[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - FK-1
898 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 89 หน้า, หน้าที่ 90 มี 8 รายการ

การปลูกบวบ
การปลูกบวบ
ในช่วงภาวะอากาศเปลี่ยนแปลง ควรต้องระวังสุขภาพกันสักหน่อย เพราะทั้งหวัด ทั้งไข้ และไหนจะโรคภูมิแพ้หรือหอบหืดอีก อุบัติเหตุจากยวดยานก็เยอะ ก็คงต้องระมัดระวังกันนะค่ะ ทำร่างกายให้อบอุ่นไว้ หากไม่สบายแล้วจะเสียทั้งเวลาและเสียงานหมด

หากท่านรู้สึกอึดอัด คัดจมูก หรือเป็นหวัด ก็ลองใช้ยาแก้หวัดแบบโบราณดู อาจได้ผลดีก็ได้ แถมไม่มีผลข้างเคียงแต่อย่างใด

วิธีไล่หวัดแบบโบราณ

ผู้เฒ่าผู้แก่ ท่านบอกว่า เอาหัวหอมหรือหอมแดง มาปอกสัก 4-5 หัว ทุบให้พอแตก แล้วเอาน้ำตั้งไฟให้เดือด จากนั้นเอาหัวหอมใส่แล้วยกลง ให้เอาผ้าขาวม้าหรือผ้าขนหนูเช็ดตัวก็ได้ คลุมหัวแล้วก้มหน้าไปที่หัวหอมที่เราทำไว้ทันที ระวังอย่าเอาหน้าไปใกล้มาก เพราะไอน้ำที่ยังร้อนอยู่จะลวกหน้าเอา สูดเอากลิ่นหัวหอมเข้าช้าๆ ลึกๆ เรื่อยๆ จนหมดกลิ่น หรือจนน้ำนั้นเย็น จะทำให้ท่านโล่งจมูก

อาหารโบราณอีกอย่างหนึ่งตอนหน้าฝนที่ทำง่ายๆ และอร่อยด้วย และรับรองว่าหาคนเคยกินยาก จะเป็นขนมหวานก็ไม่เชิง กินกับข้าวก็อร่อย กินเปล่าๆ ก็อร่อย ซึ่งมันก็คือ บวบต้มน้ำตาลนั่นเอง!! ทุกท่านเคยได้ยินกันบ้างหรือป่าว!! และส่วนใหญ่จะบอกว่าไม่รู้จักเลย… สำหรับวิธีการทำก็ไม่ได้ยากอะไร

เริ่มแรก โดยการนำเอาบวบเหลี่ยมหรือบวบหอมก็ได้ มาปอกเปลือกออกแล้วล้างสักหน่อย จากนั้นให้ฝานเป็นชิ้นๆ พอคำ อย่าให้ใหญ่มาก (หั่นเหมือนกับจะผัดนั่นแหล่ะค่ะ) เอาน้ำใส่หม้อตั้งไฟให้เดือด (ใช้หม้อเล็กๆ ก็พอ อย่าทำทีละมากๆ เพราะต้องกินร้อนๆ จึงจะอร่อย)

เมื่อน้ำเดือดพล่านแล้ว ให้เอาน้ำตาลมะพร้าวหรือน้ำตาลปี๊บ ปริมาณของน้ำตาลก็ให้กะเอาขนาดเท่าหัวแม่มือเรา

หากน้ำในหม้อมีอยู่ประมาณสักสองชามแกง ใช้น้ำตาลเท่าหัวแม่มือโตๆ จะอร่อยดี เอาน้ำตาลใส่ลงในน้ำเดือด พอน้ำตาลละลายหมดก็เอาบวบใส่ลงไปพอประมาณ รอจนบวบสุก แต่อย่าให้เปื่อย กะว่าพอใส่บวบลงไปสักพัก แล้วน้ำเดือดอีกครั้งก็ยกลง

ทีนี้ก็ตักใส่ถ้วยนั่งซดกันร้อนๆ อร่อย และยังไล่หวัด แถมให้ความอบอุ่นได้ดีอีกด้วย ได้ประโยชน์ทางยาด้วย

เพราะบวบนั้น มีฤทธิ์เป็นยาเย็น ช่วยเจริญอาหาร เป็นกากใยอีกด้วย ใช้กินคู่กับอาหารรสเผ็ดๆ ก็ดี เช่น กินน้ำพริกผักจิ้ม แล้วซดบวบต้มน้ำตาลร้อนๆ ตามไป รับรองอร่อยเหาะเลยค่ะ

มาปลูกไว้กินเองค่ะ

บวบ เป็นผักพื้นบ้านที่มีความหลากหลายทางสายพันธุ์ และก็เป็นผักพื้นบ้านที่น่าปลูกมากอีกอย่างหนึ่ง บวบเป็นผักที่มีแคลเซียม เหล็ก และฟอสฟอรัสมาก รวมทั้งกาก (fiber) ซึ่งมีประโยชน์ต่อสุขภาพหลายประการ อีกทั้งการปลูกก็ง่าย และเลือกสายพันธุ์ปลูกได้หลายสายพันธุ์อีกด้วยนะคะ

วิธีการปลูกบวบ ไม่ว่าท่านจะเลือกปลูกบวบหอม หรือบวบเหลี่ยม นั้น มีขั้นตอนการปลูกที่คล้ายๆ กัน และบวบทั้งสองชนิดนี้เป็นพืชที่ต้องใช้ค้างช่วย เพราะบวบเป็นไม้เถา การปลูกบวบนอกจากต้องเตรียมดินแล้ว ท่านยังต้องเตรียมไม้ไผ่ไว้ทำค้างให้บวบเลื้อยพันอีกด้วย ซึ่งก็หาซื้อได้แถวๆ ที่เขาขายต้นไม้ ดินปลูก ปุ๋ย หรืออุปกรณ์ปลูกต้นไม้นั่นแหล่ะ!!

เริ่มแรก ต้องเตรียมดินกันก่อน โดยพรวนดินให้ร่วนซุย แล้วผสมปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักสักหน่อย จากนั้นก็ยกร่อง ตากดินไว้สัก 1 สัปดาห์ จากนั้นก็ขุดหลุมให้ลึกสักฝ่ามือ แล้วเอาเมล็ดพันธุ์บวบหยอดลงไป 3-5 เมล็ด กลบด้วยดินร่วนที่ผสมปุ๋ยไว้แล้ว รดน้ำให้ชุ่ม คลุมหลุมด้วยหญ้าหรือฟางพอประมาณ รดน้ำให้ชุ่มสม่ำเสมอทุกวัน เช้า-เย็นยิ่งดี จะทำให้งอกเร็วขึ้น

เมื่อต้นกล้าบวบงอกขึ้นมามีใบจริงสัก 2 ใบ ให้ถอนต้นกล้าหรือต้นอ่อนที่ไม่แข็งแรงทิ้งไป ให้เหลือเพียงหลุมละ 2 ต้น ก็พอ จะได้โตดี เมื่อบวบเริ่มเลื้อยก็ให้ทำค้างให้บวบเลื้อยขึ้นพัน

ส่วนท่านที่ใช้กระถางปลูกบวบ ก็ให้เอาดินถุงที่ซื้อมา ผสมกับใบไม้แห้งและปุ๋ย เคล้าให้เข้ากัน แล้วแหวกให้เป็นหลุม เอาเมล็ดบวบหยอดลงไปสัก 3-4 เมล็ด แล้วกลบดิน คลุมด้วยฟางหรือหญ้า รดน้ำให้ชุ่ม ตั้งไว้ในที่ที่โดนแดดตอนเช้า ไม่นานต้นกล้าบวบก็จะงอกขึ้นมา

พอมีใบจริงสัก 2 ใบ ก็ถอนต้นที่ไม่แข็งแรงออกไป และรดน้ำไปเรื่อยๆ พอต้นเริ่มทอดยอดจะเลื้อย ก็เอาไม้ไผ่มาปักคร่อมเป็นสามเส้าทำเป็นค้างให้บวบเลื้อยพันได้

การปลูกบวบต้องหมั่นรดน้ำให้สม่ำเสมอ เพราะบวบเป็นพืชที่ชอบน้ำ ไม่นานก็จะมีลูกบวบที่ออกลูกห้อยระย้า ทีนี้ก็เก็บไปผัด ไปแกง หรือไปทำเมนูอื่นๆ ตามใจท่านแหละกันค่ะ

ชนิดของบวบไทย
พืชผักที่คนไทยเรียกกันว่า บวบ นั้น มีหลายชนิด แต่อยู่ในวงศ์เดียวกัน คือ cucurbitaceac และเป็นไม้เถา ดอกสีเหลืองเช่นเดียวกัน เช่น

1. บวมเหลี่ยม นิยมปลูกทั่วไปในทุกภาคของประเทศไทย ส่วนชื่อเรียกก็ตามแต่ละภูมิภาคท้องถิ่นนั้นๆ

2. บวมหอม หรือ บวมกลมนิยมปลูกในภาคเหนือและอีสานมากกว่าภาคอื่นๆ

3. บวมขมเป็นบวบชนิดเดียวกับบวบหอม แต่บวบผลเล็ก สั้น และมีรสขมมาก มักขึ้นเองในป่า หรือตามที่รกร้างว่างเปล่า ไม่ใช่กินเป็นผัก แต่ใช้เป็นยาหรือประโยชน์ด้านอื่น

4. บวบงูมีลักษณะกลม ยาว ปลายแหลมและบิด สีผลเขียวลายขาว มีถิ่นกำเนิดในแถบเอเชียอาคเนย์และจีน นิยมปลูกทั่วไปโดยเฉพาะภาคอีสาน ภาคเหนือ

5. บวบหอม และบวมงู ใช้ปรุงอาหารได้คล้ายคลึงกับบวบเหลี่ยม เพียงแต่มีกลิ่น รส แตกต่าง ออกไปบ้าง ขึ้นอยู่กับผู้กินว่าจะชอบชนิดใดมากกว่ากัน

มากด้วยคุณค่า และสารพัดประโยชน์
บวบมีหลายชนิดและใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง แต่คนไทยรู้จักบวบในฐานะเป็นผักอย่างหนึ่งมากที่สุด บวบเหลี่ยมนับเป็นผักที่รู้จักแพร่หลาย หาซื้อได้ในตลาดทั่วประเทศไทย และมีให้กินได้ตลอดปี

ผลอ่อนของบวบเหลี่ยมใช้ประกอบอาหารได้หลายประเภท เช่น ใช้เป็นผักจิ้มกับเครื่องจิ้มต่างๆ เช่น น้ำพริกปลาร้า กะปิ ปลาเจ่า และอื่นๆ ได้อีกหลายเมนู (คนใต้มักจะนำเอาผลอ่อนของบวบเหลี่ยมมาจิ้มกินกับน้ำพริก หรือเหนาะแกงใต้รสเผ็ดๆ)

สำหรับคนทางภาคอีสานบางท้องถิ่น เขามักจะใช้ยอดอ่อนของบวบเป็นผัก เช่น นำไปนึ่ง ลวก แล้วเอามาจิ้มกับน้ำพริกปลาร้า หรือใส่ในแกงอ่อม แกงเหน่อไม้ใบย่านาง และอื่นๆ ได้อีกหลายเมนู ต้องขอบอกว่าแซบดีอยู่เด้อค่า

นอกจากใช้เป็นผักแล้ว บวบยังมีประโยชน์ต่อมนุษย์อีกหลายประการ เช่น เมื่อผลบวบแก่จนแห้งแล้วจะมีเส้นใยที่เหนียว โปร่ง และยืดหยุ่นได้ดี นำมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น ใช้ถูตัวแทนฟองน้ำ ซึ่งปัจจุบันนิยมใช้กันมาก (งานโอท็อปมีเยอะมากค่ะ)

สมัยเด็กๆ ผู้เขียนยังพอจำความได้ว่า แม่จะนำใยบวบแก่มาตากแดดให้แห้ง จากนั้นนำมาตัดเป็นแผ่นๆ แล้วให้เอามาขัดถูล้างถ้วย ชาม แทนฝอยขัดชนิดต่างๆ และก็ใช้ได้ดีอีกด้วยค่ะ ซึ่งพอเลิกใช้แล้วก็เอาไปใส่ต้นไม้ ปล่อยให้มันย่อยสลายเส้นใยไปตามธรรมชาติเอง

ในสมัยปัจจุบัน ยังมีการนำมาใช้ตกแต่งเป็นดอกไม้ประดิษฐ์รูปแบบต่างๆ ได้อีกด้วย รวมทั้งใช้รองป้านชา และยัดในรองเท้า เพื่อรักษารูปทรงได้

ประโยชน์หลักอีกด้านหนึ่งของบวบที่ทุกท่านรับรู้ก็คือ ด้านสมุนไพร เช่น ในประเทศจีนเขาจะนำผลบวบแก่มาเผาให้เป็นเถ้า (นิยมใช้บวบหอม) แล้วนำมาใช้เป็นยาถ่ายพยาธิและยาขับลม น้ำคั้นจากผลสดใช้เป็นยาระบาย เมล็ดแก่ ใช้ทำให้อาเจียนและเป็นยาถ่าย และน้ำมันที่บีบจากเมล็ดยังใช้ทาแก้โรคผิวหนังได้อีกด้วย

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัดโรคราต่างๆในบวบ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
มะระขี้นก
มะระขี้นก
มีข้อมูลว่ามะระขี้นกเป็นสมุนไพรที่ใช้กันมานานนับพันปี ในเอเชีย อาฟริกา และละตินอเมริกา ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าวรวมกับข้อมูลการค้นคว้าถิ่นกำเนิดของมะระขี้นกที่ได้มีการค้นคว้ากันมากในอดีตพอจะสรุปได้ว่า ถิ่นกำเนิดของมะระขี้นกนั้นอยู่ในเขตร้อนของเอเชียและทางตอนเหนือของแอฟริกาเขตร้อน ซึ่งอาจรวมไปถึงเขตร้อนในอเมริกาใต้หรือแถบประเทศลาตินอเมริกาอีกด้วย เพราะในปัจจุบันนั้นมะระขี้นกสามารถเพาะปลูกหรือมีให้เห็นได้ในประเทศเขตร้อนชื้น เช่น ประเทศในแถบอเมริกาใต้ เช่น บราซิล _ อาร์เจนตินา _ ปารกวัย ฯลฯ แอฟริกาตะวันออก เช่น เคนยา _ แทนซาเนีย _ อูกานดา ฯลฯ และเอเชีย เช่น พม่า _ ไทย _ ลาว _ กัมพูชา เป็นต้น

ชื่ออื่น ๆ / ชื่อท้องถิ่น มะไห่ _ มะห่อย _ ผักไห่ _ ผักไซ (ภาคเหนือ) _ มะระหนู _ มะร้อยรู (ภาคกลาง) _ ผักสะไล _ ผักไส่ (ภาคอีสาน) _ ระ (ภาคใต้) _ ผักไห (นครศรีธรรมราช) _ ผักเหย (สงขลา) _ สุพะซู _ สุพะซู _ สุพะเด (กะเหรี่ยง - มะฮ่องสอน) _ โกควยเกี๋ย _ โคงกวย (จีน)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Momordica charantin Linn
ชื่อสามัญ Bitter cucumber_ Balsam pear_ Balsam apple_ Bitter melon_ Bitter gourd_ Carilla fruit
วงศ์ Cucurbitaceae

ประโยชน์สรรพคุณของมะระขี้นก
แก้ท่อน้ำดีอักเสบ
ช่วยทำให้เจริญอาหาร
ช่วยแก้ไข แก้ตัวร้อน ดับพิษร้อน แก้ปากเปื่อย เป็นขุม
แก้พิษฝี
บำรุงน้ำดี แก้ตับม้ามพิการ
แก้อักเสบฟกบวม แก้ปวดเนื่องจากลมคั่งในข้อ
แก้หอบหืด
ช่วยบำรุงร่างกาย บำรุงโลหิตระดู
แก้ตับม้ามอักเสบ
ช่วยขับพยาธิ
แก้เจ็บปวดจากพิษต่างๆ
เป็นยาระบายอ่อนๆ
แก้เบาหวาน
แก้ไข้หวัด
ช่วยต้านไวรัสเอดส์ ต้านมะเร็ง
ใบช่วยสมานแผล
ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด และเป็นยาระบาย
ช่วยป้องกันและรักษาโรคมาลาเรีย
รักษาอาการอาการกรดไหลย้อนหรือแผลในกระเพาะอาหาร
ลดการสร้างน้ำตาลจากตับ เสริมการเผาผลาญน้ำตาล


มะระขี้นกสามารถนำมารับประทาน หรือนำมาประกอบเป็นอาหารได้ เช่น ใบอ่อน ยอดอ่อน และผลอ่อน นึ่งหรือลวกให้สุก รับประทานเป็นผักจิ้มน้ำพริกปลาร้า น้ำพริกปลาทู น้ำพริกตาแดง และยังสามารถใช้เป็นส่วนผสมของแกงแค และคั่วแคได้มะระขี้นกมีรสขมมากกว่ามะระจีน จึงนิยมกินในหมู่ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ผลอ่อนนำไปต้มหรือเผากินได้ทั้งลูก ผลแก่ต้องนำมาผ่ากลาง คว้านเมล็ดออกเสียก่อน การลดความขมของมะระขี้นกนั้นทำได้โดยต้มน้ำให้เดือดจัด ใส่เกลือสักหยิบมือ ลวกมะระในน้ำเดือดสักครู่ แต่มะระจะยังคงมีผลสีเขียวสด การปรุงแกงจืดมะระขี้นกยัดไส้หมูสับ ต้องต้มนานหน่อยให้ความขมจางลง หรือปรุงอาหารเผ็ด เช่น พะแนงมะระขี้นกยัดไส้ หรือเป็นแกงเผ็ดก็ได้ ถ้าจะนำไปปรุงอาหารผัด เช่น ผัดกับไข่ ให้ต้มน้ำแล้วเททิ้งหนึ่งครั้ง หรือคั้นกับน้ำเกลือแล้วล้างออกเพื่อลดความขมก็ได้ อีกทั้งสมัยโบราณมีการนำมะระขี้นกมาปรุงเป็นกับข้าวต้มเค็มกินด้วย

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ไอเอส สารอินทรีย์ ฉีดพ่นเพื่อป้องกันกำจัด โรคมะระขี้นก ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น มะระขี้นกใบไหม้ โรคราแป้งมะระขี้นก โรคราน้ำค้างมะระขี้นก

FK-1 ฉีดพ่นมะระขี้นก เพื่อ บำรุง เร่งการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิต เสริมสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคและแมลง
โรคซูกินี่ (Zucchini) ราแป้งซูกินี่ ราน้ำค้างซูกินี่ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
โรคซูกินี่ (Zucchini) ราแป้งซูกินี่ ราน้ำค้างซูกินี่ โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู เร่งโต สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
โรคราน้ำค้าง (downy mildew of grapes) มี Plasmopara viticola เป็นเชื้อราสาเหตุของโรค โรคราน้ำค้าง และแสดงอาการเป็นขุยสีขาวที่ใต้ใบ ด้านบนใบจะเป็นเป็นสีเหลืองจ้ำๆ ช่อดอก และผลอ่อนจะเหี่ยวแห้ง และมีอาการใบไหม้ โรคราน้ำค้าง ระบมาดมากในช่วงที่มีความชื้นสูง เช่น ฤดูฝน

โรคราแป้งในพืชตระกูลแตง (เชื้อรา Oidium sp.) พบเชื้อราคล้ายผงแป้งสีขาวเกิดเป็นหย่อมๆ บนใบมักพบที่ใบส่วนล่างของต้นก่อน ถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมอาการโรคจะกระจายทั่วทั้งใบ และลุกลามขึ้นไปยังใบส่วนบนของต้น เห็นเชื้อราคล้ายผงแป้งสีขาวปกคลุมใบเกือบทั้งต้น ต่อมาใบค่อยๆซีดเหลืองและแห้ง หากโรคระบาดรุนแรงจะลุกลามไปยังทุกส่วนของพืช ทำให้ต้นแห้งตายในที่สุด ถ้าพืชเป็นโรคในระยะติดผลอ่อน จะทำให้ผลแกร็น บิดเบี้ยว ผวขรุขระ เป็นตุ่ม หรือแผลที่เปลือก

การป้องกันกำจัด โรคราน้ำค้าง
1. หมั่นตรวจสอบแปลงและป้องกันกำจัดตั้งแต่เริ่มพบโรค
2. กำจัดวัชพืชในโรงเรือนและรอบโรงเรือน
3. งดให้น้ำในช่วงเย็น
4. ฉีดพ่น ไอเอส และ FK-1 ในอัตราส่วนที่แนะนำ

ไอเอส ใช้ได้กับพืชทุกชนิด ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล กิ่งแห้ง โรคใบติด โรคราน้ำค้าง ราสนิม แอนแทรคโนส ไฟธอปโทร่า หรือ โรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ไอเอส หยุดโรค และ FK-1 ธาตุหลัก N-P-K ธาตุรอง ธาตุเสริม Ca_ Mg_ Zn สำหรับบำรุงให้แข็งแรง โตไว ผลผลิตดี สร้างภูมิคุ้มกันโรค

ตัวอย่างโรคพืช ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ
#ราแป้งซูกินี่ #ราน้ำค้างซูกินี่ #ราน้ำค้างองุ่น #ราแป้งองุ่น #แอนแทรคโนสองุ่น #ราน้ำค้างแคลตาลูป #ราน้ำค้างเมล่อน #ราน้ำค้างข้าวโพด #ราน้ำค้างถั่วเหลือง #ราน้ำค้างบวบ #ราน้ำค้างกะหล่ำปลี #ราน้ำค้างฟักแม้ว #ราน้ำค้างฟักเขียว #ราน้ำค้างแตงกวา #ราน้ำค้างมะระจีน #ราน้ำค้างฟักทอง #ข้าวไหม้คอรวง #ข้าวเน่าคอรวง #ข้าวขาดคอรวง #โรคข้าว #แตงโมเถาเหี่ยว #ราน้ำค้างแตงโม #แตงโมใบไหม้ #โรคพืช #โรคใบไหม้ #โรคราสนิม #โรคใบติด #ทุเรียนใบติด #โรคราน้ำค้าง #แอนแทรคโนส #ไฟธอปโทร่า #โรคกุ้งแห้ง #โรคใบจุด #ราแป้ง #โรคเหี่ยว

ตัวอย่างเชื้อรา สาเหตุโรคพืชต่างๆ
#Pyricularia_oryzae สาเหตุ โรคไหม้คอรวง ข้าวเน่าคอรวง
#Phytophthora_spp. #Sclerotium_spp. สาเหตุ โรครากเน่า โคนเน่า
#Capnodium_sp. #Meliola_sp. สาเหตุ โรคราดำ
#Maravaria_pterocarpi (ราสนิมพะยูง)
#Olivea_teetonae (ราสนิมสัก)
#Cercospora_sp. #Macrophoma_sp. สาเหตุ โรคใบจุด
#Alternaria_sp. #Phyllachora_sp. สาเหตุ โรคใบจุดนูนดำ
#Pestalotropsis_sp. สาเหตุ โรคใบไหม้
#Oidium_sp. #Uncinula_tectonas สาเหตุ โรคราแป้ง
#Verticillium_sp. #Fumsarium_spp. #Selerotium_sp. สาเหตุ โรคเหี่ยว

✅ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
✅ฉีดพ่นต่อเนื่องไม่อันตราย
✅ใช้ได้กับพืชทุกชนิด

🔤ทักแชทได้เลยค่ะ

☎โทร 090-592-8614

🆗ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกลิงค์เพื่อแอดไลน์ http://www.farmkaset..link..

🎖สั่งซื้อผ่านหน้าเว็บฟาร์มเกษตรโดยตรง (เลือกแยกซื้อได้)

http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Lazada

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

🎗ซื้อกับ Shopee

ชุดคู่ ไอเอส + FK-1 http://www.farmkaset..link..
ไอเอส อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..
FK-1 อย่างเดียว http://www.farmkaset..link..

ข้อมูลและอัตราผสมใช้
🍂 ไอเอส อัตตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร ทุก 5-7 วัน (2 ครั้ง)
🌿 FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร

🎯 สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกับ ไอเอส ได้เลย
🎯 ควรฉีดพ่นช่วยเช้าก่อนแดดออก หรือ ช่วงเย็น หลังแดดร่มลมตก ไม่ควรฉีดพ่นตอนแดดร้อนจัด

🍂ข้อมูลจำเพาะ ไอเอส

สารอินทรีย์ยับยั้งเชื้อรา สกัดจากวัตถุดิบธรรมชาติทั้งหมด ผ่านการวิจัยพัฒนา เพื่อคัดเลือกวัตถุดับที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุม และยับยั้งเชื้อรา ด้วยเทคโนโลยี “การควบคุมด้วยประจุไฟฟ้า (Ion Control)” โดยควบคุมสภาพแวดล้อมที่ผิวใบพืช ทำให้เกิดภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโต และการขยายพันธุ์ของเชื้อรา อีกทั้งยังเพิ่มประสิทธิภาพในการยึดติดผิวใบพืชได้ดียิ่งขึ้น ปลอดภัยต่อผู้ใช้และผู้ใช้และผู้บริโภค
*การใช้ ไอเอส ในช่วงรักษาโรคพืชจากเชื้อรา กรณีลูกค้าใช้ปุ๋ยหมัก ที่หมักเอง ใช้น้ำหมักต่างๆ ให้เลิกใช้ทันที เนื่องจากอาจเป็นการเติมเชื้อโรคเข้าไปเรื่อยๆขณะทำการรักษา (80% ของการเกิดโรคพืช และล้อแมลง มีสาเหตุจากการใช้กากน้ำตาล การหมักปุ๋ย การทำน้ำหมักใช้เอง อย่างไม่ถูกวิธี หรือไม่ผ่านกระบวนการฆ่าเชื้ออย่างถูกต้อง)

🌿ข้อมูลจำเพาะ FK-1

ธาตุรอง และธาตุเสริม จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และถูกดึงออกจากดินในทุกๆรอบการปลูกพืช ซึ่งปุ๋ยทั่วๆไป ไม่เคยเติมธาตุเหล่านี้ ซึ่งธาตุรองธาตุเสริมที่ขาด จะกลายเป็นข้อจำกัดการเจริญเติบโตของพืช เนื่องจาก "พืชจะเจริญเติบโตได้มากที่สุด เท่ากับธาตุอาหารที่มีต่ำที่สุด" ตามกฎ Liebig s law of the minimum ปุ๋ยตรา FK ประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงทำให้พืชเจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่เกิดอาการขาดธาตุ ซึ่งบางอย่าง เป็นธาตุที่ปุ๋ยอินทรีย์ไม่สามารถให้ได้

เมื่อพืช ได้รับธาตุอาหารที่ขาดไป ธาตุอาหารพืชต่างๆ ที่มีอยู่แล้วในดิน ที่พืชไม่เคยดูดกินไปใช้ประโยชน์ได้ ก็สามารถนำไปใช้ได้ เนื่องจาก ธาตุบางตัว เป็นตัวนำพาธาตุอื่นๆ เช่น

- ขาดธาตุ แคลเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ แต่พืชเอาไปใช้ได้น้อย ถ้าขาดแคลเซียม) ธาตุแคลเซียม [Ca] ทำหน้าที่ในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของสารอาหารต่างๆเข้าสู่พืช และยังทำหน้าที่เกี่ยวกับการทำงานของเอนไซม์พืชหลายชนิด
การขาดแคลเซียม มีผลทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะพืชไม่สามารถนำสารอาหารในดินที่มีอยู่ไปใช้งานได้

- ขาดธาตุ แมกนีเซียม (ใส่ปุ๋ยเยอะ ฉีดทางใบก็เยอะ แต่พืชก็ยังเหลือง ไม่สมบูรณ์) ธาตุแมกนีเซียม [Mg] เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของคลอโรฟิลล์ และก็มีความสำคัญในกระบวนการสร้างATPโดยทำหน้าที่เป็นโคแฟกเตอร์ (enzyme cofactor).
การขาดแมกนีเซียม อาจทำให้เกิดอาการเหลืองระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis).

- ขาดธาตุ สังกะสี (พืชชะงักการเจริญเติบโต เพราะขาดสังกะสี) ธาตุสังกะสี [Zn] เป็นส่วนสำคัญสำหรับเอนไซม์หลายชนิดและเป็นส่วนสำคัญในกระบวนการถอดรหัสพันธุกรรม (DNA transcription).
การขาดสังกะสี โดยทั่วไปแล้วจะทำให้การเติบโตของใบชะงักงัน

การฉีดพ่น FK-1 ที่มีครบทั้ง ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม จึงช่วยบำรุง ฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต การแตกยอด ใบ เสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรง ตลอดจนผลผลิตที่ดีขึ้น
ซูกินี่ (Zucchini)
ซูกินี่ (Zucchini)
ซูกินี่ (Zucchini) เป็นพืชตระกูลแตง รสหวานกรอบ มีกลิ่นเฉพาะตัว ทานสด หรือปรุงทานก็ได้ ดีต่อสุขภาพ รักษาโรคหอบหืด บำรุงผิวพรรณ ลดความดันเลือด

หากพูดถึงผักเพื่อสุขภาพที่ควรหามารับประทาน ซูกินี่ หรือ ซุกินี (Zucchini) ก็กำลังได้รับความนิยมไม่แพ้ผักชนิดอื่นๆ เรามีข้อมูลเกี่ยวกับประโยชน์ของซูกินีที่ดีต่อสุขภาพมาแนะนำดังต่อไปนี้

ซูกินี คืออะไร

ซูกินี เป็นพืชตระกูลแตง มีถิ่นกำเนิดอยู่แถบเม็กซิโก มีรสชาติหวานกรอบ จะมีกลิ่นเฉพาะตัว นิยมนำมารับประทานกันแบบสดหรือปรุงเป็นอาหารชนิดต่างๆ ใช้แทนบวบหรือแตงในอาหารชนิดต่างๆ เช่น ผัด แกงจืด แกงเลียง ต้มจิ้มน้ำพริก หรือใช้เป็นผักสด สามารถนำไปดองได้ด้วย อีกทั้งยังเป็นผักที่มีแคลอรี่ต่ำ ไม่มีไขมัน เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการควมคุบน้ำหนักเป็นอย่างมาก
ซูกินี เป็นผักที่อุดมไปด้วยวิตามินต่างๆ เช่น วิตามินซี วิตามินเอ วิตามินบี1 วิตามินบี2 วิตามินบี6 วิตามินเค เบตาแคโรทีน แคลเซียมและแมกนีเซียม โปแทสเซียม คอปเปอร์ โฟเลต ฟอสฟอรัส และแมงกานีส omega-3

สำหรับสรรพคุณของซูกินีนั้นจะช่วยช่วยรักษาโรคหอบหืด บำรุงสุขภาพของดวงตา ป้องกันต้อกระจก ลดความดันเลือด ลดความเสี่ยงของโรคภูมิต้านทานบกพร่อง ช่วยบำรุงผิวพรรณ ช่วยบำรุงประสาท และช่วยเพิ่มความจำได้ดีมากๆ

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ไอเอส ใช้ป้องกัน กำจัด โรคราน้ำค้างซูกินี่ โรคราแป้งซูกินี่

FK-1 ฉีดพ่น บำรุง เสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรค ให้กับซูกินี่ ส่งเสริมการเจริญเติบโตได้เป็นอย่างดี เพิ่มผลผลิต ทั้งด้านปริมาณ คุณภาพ ช่วยให้ผลโต มีน้ำหนักดี คุณภาพดี
โรคพืชตระกูลแตง โรคราน้ำค้าง และ โรคราแป้ง
โรคพืชตระกูลแตง โรคราน้ำค้าง และ โรคราแป้ง
ในเขตภาคกลางระยะนี้จะมีอากาศร้อนช่วงกลางวัน และมีอากาศเย็นในช่วงกลางคืน กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลแตง อาทิ แตงกวา แตงโม เมล่อน ซูกินี ฟักเขียว มะระจีน และบวบ ให้เกษตรกรหมั่นสังเกตอาการของโรคราน้ำค้าง และโรคราแป้ง ที่สามารถพบได้ทุกระยะการเจริญเติบโตของพืชตระกูลแตง

โรคราน้ำค้าง

โรคราน้ำค้าง มักพบมีแผลเหลี่ยมเล็กสีเหลืองบนใบ และเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มหรือเทาดำ กรณีที่มีความชื้นสูงในตอนเช้า จะพบเส้นใยเชื้อราเป็นขุยสีเทาดำตรงแผลใต้ใบ หากสภาพแวดล้อมเหมาะสมโรคจะระบาดรวดเร็ว ทำให้ใบเหลืองและแห้งตายทั้งต้น แตงที่เป็นโรคจะติดผลน้อย ผลมีขนาดเล็ก และความหวานลดลง

โรคราแป้ง

โรคราแป้ง จะพบโรคในช่วงอากาศแห้งและเย็น หรือประมาณเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ มักพบเชื้อราคล้ายผงแป้งสีขาวเป็นหย่อมๆ บนใบส่วนล่างของต้นก่อน กรณีสภาพแวดล้อมเหมาะสม โรคจะกระจายทั่วทั้งใบและลุกลามขึ้นไปยังใบส่วนบนของต้น โดยเห็นเชื้อราคล้ายผงแป้งสีขาวปกคลุมใบเกือบทั้งต้น ต่อมาใบจะซีดเหลืองและแห้ง หากรุนแรง จะลุกลามไปยังทุกส่วนของพืช ทำให้ต้นแห้งตายในที่สุด ถ้าแตงเป็นโรคในระยะติดผลอ่อน ผลจะแกร็น บิดเบี้ยว ผิวขรุขระ เป็นตุ่ม หรือมีแผลที่เปลือก

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคราแป้ง และ โรคราน้ำค้าง ฉีดพ่น ไอเอส

ผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อฟื้นฟู ส่งเสริมการเจริญเติบโต เสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรคและแมลง เพิ่มปริมาณและ คุณภาพของผลผลิต

โรคราแป้ง (Powdery mildew) โรคราแป้งในพริก ราแป้งมะเขือ
โรคราแป้ง (Powdery mildew) โรคราแป้งในพริก ราแป้งมะเขือ
ระยะการเจริญเติบโตที่พบ ทุกระยะการเจริญเติบโต ของพริก และมะเขือ พริกหวาน มะเขือเทศ มะเขือม่วง

ลักษณะอาการของโรค/การเข้าทำลาย
-ปรากฏผงสีขาวบริเวณใต้ใบ หรือบนผิวใบด้านบน
-ใต้ใบปรากฏแผลสีเหลือง หรือน้ำตาล
-อาการรุนแรงใบไหม้

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ไอเอส ฉีดพ่นเพื่อป้องกันกำจัด โรคราแป้งพริก โรคราแป้งมะเขือ
FK-1 ฉีดพ่นเพื่อฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรค ส่งเสริมการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน ส่งเสริมผลผลิต
โรคใบไหม้ทุเรียน ทุเรียนใบไหม้ [ ไอเอส และ FK-1 ]
โรคใบไหม้ทุเรียน ทุเรียนใบไหม้ [ ไอเอส และ FK-1 ]
ในสภาพอากาศร้อนแล้ง มีฝนตกเข้าผสมโรง กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรชาวสวนทุเรียนให้เฝ้าระวังการระบาดของ โรคใบไหม้ หรือ โรคใบติด ที่เกิดจากเชื้อราไรซอกโทเนีย (Rhizoctonia sp.) พบได้ทั้งในระยะพัฒนาผลไปจนถึงระยะเก็บเกี่ยว

อาการเริ่มแรกจะพบบนใบมีแผลคล้ายถูกน้ำร้อนลวก ต่อมาแผลจะขยายตัวและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล มีขนาดและรูปร่างไม่แน่นอน จากนั้นจะลุกลามไปยังใบปกติข้างเคียง

กรณีที่มีความชื้นสูงเชื้อราสาเหตุโรคจะสร้างเส้นใยคล้ายใยแมงมุมยึดใบให้ติดกัน ใบที่เป็นโรคจะไหม้ แห้ง หลุดร่วงไปสัมผัสกับใบด้านล่าง ทำให้โรคระบาดลุกลามจนเห็นใบไหม้เกิดเป็นหย่อมๆ ใบแห้งติดกันเป็นกระจุกแขวนค้างตามกิ่ง ต่อมาใบจะร่วงจนเหลือแต่กิ่ง และกิ่งแห้งในที่สุด ทำให้ต้นทุเรียนเสียรูปทรง

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคไหม้ข้าว ระบาดโคราช 8 อำเภอ ข้าวใบไหม้ นับหมื่นไร่ ( ไอเอส + FK-1 )
โรคไหม้ข้าว ระบาดโคราช 8 อำเภอ ข้าวใบไหม้ นับหมื่นไร่ ( ไอเอส + FK-1 )
โรคไหม้ข้าวระบาดโคราช 8 อำเภอนับหมื่นไร่ จนท.เกษตรเร่งลงพื้นที่ช่วยเหลือกำจัดเชื้อ ผู้สื่อข่าวรายงานว่า นายกังสดาล สวัสดิ์ชัย เกษตรจังหวัดนครราชสีมา พร้อมด้วย นายวรกร เปรื่องค้า หัวหน้ากลุ่มงานอารักขาพืช นำเจ้าหน้าที่ลงพื้นที่ให้คำแนะนำเกษตรกรในการป้องกันและกำจัดโรคไหม้ข้าวที่กำลังระบาดหนักในพื้นที่อำเภอเสิงสาง จ.นครราชสีมา หลังจากมีรายงานพบการระบาดแล้วกว่า 560 ไร่ ซึ่งเบื้องต้นพบเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้วิธีการตัดใบข้าวที่แห้งเหี่ยวจากอาการของโรคไหม้ข้าวออก ซึ่งไม่สามารถกำจัดการระบาดของโรคได้ทั้งหมด

นายกังสดาล สวัสดิ์ชัย เกษตรจังหวัดนครราชสีมา เปิดเผยว่า ลักษณะอาการของโรคไหม้ข้าวนั้นจะพบว่าที่ใบของต้นข้าวมีแผลเป็นจุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตาตรงกลาง แผลมีสีเทา ในขนาดต่างๆ กัน จุดแผลจะขยายติดต่อลุกลามได้ทั่วบริเวณใบ หากปล่อยไว้จะแห้งเหี่ยวตายไม่ได้ผลผลิต โดยการระบาดเนื่องมาจากว่าในช่วงนี้เป็นช่วงที่อากาศปิด ท้องฟ้าครึ้ม ร้อนอบอ้าวแต่ไม่มีแดด เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเชื้อราซึ่งเป็นสาเหตุของโรค

ทั้งนี้ ลักษณะอาการของโรคไหม้ข้าวพบได้ใน 3 ระยะ คือ 1. การระบาดในระยะกล้า ใบจะมีแผลเป็นจุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผล โดยความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร ซึ่งแผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตายอาการคล้ายถูกน้ำร้อนลวก 2. ระยะแตกกอขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ และ 3. ในระยะออกรวงเมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลายขณะที่ข้าวเพิ่งออกรวงจะทำให้เมล็ดลีบ แต่ขณะที่รวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว คอรวงมีรอยแผลช้ำสีน้ำตาลจะทำให้ต้นข้าวเปราะและหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่น

นายกังสดาลกล่าวต่อว่า จังหวัดนครราชสีมามีพื้นที่เพาะปลูกข้าวทั้งหมด 2_441_645.63 ไร่ ล่าสุดพบว่ามีการระบาดของโรคนี้แล้วใน 8 อำเภอ ได้แก่ อ.ขามสะแกแสง อ.จักราช อ.โชคชัย อ.คง อ.พิมาย อ.เมืองยาง อ.หนองบุญมาก และอำเภอเสิงสาง มีพื้นที่ระบาด 9_123 ไร่ เกษตรกรที่ได้รับผลกระทบ 1_042 ราย

อ้างอิง http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
โรคไหม้ข้าว ระบาดในแปลงกล้า ใช้ ไอเอส และ FK-1
โรคไหม้ข้าว ระบาดในแปลงกล้า ใช้ ไอเอส และ FK-1
นายสมพล แสนคำ เกษตรจังหวัดเชียงใหม่ เปิดเผยถึงสาเหตุของ โรคไหม้ ว่าเกิดจากเชื้อรา Pyricularia oryzae cav ซึ่งสามารถทําลายข้าวได้ทุกระยะตั้งแต่เริ่มปลูก จนถึงเก็บเกี่ยว โรคไหม้จะเกิดขึ้นและแพร่ระบาดได้อย่างรุนแรง ถ้ามีสภาพแวดล้อมเหมาะสม คือ ใช้พันธุ์ข้าวอ่อนแอต่อโรค เช่น มะลิ 105 กข6 เหนียวอุบล เหนียวสันป่าตอง และ กข 23 สภาพอากาศมีความชื้นค่อนข้างสูง ตั้งแต่ 80% ขึ้นไป โดยเฉพาะในช่วงบ่ายถึงเช้าวันรุ่งขึ้น อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการระบาดของโรคคือ ระหว่าง 22-28 องศาเซลเซียส หากเกษตรกรมีการใช้เมล็ดพันธุ์อัตราสูง เช่น 20-30 กิโลกรัม/ไร่ หรือใส่ปุ่ยอัตราสูง 60-80 กิโลกรัม/ต่อไร่ ก็เป็นการชักนำให้เกิด โรคไหม้ได้เช่นกัน

ลักษณะอาการ

ระยะกล้า ที่ใบมีแผลจุดสีนํ้าตาลลักษณะคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผลมีขนาดแตกต่างกันไปความกว้างระหว่าง 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 15-20 มิลลิเมตร จุดแผลนี้สามารถขยายลุกลามจนแผลรวมกันทั่วบริเวณใบ ในกรณีที่โรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งและยุบตายอาการคล้ายถูกไฟไหม้ (blast)

ระยะแตกกอ อาการของโรคพบได้ที่ใบ กาบใบ ข้อต่อของใบและข้อต่อของลําต้น ขนาดของแผลจะ ใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้าแผลลุกลามติดต่อกันได้ ที่บริเวณข้อต่อใบจะมีลักษณะแผลชํ้าสีนํ้าตาลดําและ ใบมักหลุดจากกาบใบเสมอ

ระยะคอรวง ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวงเมื่อถูกเชื้อรานี้เข้าทําลายเมล็ดจะลีบหมด แต่ถ้าเชื้อราเข้าทําลายตอนรวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยวคอรวงจะปรากฎรอยแผลชํ้าสีนํ้าตาล ทําให้เปราะหักพับง่ายทำให้รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายจำนวนมาก
ในปัจจุบันในแหล่งที่มีการทํานามากกว่าปีละครั้งจะพบโรคนี้แพร่ระบาดเป็นประจํา โดยเฉพาะใน แหล่งที่ปลูกข้าว

หนาแน่นอับลม ใส่ปุ๋ยมากเกินไป และมีสภาพแห้งแล้งในตอนกลางวัน ชื้นจัดในตอนกลางคืน ถ้าต้นข้าวอยู่ในระยะเจริญเติบโตและสภาพอากาศมีลมพัดแรงและหนาวจัดเป็นเวลาติดต่อกัน หลายวันจะทําให้ต้นข้าวชะงักการเจริญเติบโตใบจะม้วนและเหลืองต้นแคระแกร็น หากข้าวอยู่ในระยะตั้งท้องจะผสมไม่ติดทําให้เมล็ดลีบ

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
ข้าวใบไหม้ ใช้ ไอเอส และ FK-1
ข้าวใบไหม้ ใช้ ไอเอส และ FK-1
ในฤดูการผลิตที่ผ่านมาพบการระบาดของโรคไหม้ข้าว(ระยะออกรวง) โดยพบมากในพื้นที่ปลูกข้าว พันธุ์อ่อนแอ ได้แก่ พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 กข 15 และกข 6 รวมถึงแปลงที่มีการปลูกข้าวหนาแน่น และมีการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนในอัตราสูง อีกทั้งสภาพอากาศในหลายพื้นที่ มีความแห้งในตอนกลางวันและชื้นจัดและเย็นในตอนกลางคืน อุณหภูมิต่ำสุดที่ 22 – 27 องศาเซลเซียส ซึ่งเหมาะสมต่อการเกิดโรคทำให้เกิดการระบาดรุนแรง และทำให้มีโอกาสเกิดการแพร่กระจายของโรคได้ดี

ลักษณะอาการของโรคในระยะกล้า ใบมีแผล จุดสีน้ำตาลคล้ายรูปตา มีสีเทาอยู่ตรงกลางแผลความกว้างของแผลประมาณ 2-5 มิลลิเมตร และความยาวประมาณ 10-15 มิลลิเมตร แผลสามารถขยายลุกลามและกระจายทั่วบริเวณใบ ถ้าโรครุนแรงกล้าข้าวจะแห้งฟุบตาย อาการคล้ายถูกไฟไหม้ ในระยะแตกกอ อาการพบได้ที่ใบ ข้อต่อของใบ และข้อต่อของลำต้น ขนาดแผลจะใหญ่กว่าที่พบในระยะกล้า แผลลุกลามติดต่อกันได้ที่บริเวณข้อต่อ ใบจะมีลักษณะแผลช้ำสีน้ำตาลดำ และมักหลุดจากกาบใบเสมอ ในระยะออกรวง(โรคไหม้คอรวง)ถ้าข้าวเพิ่งจะเริ่มให้รวง เมื่อถูกเชื้อราเข้าทำลาย เมล็ดจะลีบหมด แต่ถ้าเป็นโรคตอนรวงข้าวแก่ใกล้เก็บเกี่ยว จะปรากฏรอยแผลช้ำสีน้ำตาลที่บริเวณคอรวง ทำให้เปราะหักง่าย รวงข้าวร่วงหล่นเสียหายมากการแพร่ระบาด พบโรคในแปลงที่ต้นข้าวหนาแน่น ทำให้อับลม ใส่ปุ๋ยอัตราสูงสภาพอากาศร้อนในตอนกลางวัน และชื้นจัดในตอนกลางคืน โดยกระแสลมแรงจะเป็นตัวช่วยในการแพร่กระจายโรคได้ดี

นางจันทิรา บวรรัตนสุภา เกษตรจังหวัดตาก ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้เกี่ยวกับโรคไหม้ข้าวแก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าวเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเป็นโรคที่ส่งผลกระทบสร้างความเสียหายให้กับผลผลิตข้าวของเกษตรกร โดยเฉพาะข้าวขาวมะลิ 105 กข 15 กข 6 ซึ่งเป็นพันธุ์ที่อ่อนแอต่อโรคดังกล่าว โดยโรคไหม้ข้าวสามารถเข้าทำลายต้นข้าวได้ทุกระยะการเจริญเติบโต ตั้งแต่ระยะกล้าถึงระยะข้าวออกรวง ส่งผลกระทบให้ทำปริมาณผลผลิตลดลงอย่างมาก โดยได้มอบหมายให้นายสมาน เทพารักษ์ หัวกลุ่มอารักขาพืช นำทีมเจ้าหน้าที่กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดตากลงพื้นที่ถ่ายทอดความรู้และส่งเสริมให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวใช้สารชีวภัณฑ์ เชื้อราไตรโครเดอร์มา ในการป้องกันกำจัดโรคไหม้ขาวเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากเป็นสารชีวภัณฑ์ที่สามารถป้องกันกำจัดและควบคุมการเกิดโรคดังกล่าวได้ โดยเชื้อราไตรโครเดอร์มานั้นเป็นเชื้อราที่ไม่เป็นอันตรายต่อตัวเกษตรกรและสิ่งแวดล้อม ซึ่งสามารถนำไปใช้ได้หลากหลายวิธี เช่น การนำไปแช่เมล็ดข้าวก่อนหว่าน หรือนำไปฉีดพ่นในแปลงทุกๆ 3-7 วัน ฯลฯ เพื่อป้องกันและลดอัตราการเกิดโรค โดยทีมอารักขาพืชสำนักงานเกษตรจังหวัดตาก ได้ลงพื้นที่ที่เคยเกิดการระบาดของโรคไหม้ รวมทั้งพื้นที่ที่มีการปลูกข้าวพันธุ์อ่อนแอต่อโรคอย่างต่อเนื่อง เพื่อถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับสารชีวภัณฑ์ดังกล่าว สอนวิธีการในการขยายเชื้อให้แก่เกษตรกรและทดลองปฏิบัติด้วยตนเอง เพื่อให้นำกลับไปใช้ในแปลงซึ่งเกษตรกรในพื้นที่ได้ให้ความร่วมมือและให้ความสนใจเป็นอย่างยิ่ง พร้อมที่จะเรียนรู้และนำไปใช้จริง

สำนักงานเกษตรจังหวัดตาก โดยกลุ่มอารักขาพืชร่วมกับสำนักงานเกษตรอำเภอได้รวมกลุ่มเกษตรกรที่สนใจเพื่อจัดตั้งเป็นศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน(ศูนย์ขยาย)ขึ้นในพื้นที่ เพื่อให้เกษตรกรสามารถเข้ามาเรียนรู้เรื่องโรคแมลงที่สำคัญร่วมกัน สามารถขยายชีวภัณฑ์ต่างๆเพื่อนำไปใช้ป้องกันกำจัดโรคและแมลงในแปลงของตนเองหรือในชุมชนได้ เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิตในส่วนของสารป้องกันกำจัดโรคและแมลงต่างๆได้เป็นอย่างดี รวมทั้งเพื่อให้สามารถป้องกันและควบคุมสถานการณ์การระบาดของโรคไหม้ข้าวในพื้นที่จังหวัดตากไม่ให้เกิดการระบาดเพิ่มมากขึ้นและเพื่อเป็นการป้องกันการเกิดโรคในระยะยาวต่อไป

ที่มา http://www.farmkaset..link..

ป้องกันกำจัด โรคไหม้ โรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ฉีดพ่น ไอเอส สารอินทรีย์ ป้องกันและยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา

เร่งการเจริญเติบโต สร้างภูมิต้านทาน เพิ่มผลผลิต ฉีดพ่น FK-1 ที่ประกอบด้วย ธาตุหลัก ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่ครบถ้วน

สามารถผสม ฉีดพ่นไปพร้อมกันได้
898 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 89 หน้า, หน้าที่ 90 มี 8 รายการ
|-Page 70 of 90-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 | 76 | 77 | 78 | 79 | 80 | 81 | 82 | 83 | 84 | 85 | 86 | 87 | 88 | 89 | 90 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
กำจัดโรคราสีชมพู โรคที่เกิดจากเชื้อรา ศัตรูพืชในทุเรียน ไอเอส และ FK-T ธรรมชาตินิยม ฟื้นฟูจากการทำลายของเชื้อรา
Update: 2566/05/26 11:27:48 - Views: 3426
การดูแลมะม่วงตลอดปี ให้โตไว สมบูรณ์แข็งแรง ได้ผลผลิตสูงขึ้น
Update: 2567/11/08 09:36:05 - Views: 70
กำจัดเพลี้ย ใน แคนตาลูป เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเพลี้ย บิวทาเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/05/10 14:02:20 - Views: 3394
โรคเชื้อราในฟักทอง คู่มือป้องกันและกำจัดโรคฟักทอง
Update: 2566/04/30 10:04:18 - Views: 3642
องุ่น รากเน่า ใบไหม้ ผลเน่า ใบจุด กำจัดโรคองุ่น จากเชื้อราต่างๆ ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช) โดย FK
Update: 2565/10/28 10:08:56 - Views: 3474
หนอนคืบ กินใบลำไย(Leaf eating looper) ระบาดในหลายพื้นที่
Update: 2564/08/15 03:05:42 - Views: 3657
หนอนกระทู้หอม หอมเลื้อย โรคหอมรากเน่า หอมใบจุด ใบด่าง เพลี้ยหอม ดูยาให้ถูกกับโรค แก้ได้..
Update: 2563/02/17 11:25:43 - Views: 3438
บำรุงต้นมะเขือเทศ เพิ่มผลผลิตด้วย ปุ๋ยฮิวมิค ตรา ฟาร์มิค
Update: 2567/03/12 13:45:01 - Views: 3421
โรคราน้ำค้างคะน้า คะน้าใบไหม้ คะน้าใบจุดสีน้ำตาล โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/09/13 03:06:19 - Views: 3423
การดูแลมะพร้าวให้โตไว สมบูรณ์ และมีผลผลิตดีด้วยฮิวมิคFK และปุ๋ยทางใบ FK-1
Update: 2567/11/11 09:54:59 - Views: 56
การใช้สารอินทรีย์ และ ธาตุอาหารพืช เพื่อต่อสู้และป้องกัน โรคข้าวใบไหม้ อย่างได้ผล
Update: 2566/01/07 12:37:38 - Views: 3409
ปุ๋ยข้าวโพด FK-1 และ FK-3 ฉีดพ่นข้าวโพด ส่งเสริมการเจริญเติบโต ได้ผลผลิตมากขึ้น ด้วยธาตุอาหารที่จำเป็นดังนี้
Update: 2565/12/13 07:48:35 - Views: 3421
ปุ๋ย FK-1 ฉีดพ่น มะนาว ผลใหญ่ ดกเต็มต้น น้ำหนักดี ต้นทุนต่อไร่ถูกกว่าปุ๋ยเม็ด 4 เท่า เพิ่มผลผลิตสูงสุด 20 เปอร์เซ็นต์
Update: 2566/02/28 14:11:39 - Views: 3461
หนอนชอนใบ แตงกวา แตงโม เมล่อน หนอนต่างๆ กำจัดด้วย ไอกี้-บีที
Update: 2562/08/15 09:06:28 - Views: 3565
โรคลำไย โรคราดำลำไย ต้องป้องกันกำจัดที่ต้นเหตุ และต้นเหตุนั้นเกิดจากเพลี้ยต่างๆ ถ่ายน้ำหวานมาปกคลุม ทำให้เชื้อราในอากาศปลิวมาเกาะติด
Update: 2564/02/25 12:25:26 - Views: 3671
สมุนไพรต้องมีใบอนุญาต ผลิต-จำหน่าย-นำเข้า
Update: 2565/11/15 12:29:38 - Views: 3390
การปลูกมะนาว: คู่มือสำหรับผู้เริ่มต้นในการปลูกมะนาว
Update: 2566/04/29 08:43:28 - Views: 3477
เพลี้ยศัตรูพืชในต้นมะกรูด การควบคุมและป้องกันการระบาดของพลี้ย
Update: 2566/11/09 10:21:53 - Views: 3430
มะม่วงเจริญเติบโตได้ดี และให้ผลผลิตสูง ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม ซิงค์ เป็นองค์ประกอบที่สำคัญ
Update: 2566/11/10 07:07:37 - Views: 9774
ปุ๋ยเร่งผลกล้วย ปุ๋ยกล้วย เครือใหญ่ ขยายผล คุณภาพดี ให้ ธาตุ โพแทสเซียม ถึง 40% สำหรับเร่งผลโดยเฉพาะ
Update: 2565/02/07 23:55:52 - Views: 3419
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022