAB THAI ได้ที่ลิงค์ นี้ http://ไปที่..link..

สำหรับผู้ผลิตน้ำหมักจุลินทรีย์สังเคาะห์แสง เพื่อจำหน่าย ที่สนใจตรวจฉลากสินค้า สามารถส่งตัวอย่างเข้าตรวจวิเคราะห์กับ บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด หรือ CENTRAL LAB THAI ได้ที่ลิงค์ นี้ http://ไปที่..link..
การปรับปรุงดินลูกรัง ให้ปลูกพืชได้ดีขึ้น
การปรับปรุงดินลูกรัง ให้ปลูกพืชได้ดีขึ้น
ดินลูกรัง หรือดินตื้นมีความอุดมสมบูรณ์ของดินต่ำ มักเป็นกรด มีชั้นหินกรวดลูกรัง เป็นอุปสรรคต่อรากพืช ดินไม่อุ้มน้ำ ทำให้ขาดความชุ่มชื้น การใช้ประโยชน์ในพื้นที่ที่เป็นดินลูกรังเพื่อปลูกพืชสามารถทำได้แต่ต้องขึ้นอยู่กับสภาพสิ่งแวดล้อมและระดับการจัดการ


การใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรจำเป็นต้องมีการใช้เทคโนโลยีหรือมีการจัดการดินและพืชที่เหมาะสมด้วยได้แก่ ชลประทาน การปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน การรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน การใช้ปุ๋ยในรูปที่เหมาะสมและเกิดประโยชน์สูงสุด

สำหรับการพัฒนาดินลูกรังมาใช้ในการเพาะปลูกพืช มีการศึกษาวิจัยวิธีการจัดการดินและการพัฒนาพันธุ์พืชหรือคัดเลือกพันธุ์พืชมาปลูกให้เหมาะสมกับสภาพของดินและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องตลอดมา จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพบว่าการเพิ่มผลผลิตของพืชที่ปลูกในดินลูกรังควรคำนึงถึงด้านการจัดการดินและการพัฒนาพันธุ์พืชหรือคัดเลือกพันธุ์พืช ให้มีความสามารถทนทานต่อสภาพปัญหาของดินลูกรัง เช่น การคัดเลือกพันธุ์พืชที่ขึ้นได้ในดินลูกรังและทนทานต่อความแห้งแล้ง

จะต้องปรับปรุงสภาพของดินให้มีความสามารถในการดูดยึดธาตุอาหารเพิ่มขึ้นซึ่งบางพื้นที่อาจทำโดยการลดความเป็นกรดด้วยการใช้ปูน การเพิ่มอินทรียวัตถุ การเพิ่มความจุในการแลกเปลี่ยนประจุบวกของดิน โดยการผสมหินบะซอลต์บดลงในดิน

การจัดการพืช ก็ควรเลือกชนิดพืชให้เหมาะสมและมีอัตราเสี่ยงต่อการลงทุนน้อยที่สุดสำหรับบางพื้นที่จะใช้พื้นที่ที่มีลักษณะดินเช่นนี้ทำทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ ก็ควรทำในลักษณะทุ่งหญ้าผสมถั่ว สำหรับไม้ยืนต้นและไม้ผลนั้นสามารถปลูกได้โดยขุดหลุมให้กว้างและลึกเป็นพิเศษ เช่น มะม่วง มะม่วงหิมพานต์ มะขาม ขนุน เป็นต้น และในบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยต่อปีมากกว่า 1_600 มิลลิเมตร สามารถปลูกยางพาราได้ การปลูกสร้างสวนป่าอาจเป็นทางเลือกอีกทางหนึ่งที่น่าสนใจ โดยใช้ไม้ที่สามารถเจริญเติบโตได้ในดินปนกรวด ได้แก่ กระถินณรงค์ ยูคาลิปตัส สน ประดู่ และสัก เป็นต้น

ดังที่ สถานีพัฒนาการเกษตรที่สูงตามพระราชดำริ บ้านห้วยแม่เกี๋ยง อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ แม้พื้นที่จะไม่ใช่ดินลูกรังโดยตรง แต่ก็เป็นพื้นที่ที่มีก้อนหินทั้งใหญ่และเล็กปะปนอยู่บริเวณหน้าดินเป็นจำนวนมาก ซึ่งจะยากต่อการใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกพืช

แต่เจ้าหน้าที่ของสถานีไม่ละความพยายามได้มีการศึกษาค้นคว้าเพื่อนำหน้าดินบริเวณนั้นมาใช้ประโยชน์ และประสบความสำเร็จ ปัจจุบันได้เป็นแบบอย่างให้กับราษฎรในพื้นที่ได้เข้ามาเรียนรู้ และนำกลับไปใช้ในพื้นที่ของตนเอง แบบเพาะปลูกพืชผักหมุนเวียนสามารถลดการบุกรุกแผ้วถางป่าลงได้มากอย่างน่าพอใจยิ่ง

ปัจจุบันสถานีแห่งนี้ได้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สำคัญของราษฎรในการนำไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ของตนเองโดยไม่ต้องเข้าป่าบุกรุกป่าสร้างที่ใหม่ ๆ เพื่อปลูกพืชกันอีกต่อไป....

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3555
แคลเซียม ช่วยเพิ่มผลผลิตและ ปรับปรุงดิน ได้อย่างไร
แคลเซียม ช่วยเพิ่มผลผลิตและ ปรับปรุงดิน ได้อย่างไร
สำหรับเกษตรกรมือใหม่ หรือผู้ที่เริ่มต้นปลูกพืชอาจจะไม่ทราบว่า พืชที่จะเจริญเติบโตได้ดี ออกผลผลิตได้มากและมีน้ำหนักดี จำเป็นจะต้องพึ่งพาสิ่งที่เรียกว่า ธาตุอาหารในการเจริญเติบโต ซึ่งธาตุอาหารเหล่านี้หากพืชได้ไม่ครบก็อาจจะแสดงอาการผิดปกติบางประการออกมา หรืออาจจะถึงขั้นไม่สามารถดำรงชีพได้ครบวงจร ไม่สามารถดำรงเผ่าพันธุ์ต่อไปและแน่นอนว่าอาจตายลงในที่สุด

ยกตัวอย่างธาตุอาหารจำเป็นสำหรับพืช เช่น

ไนโตรเจน (N) ช่วยให้พืชมีสีเขียว ส่งเสริมการเจริญเติบโตของใบ และลำต้น ทำให้ลำต้น และใบมีสีเขียวเข้ม ควบคุมการออกดอก และติดผลของพืช อีกทั้งเพิ่มปริมาณโปรตีนให้แก่พืช

ฟอสฟอรัส (P) ส่งเสริมการออกดอกและผล ติดเมล็ด การพัฒนาเมล็ดและผล เร่งการเจริญเติบโตของราก พร้อมช่วยเพิ่มความต้านทานต่อโรคพืช และมีส่วนช่วยในการเร่งการสุกแก่ของผลให้เร็วขึ้น

โพแทสเซียม (K) ช่วยพืชสร้างอาหาร (สังเคราะห์แสง) และมีส่วนช่วยทำให้รากแข็งแรง ทำให้รากดูดน้ำ และธาตุอาหารได้ดีขึ้น ทนทานต่อโรคแมลง อีกทั้งเพิ่มขนาดผลผลิต เมล็ด และช่วยเพิ่มคุณภาพของพืช ผัก และผลไม้ ทำให้พืชมีสีสัน เพิ่มขนาด และเพิ่มความหวาน

ซึ่งธาตุทั้งสามนี้ นับเป็นธาตุอาหารหลักที่พืชต้องการเป็นจำนวนมาก แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะต้องการเพียงแค่นี้ ยังมีธาตุอาหารรองอีกหลายชนิดที่พืชเองก็ต้องการด้วยเช่นเดียวกัน โดยเราจะขอยกตัวอย่างหนึ่งในธาตุอาหารรองที่แสนจะสำคัญสำหรับพืช เพราะมีบทบาทเกี่ยวข้องกับการแบ่งเซลล์ของพืช บริเวณเนื้อเยื่อเจริญทั้งที่ปลายยอด ปลายราก ใบอ่อน การแตกตาอ่อนของกิ่ง ของตาดอก และการเจริญของดอกและผลเป็นสำคัญ นั่นก็คือ ธาตุแคลเซียม นั่นเอง

ทำความรู้จัก “ธาตุแคลเซียมช่วยเพิ่มผลผลิต”

ธาตุแคลเซียม มีความสำคัญในการเป็นธาตุอาหารรองสำหรับพืช โดยจัดเป็นส่วนประกอบของสารที่เชื่อมเซลล์สองเซลล์ให้ติดกัน เรียกว่า แคลเซียมเพคเตต ช่วยคงสภาพโครงสร้างของเซลล์พืชให้ทำงานปกติ ช่วยการดูดซึมธาตุโพแทสเซียม ช่วยลดพิษของธาตุแมกนีเซียม ทำให้พืชดูดซึมธาตุแมกนีเซียมมากขึ้น และนำธาตุแมกนีเซียมไปสร้างคลอโรฟิลล์ แคลเซียมจึงเป็นธาตุอาหารที่มีความสำคัญในด้านที่ช่วยให้พืชสามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติ

หน้าที่สำคัญของธาตุแคลเซียมในพืช

มีหน้าที่โดยตรงเกี่ยวกับโครงสร้างของผลไม้ คือ ช่วยเสริมสร้างเซลล์ และการแบ่งเซลล์ของพืช ซึ่งพืชต้องการอย่างต่อเนื่อง

ช่วยในการสร้างเซลล์และโครงสร้างของเซลล์ของพืช ช่วยให้เซลล์ติดต่อกัน และจะช่วยเชื่อมผนังเซลล์ให้เป็นรูปร่าง และขนาดให้เป็นไปตามลักษณะของพืชแต่ละชนิด ทำให้พืชแข็งแรง

ช่วยเพิ่มการติดผล

ช่วยให้สีเนื้อและสีผิวของผลสดใส

ช่วยลดการเกิดเนื้อของผลแข็งกระด้าง และเนื้อแฉะ

ช่วยป้องกันผลร่วง ผลแตก

มีบทบาทที่สำคัญในระยะการเจริญเติบโตและการออกดอกของพืช

มีบทบาทเกี่ยวข้องกับการย่อยธาตุไนโตรเจน และช่วยให้พืชดูดไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เป็นตัวช่วยลดการหายในของพืช ทำให้พืชเหี่ยวช้า

เป็นตัวช่วยเคลื่อนย้ายน้ำตาลจากใบไปสู่ผล ทำให้ผักผลไม้มีรสชาติดี

ควบคุมการดูดน้ำเข้าไปในเซลล์พืช และป้องกันผลแตก

ทนทานต่อการเข้าทำลายของโรคและแมลง ไม่เน่าง่าย

วิธีการเติมแคลเซียมเพิ่มผลผลิตให้กับพืช

ปกติแล้วแคลเซียมนั้นเป็นธาตุที่ไม่เคลื่อนย้ายในพืช ดังนั้น การเพิ่มปริมาณแคลเซียมในดินเพื่อเพิ่มปริมาณแคลเซียมในผลไม้มักไม่ค่อยได้ผลดี การให้แคลเซียมที่ใบหรือผลโดยตรงดูจะเป็นวิธีการเพิ่มปริมาณแคลเซียมในผลที่ได้ผลที่สุด ซึ่งวิธีการเติมแคลเซียมเพิ่มผลผลิตให้กับพืชจะให้แคลเซียมช่วงก่อนการเก็บเกี่ยวโดยการฉีดพ่นที่ผลบนต้น โดยสามารถใช้ผสมรวมไปกับสารเคมีฆ่าแมลงและฉีดพ่นต้นตามปกติได้เลย หรือการให้แคลเซียมกับผลหลังการเก็บเกี่ยวโดยการจุ่มผล หรือแช่ผลในระบบสุญญากาศหรือให้ความดันพาสารละลายแคลเซียมเข้าไปในผล

แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ควรคำนึงถึงปริมาณของแคลเซียมที่เหมาะสมเอาไว้ด้วย เพราะเกลือแคลเซียมบางชนิดอาจละลายน้ำได้ไม่ดี ถ้าหากความเข้มข้นของแคลเซียมไม่เหมาะสมอาจทำให้มีปริมาณแคลเซียมในผลไม่มากพอ หรือในทางตรงกันข้ามหากผลไม้ได้รับแคลเซียมมากเกินไปอาจทำให้ผลไม้เกิดความผิดปกติได้ ดังนั้น จึงควรนำแคลเซียมมาใส่ในน้ำส้มสายชูกลั่น (5%) 2 มิลลิลิตร ต่อสารละลาย 5 ลิตร เพื่อช่วยในการละลาย นอกจากนี้เกลือแคลเซียมในรูปต่างๆ อาจไม่สามารถใช้ทดแทนกันได้ และบางชนิดอาจก่อให้เกิดอาการผิดปกติกับผลไม้ได้ จึงควรระมัดระวังในการใช้งาน

สรุป

จะเห็นได้ว่า พืชที่ได้รับแคลเซียมเพียงพอ โดยเฉพาะในส่วนของผลผลิต จะทำให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ มีอายุการเก็บรักษาได้นาน เป็นที่ต้องการของตลาด ในส่วนของการเพิ่มแคลเซียมให้พืชอย่างมีประสิทธิภาพนั้น นอกจากคำนึงถึงสภาพแวดล้อมดิน ที่มีความสมดุลของธาตุที่เมื่อเสริมธาตุแล้วจะทำให้พืชดูดซึมได้ดีแล้ว ควรคำนึงถึงวิธีการให้ธาตุอาหารด้วยการฉีดพ่นทางใบ หรือผลที่ทำให้พืชดูดซึมธาตุอาหารไปใช้ได้อย่างทันท่วงทีร่วมด้วย

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3408
ปลูกพืชในดินลูกรัง การจัดการ ดินลูกรัง ที่ถูกวิธี ช่วยเพิ่มผลผลิตพืชได้
ปลูกพืชในดินลูกรัง การจัดการ ดินลูกรัง ที่ถูกวิธี ช่วยเพิ่มผลผลิตพืชได้
ดินลูกรัง (Skeletal soils) หมายถึง ดินที่พบชั้นลูกรัง ชั้นกรวด ชั้นเศษหิน หรือชั้นหินพื้นในระดับตื้นกว่า 50 เซนติเมตร จากผิวดิน เนื้อดินบนเป็นดินทรายปนดินร่วนถึงดินร่วนปนทราย อาจพบกรวด หินมนเล็ก หรือเศษหินปะปน จึงทำให้เป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตของพืช

การจัดการดินลูกรังเพื่อเพิ่มผลผลิต

ดินลูกรัง (Skeletal soils)หมายถึง ดินที่พบชั้นลูกรัง ชั้นกรวด ชั้นเศษหิน หรือชั้นหินพื้นในระดับตื้นกว่า 50 เซนติเมตร จากผิวดิน เนื้อดินบนเป็นดินทรายปนดินร่วนถึงดินร่วนปนทราย อาจพบกรวด หินมนเล็ก หรือเศษหินปะปน จึงทำให้เป็นอุปสรรคต่อการเจริญเติบโตของพืช ดินลูกรังเป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ จากผลการสำรวจพบว่า ประเทศไทยมีดินลูกรังประมาณ 52 ล้านไร่ หรือร้อยละ 16.3 ของพื้นที่ทั้งประเทศ พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตรของดินลูกรัง

พื้นที่ที่พบดินลูกรังมีอยู่เกือบทุกภาคของประเทศ ยกเว้นในเขตฝนตกชุกทางภาคใต้ ปัญหาการใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการเกษตรที่สำคัญ คือเป็นดินตื้นที่มีกรวดหินมนเล็กหรือเศษหินปะปนกันอยู่มาก ทำให้ดินมีปริมาณเนื้อดินน้อยลง มีความสามารถในการอุ้มน้ำต่ำ นอกจากนี้ลักษณะของดินเป็นอุปสรรคต่อการไถพรวนหน้าดินถูกชะล้างพังทลายได้ง่าย ดินมีความสมบรูณ์ต่ำ และการจัดระบบชลประทานมีความเป็นไปได้น้อย เนื่องจากสภาพพื้นที่ไม่อำนวย

ดินลูกรัง เป็นดินที่มีศักยภาพในการเกษตรต่ำ เนื่องจากดินชั้นล่างแน่นทึบเป็นอุปสรรคต่อการชอนไชของรากพืช ทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต นอกจากนี้ดินที่มีกรวดปนมักเป็นดินที่ขาดความชุ่มชื้นได้ง่าย และปัญหาอีกอย่างหนึ่งคือ มีข้อจำกัดในการเลือกชนิดของพืชปลูก โดยเฉพาะไม้ยืนต้นและไม้ผลจำเป็นต้องจัดการเป็นพิเศษ ในการเตรียมหลุมปลูก การปลูกพืชติดต่อกันในดินนี้จะทำให้ปริมาณธาตุอาหารในดินลดลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากหน้าดินมักเกิดการกร่อนได้ง่าย ปัจจุบันดินนี้ยังใช้ประโยชน์ในด้านการเพาะปลูกไม่มากนัก ส่วนใหญ่ยังปกคลุมด้วยป่าไม้จำพวกป่าแดงโปร่ง

แนวทางแก้ไขและการใช้ประโยชน์ดินลูกรัง

ดินลูกรังเป็นดินที่มีข้อจำกัดต่าง ๆ มาก การแก้ไขปัญหาเพื่อใช้ประโยชน์จากดินนี้อาจทำได้หลายแนวทาง คือ

1. การทำทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ เหมาะกับดินลูกรังที่พบในที่ดอนและมีหน้าดินหนาเกิน 15 ซม. ขึ้นไป

2. การปลูกพืชไร่ ดินลูกรังที่มีหน้าดินหนา ประมาณ 20 ซม. มีการระบายน้ำดีปานกลาง ไม่มีน้ำท่วมขังในฤดูฝน สามารถปลูกพืชไร่ได้หลายชนิด เช่น ข้าว ฟ่าง ถั่วลิสง ถั่วเขียว ถั่วเหลือง และพืชรากตื้นอื่น ๆ แต่ควรมีการบำรุงรักษาความอุดมสมบรูณ์ของดินโดยการใส่ปุ๋ย และรักษาความชื้นของดินโดยใช้วัสดุคลุมดิน

3. การปลูกไม้ผลและไม้โตเร็ว ดินลูกรังจะไม่จับกันเป็นชั้นแน่นมากนักสามารถปลูกไม้ผลและไม้โตเร็ว เช่น มะม่วง มะม่วงหิมพานต์ มะขาม ยูคาลิปตัส กระถินต่างๆ สะเดา ขี้เหล็กบ้าน น้อยหน่า พุทรา และไผ่ ส่วนยางพาราสามารถปลูกได้ในบริเวณที่มีปริมาณฝนมากกว่า 1_400 มม. /ปี

4. การทำนา ดินลูกรังที่พบในที่ราบหรือที่ราบต่ำที่มีหน้าดินลึกประมาณ 15 ซม. และมีการระบายน้ำเลวในช่วงฤดูฝนมีน้ำขังแฉะเป็นเวลานาน ควรใช้ปลูกข้าวและมีการใส่ปุ๋ยซึ่งจะช่วยให้ข้าวมีผลผลิตคุ้มค่ากับการลงทุน

อย่างไรก็ตาม ดินลูกรังที่มีหน้าดินตื้น ไม่ควรใช้ในการเพาะปลูกพืชที่ต้องมีการไถพรวนดิน เช่น มันสำปะหลัง ข้าวโพด หากไม่จำเป็นจึงไม่ควรนำมาใช้ในการเพาะปลูกแต่ควรปล่อยให้เป็นพื้นที่ป่าไม้ตลอดไป

การปรับปรุงดินลูกรังให้เหมาะสมต่อการปลูกพืช

ในการปรับปรุงบำรุงดินลูกรังเพื่อปลูกพืชเพื่อเพิ่มผลผลิต โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุสามารถทำได้โดย

1. การไถกลบฟางข้าว และรดด้วยปุ๋ยอินทรีย์น้ำอัตรา 5 ลิตร/ไร่ หมักทิ้งไว้ช่วยให้ฟางย่อยสลายเร็วขึ้นเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน

2. ใส่ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอก อัตรา 2 - 4 ตัน/ไร่ คลุกเคล้ากับดินในแปลงปลูกพืช หรือในบริเวณหลุมปลูกไม้ผล ในอัตราเฉลี่ย 25 - 50 กิโลกรัมต่อหลุม

3. ปลูกพืชปุ๋ยสด เช่น ปอเทือง ถั่วพุ่ม ถั่วพร้า แล้วไถกลบลงดิน ในช่วงออกดอก (อายุประมาณ 50 - 60 วัน หลังปลูก) ก่อนปลูกพืชหลักทุกชนิดเพิ่มอินทรีย์วัตถุ ทำให้ดินร่วนซุย การถ่ายเทอากาศดีการระบายน้ำดีดินมีความอุดมสมบรูณ์เพิ่มขึ้น

ข้อมูลจาก http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3733
ปุ๋ยสำหรับอ้อย ทดแทนปุ๋ยเม็ด คุณภาพสูง ยารักษาโรคอ้อย อ้อยใบไหม้ หนอนกออ้อย แก้เพลี้ย เลือกซื้อกับ ฟาร์มเกษตร
ปุ๋ยสำหรับอ้อย ทดแทนปุ๋ยเม็ด คุณภาพสูง ยารักษาโรคอ้อย อ้อยใบไหม้ หนอนกออ้อย แก้เพลี้ย เลือกซื้อกับ ฟาร์มเกษตร
เลือกซื้อ ปุ๋ย ยาฯ คุณภาพสูง สำหรับใช้ในไร่อ้อย ครบทุกช่วงอายุ ตั้งแต่แรกปลูก ตลอดไปจนก่อนเก็บเกี่ยวผลผลิต

ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ คุณภาพสูง ทดแทนปุ๋ยเม็ด เร่งโต แตกกอ อ้อยย่างปล้อง โตไว เขียว สมบูรณ์ แข็งแรง ใช้ FK-1

ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบ เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มผลผลิต เพิ่มค่าความหวาน หรือค่า CCS อ้อยลำใหญ่ โต น้ำหนักดี ผลผลิตสูงขึ้น ด้วย FK-3S

ป้องกันกำจัดโรคอ้อย ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ อ้อยใบไหม้ โรคใบจุดอ้อย ใบขีดสีน้ำตาล โรคเน่า ใช้ ไอเอส

เพลี้ย แมลงศัตรูอ้อย จำพวกปากดูด ใช้ มาคา

หนอนกออ้อย ใช้ ไอกี้

เลือกซื้อได้หลายช่องทาง ตามที่ลูกค้าสะดวก

ติดต่อ สอบถาม สั่งซื้อได้ที่

เบอร์โทร 090-592-8614

หรือซื้อกับ

เจดี เซ็นทรัล http://www.farmkaset..link..

ลาซาด้า http://www.farmkaset..link..

ช้อปปี้ http://www.farmkaset..link..

ไลน์แอด @FarmKaset
อ่าน:3464
907 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 90 หน้า, หน้าที่ 91 มี 7 รายการ
|-Page 79 of 91-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 | 91 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
กำจัดแมลงศัตรูพืชมันสำปะหลัง ยาฆ่าเพลี้ยหอยขาว ในมันสำปะหลัง และพืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/25 08:46:48 - Views: 3405
โรคเชื้อราใน เมล่อน แคนตาลูป ยาแก้แคนตาลูปใบไหม้ ยารักษาโรคใบจุดแคนตาลูป โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส + FKธรรมชาตินิยม
Update: 2564/09/23 21:03:41 - Views: 3589
ตรวจดิน ตรวจ วิเคราะห์ ธาตุอาหารพืช ที่มีในดิน 27 ค่าธาตุอาหาร สะดวกรวดเร็วกับ iLab.work
Update: 2565/07/20 21:47:34 - Views: 3399
เคล็ดลับการใช้ปุ๋ยฉีดพ่นทางใบในการเร่งโตของสับปะรด
Update: 2566/11/11 13:35:50 - Views: 3415
โรครากเน่าโคนเน่าในทุเรียน ใบที่ยอดกิ่งมีสีซีด ไม่มันเงา เพราะรากเน่า แก้ด้วยไอเอส
Update: 2562/09/11 14:11:13 - Views: 3795
ดอกดาวเรือง ดอกเน่า ใบจุด ใบไหม้ รากเน่า เหี่ยวเฉา ราสนิม โรคราต่างๆป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นด้วย ปุ๋ย FKT
Update: 2567/03/25 11:09:54 - Views: 3635
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราสนิม ใน ถั่วเหลือง ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/16 13:14:51 - Views: 3466
คาดการณ์ราคารับซื้อมะพร้าวในประเทศไทย ปี 2568
Update: 2567/11/28 06:42:10 - Views: 18
มะละกอผลเน่า มะละกอใบไหม้ ราขาวมะละกอ ราดำมะละกอ ควบคุม ป้องกันกำจัด ก่อนโรคจะสร้างความเสียหาย
Update: 2566/11/04 19:44:55 - Views: 10019
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคยอดเน่า ใน อินทผาลัม ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/19 13:36:44 - Views: 3480
ต้นหอม กระเทียมใบเน่า โรคใบจุดสีม่วง ในต้นหอม กระเทียม ราสนิม ในต้นหอม กระเทียม สร้างความเสียหายได้มาก จัดการได้อย่างไร??
Update: 2566/11/03 09:53:38 - Views: 3440
การรับมือกับศัตรูไม่ต้องการ: การควบคุมหนอนในต้นทับทิม
Update: 2566/11/16 13:56:02 - Views: 3499
ยากำจัดโรคราดำ ใน พุทรา โรคที่เกิดจากเชื้อรา ฉีดพ่นไอเอสใช้ได้กับพืชทุกชนิด (ขนาด 3 ลิตร ใช้ได้15 ไร่)
Update: 2566/06/09 15:49:42 - Views: 3472
โรคเชื้อราในโกโก้: คู่มือเบื้องต้นการป้องกันและรักษาโรคโกโก้
Update: 2566/05/02 07:35:13 - Views: 3661
การจัดการและป้องกันโรคเชื้อราในต้นโกโก้: วิธีการแก้ไขและแนวทางป้องกัน
Update: 2566/11/20 09:19:55 - Views: 3513
การต่อสู้กับโรคกิ่งไม้แห้งในต้นโกโก้
Update: 2566/05/15 10:00:47 - Views: 3520
โกโก้ กิ่งแห้ง ผลเน่าดำ กำจัด เชื้อราในพืชทุกชนิด เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T
Update: 2566/05/12 11:52:05 - Views: 3499
โรคโกโก้ โกโก้ใบเหลือง โกโก้ใบไหม้ แอนแทรคโนสโกโก้ โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ
Update: 2564/08/28 21:47:30 - Views: 3698
รถขุดร่องสวน Bobcat และ รถขุด Sumitomo จาก บริษัทลีดเวย์ เฮฟวี่ แมชชีนเนอร์รี่ จํากัด ผู้จัดจำหน่ายอย่างเป็นทางการ
Update: 2564/09/01 03:43:17 - Views: 3462
มะกรูด ใบเหลือง ใบหงิก ใบไหม้ ราดำ กำจัดโรค เชื้อราต่างๆในมะกรูด ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวน ปุ๋ย
Update: 2565/11/04 11:34:52 - Views: 3484
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022