[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - โรคใบไหม้
635 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 63 หน้า, หน้าที่ 64 มี 5 รายการ

แก้บร็อคโคลี่ใบไหม้ ราน้ำค้าง โรคต่างๆจากเชื้อรา ยากำจัดหนอนบร็อคโคลี่ ยาแก้เพลี้ยบร็อคโคลี่ ปุ๋ย สำหรับ บร็อคโคลี่
แก้บร็อคโคลี่ใบไหม้ ราน้ำค้าง โรคต่างๆจากเชื้อรา ยากำจัดหนอนบร็อคโคลี่ ยาแก้เพลี้ยบร็อคโคลี่ ปุ๋ย สำหรับ บร็อคโคลี่
บร็อคโคลี่ใบไหม้ โรคใบไหม้ บร็อคโคลี่

อาการที่แสดงบนใบเลี้ยง ขอบใบจะไหม้ แห้ง เส้นใบเน่าเป็นสีดำ และต่อมาใบจะแห้งเป็นสีน้ำตาล และหลุดออกจากต้น ทำให้บร็อคโคลี่แคระ แกร็น หรือหยุดชะงักการเจริญเติบโต

โรคราน้ำค้าง บร็อคโคลี่

พบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต สังเกตุที่ใบเลี้ยงจะเป็นแผลสีน้ำตาล เป็นสาเหตุให้ลำต้นเน่า บร็อคโคลี่แคระแกร็น หากอาการรุนแรง ใบจะเป็นสีน้ำตาล และค่อยๆแห้งตาย

การป้องกันและยับยั้ง โรคบร็อคโคลี่ ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนใยผัก บร็อคโคลี่ และหนอนคืบกะหล่ำ ที่พบใน บร็อคโคลี่

ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plutella xylostella เป็นหนอนผีเสื้อ ตามใต้ใบพืช ตัวหนอนส่วนท้ายมีปุ่ม แยกยื่นออกมาเป็นสองแฉก ตัวสีเขียวปนเทาอ่อน หรือสีเขียวปนเหลือง หนอนจะกัดกินผิวใบ ทางด้านล่าง จนใบเป็นรูพรุน และเข้ากัดกินยอดผัก

ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ บร็อคโคลี่ ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

เพลี้ยอ่อน บร็อคโคลี่ และเพลี้ยต่างๆ

อาการที่แสดงให้เห็น เมื่อเพลี้ยเข้าทำลาย คือใบม้วนหงิก ใบแห้งกร้าน ใบกรอบ มีสีจางเป็นจุดๆ กระจายตามจุดต่างๆของใบ เป็นอาการที่เพลี้ยอ่อนเข้าทำลาย โดยการดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ผิวใบ ทำให้ใบด่างเป็นจุดๆ ใบพืชหดตัว และเริ่มหงิกงอ

ป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ใน บร็อคโคลี่ ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ย บร็อคโคลี่ สำหรับเร่งผลผลิต บร็อคโคลี่ ฉีดพ่นทางใบ

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3548
ยาแก้หนอน กะหล่ำดอก ยาแก้โรคราน้ำค้าง โรคกะหล่ำใบไหม้ ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำดอก และปุ๋ยเร่งโต บำรุงกะหล่ำดอก
ยาแก้หนอน กะหล่ำดอก ยาแก้โรคราน้ำค้าง โรคกะหล่ำใบไหม้ ยาแก้เพลี้ยกะหล่ำดอก และปุ๋ยเร่งโต บำรุงกะหล่ำดอก
โรคราน้ำค้าง ในกะหล่ำดอก

พบได้ในทุกระยะการเจริญเติบโต สังเกตุที่ใบเลี้ยงจะเป็นแผลสีน้ำตาล เป็นสาเหตุให้ลำต้นเน่า กะหล่ำดอกแคระแกร็น หากอาการรุนแรง ใบจะเป็นสีน้ำตาล และค่อยๆแห้งตาย

โรคใบไหม้ ในกะหล่ำดอก

อาการที่แสดงบนใบเลี้ยง ขอบใบจะไหม้ แห้ง เส้นใบเน่าเป็นสีดำ และต่อมาใบจะแห้งเป็นสีน้ำตาล และหลุดออกจากต้น ทำให้กะหล่ำดอกแคระ แกร็น หรือหยุดชะงักการเจริญเติบโต

การป้องกันและยับยั้ง โรคกะหล่ำดอก ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส

ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

หนอนใยผัก ในกะหล่ำดอก และหนอนคืบกะหล่ำ

ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plutella xylostella เป็นหนอนผีเสื้อ ตามใต้ใบพืช ตัวหนอนส่วนท้ายมีปุ่ม แยกยื่นออกมาเป็นสองแฉก ตัวสีเขียวปนเทาอ่อน หรือสีเขียวปนเหลือง หนอนจะกัดกินผิวใบ ทางด้านล่าง จนใบเป็นรูพรุน และเข้ากัดกินยอดผัก

ป้องกันและกำจัดหนอนต่างๆ ในกะหล่ำดอก ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์กำจัดหนอน

ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

เพลี้ยอ่อน กะหล่ำดอก และเพลี้ยต่างๆ

อาการที่แสดงให้เห็น เมื่อเพลี้ยเข้าทำลาย คือใบม้วนหงิก ใบแห้งกร้าน ใบกรอบ มีสีจางเป็นจุดๆ กระจายตามจุดต่างๆของใบ เป็นอาการที่เพลี้ยอ่อนเข้าทำลาย โดยการดูดกินน้ำเลี้ยงใต้ผิวใบ ทำให้ใบด่างเป็นจุดๆ ใบพืชหดตัว และเริ่มหงิกงอ

ป้องกันและกำจัดเพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆ ในกะหล่ำดอก ฉีดพ่นด้วย มาคา

ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด 2-4 ครั้ง แล้วแต่ความหนักเบาของการระบาด แต่ละครั้งของการฉีดพ่น เว้นระยะประมาณ 3-7 วัน

ปุ๋ยสำหรับเร่งผลผลิตกะหล่ำดอก ฉีดพ่นทางใบ

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

นอกจากเราใช้ FK-1 ฉีดพ่นเพื่อเร่งการเจริญเติบโตของพืชแล้ว เรายังสามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช หรือยากำจัดหนอน จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3529
ปุ๋ยสำหรับข้าว ปุ๋ยเพิ่มผลผลิตข้าว ยาแก้โรคใบไหม้ เน่าคอรวง ยากำจัดเพลี้ยในนาข้าว
ปุ๋ยสำหรับข้าว ปุ๋ยเพิ่มผลผลิตข้าว ยาแก้โรคใบไหม้ เน่าคอรวง ยากำจัดเพลี้ยในนาข้าว
การให้ปุ๋ยข้าว เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดีนั้น ต้องให้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารเหมาะสม สอดคล้องกับช่วงอายุของการเจริญเติบโตของข้าว ยกตัวอย่างเช่น ในช่วงข้าวเริ่มงอก ไปจนก่อนตั้งท้อง เราควรให้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารที่เน้นไปทางส่งเสริมการเจริญเติบโต ส่งเสริมระบบราก เพื่อให้ดูดกินอาหารได้ดี และเพิ่มความเขียว เพื่อให้ต้นข้าวสังเคราะห์แสงได้ดี ทำให้ข้าวโตไวและแข็งแรง หากเราเน้นให้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารที่เร่งกระบวนการเพิ่มผลผลิตในช่วงนี้ จะสิ้นเปลือง เพราะต้นข้าวจะไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่

ในทางกลับกัน ในระยะข้าวตั้งท้อง ควรลดปริมาณการให้ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูง และเพิ่มโพแตสเซียมให้มากขึ้น เพื่อที่จะส่งเสริมกระบวนการลำเลียงสะสมแป้งและน้ำตาล เพื่อให้ข้าวออกรวงได้ยาว มีเมล็ดเต็ม มีน้ำหนัก ส่งผลให้ผลผลิตข้าวมีคุณภาพ และได้ผลผลิตในปริมาณที่สูงขึ้น

ฉีดพ่นด้วย FK-1 สำหรับข้าวหลังปลูก ไปจนถึงก่อนข้าวตั้งท้อง สามารถฉีดพ่นได้ต่อเนื่องทุกๆ 7-15 วัน เพื่อช่วยเร่งการเจริญเติบโต เร่งการแตกกอ เพิ่มความเขียวสมบูรณ์ แข็งแรงให้กับต้นข้าว

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

ข้าวเริ่มตั้งท้อง เปลียนมาฉีดพ่นด้วย FK-3R ซึ่งมีคุณสมบัติแตกต่างจาก FK-1 ตรงที่ FK-3R นั้น เน้นธาตุโพแตสเซียมสูง 40 เปอร์เซ็นต์ โพแตสเซียมนี้ จะส่งเสริมกระบวนการลำเลียง เคลื่อนย้ายแป้งและน้ำตาล มาสะสมเป็นเมล็ดข้าว ข้าวที่เราปลูกนั้นจะมีรวงยาว เมล็ดเต็ม ได้ผลผลิตดี มีน้ำหนัก อัตราการใช้ FK-3R นั้น เป็นเช่นเดียวกันกับ FK-1 สามารถฉีดพ่นได้ต่อเนื่องทุกๆ 7-15 วัน ตามความเหมาะสมของผู้ปลูก

ยายับยังโรคข้าวต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
โรคไหม้ โรคใบจุดสีน้ำตาล โรคใบขีดสีน้ำตาล โรคใบวงสีน้ำตาล โรคกาบใบแห้ง โรคกาบใบเน่า โรคเมล็ดด่าง โรคขอบใบแห้ง โรคใบแถบแดง โรคกล้าเน่า โรคลำต้นเน่า
ฉีดพ่นด้วย ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด

ยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูข้าว
เพลี้ยไฟข้าว เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยกระโดดหลังขาว เพลี้ยจักจั่นสีเขียว เพลี้ยจักจั่นปีกลายหยัก
ใช้ มาคา ยาอินทรีย์ สารอัลคาลอยด์ ป้องกัน กำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูข้าว ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด

ยากำจัดหนอนต่างๆ ในนาข้าว
หนอนกอข้าว หนอนแมลงวันเจาะยอดข้าว หนอนกระทู้กล้า หนอนห่อใบข้าว หนอนปลอกข้าว หนอนกระทู้คอรวง
ใช้ ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ ป้องกันกำจัดหนอน ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด
อ่าน:3478
มันสำปะหลังใบไหม้ โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มีอาการใบจุดเหลี่ยมฉ่ำน้ำ ใบไหม้ และใบเหี่ยว มียางไหล ยอดแห้ง ยอดเหี่ยว
มันสำปะหลังใบไหม้ โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มีอาการใบจุดเหลี่ยมฉ่ำน้ำ ใบไหม้ และใบเหี่ยว มียางไหล ยอดแห้ง ยอดเหี่ยว
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง (Cassava Bacterial Blight : CBB)

เกิดจากเชื้อ Xanthomonas campestris pv. manihotis มีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศบราซิลในปี 2455 หลังจากนั้นมีรายงานการแพร่ระบาดเกือบทุกประเทศที่มีการปลูกมันสำปะหลังทั้งทวีปเอเชียและลาตินอเมริกา ในประเทศไทยพบครั้งแรกที่จังหวัดระยอง เมื่อปี 2518 และต่อมาพบทั่วทุกภาค ระดับความเสียหายเนื่องจากโรคนี้มีตั้งแต่ 30 เปอร์เซ็นต์ เมื่อใช้ท่อนพันธุ์จากต้นที่เป็นโรคถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเกิดโรคและใช้ต้นพันธุ์ที่เป็นโรคติดต่อกัน 3 ถึง 4 ปี โดยไม่มีการป้องกันกำจัด อาจมีความเสียหายถึง 80 เปอร์เซ็นต์ ระดับความเสียหายจะขึ้นอยู่กับเปอร์เซ็นต์การใช้ท่อนพันธุ์ที่มีเชื้อปะปนมา (Contaminated cutting) ปลูกในแปลงและความเสียหายอาจรุนแรงถึง 90 เปอร์เซ็นต์ เมื่อมีเชื้อโรค เช่น เชื้อ Colletrotrichum spp. และ Choanephora cucurbitarum ร่วมเข้าทำลาย นอกจากจะทำความเสียหายกับผลผลิตโดยตรงแล้วยังทำให้ขาดแหล่งโปรตีนและไวตามินที่สำคัญสำหรับประชากรในบางประเทศ เนื่องจากคนเหล่านั้นรับประทานใบมันสำปะหลังแทนผัก ฉะนั้น โรคใบไหม้จึงมีความสำคัญเป็นอันดับ 1 ในแถบอัฟริกา และลาตินอเมริกา สำหรับประเทศทางแถบเอเชีย เช่น ประเทศจีน และประเทศไทย ความเสียหายจัดอยู่ในระดับปานกลาง

ลักษณะอาการเริ่มแรก

แสดงอาการใบจุดเหลี่ยมฉํ่านํ้า ใบไหม้ ใบเหี่ยว ยางไหลจนถึงอากยอดเหี่ยวและแห้งตายลงมา นอกจากนี้ยังทำให้ระบบท่อนํ้าอาหารของลำต้นและรากเน่า

ท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค

แสดงอาการ คือ ยอดที่ผลิตใหม่ เหี่ยว มียางไหล และมีอาการแห้งตายจากยอดอย่างรวดเร็ว และแพร่ระบาดไปยังต้นข้างเคียง ซึ่งมักจะแสดงอาการเป็นจุดชํ้าเล็กที่ต้นแล้วแผลขยายใหญ่เปลี่ยนเป็นสีนํ้าตาลเข้มลุกลามเป็นแผลใหญ่ บางครั้งจะพบวงสีเหลือง (yellow halo) ลามเป็นใบไหม้ และใบร่วง ลำต้นแห้งตาย เมื่อผ่าดูระบบท่อนํ้าและอาหารทั้งของลำต้น และรากจะมีสีคลํ้า เนื่องจากเนื้อเยื่อของส่วนนี้ถูกทำลาย ในบางครั้งจะพบอาการยางไหลบนส่วนลำต้นที่ยังอ่อนหรือก้านใบ และแผลจุดบนใบ พบระบาดมากได้ในช่วงฤดูฝน

การแพร่ระบาดของโรคที่สำคัญ

คือ ติดไปกับท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค แพร่กระจายไปโดยฝนหรือกับดิน หรือกับเครื่องมือที่ใช้ในการเกษตร เช่น มีดที่ใช้ในการตัดท่อนพันธุ์ ในบางประเทศมีรายงานว่า แมลงเป็นตัวการในการแพร่ระบาด เชื้อสาเหตุของโรคสามารถอยู่รอดในดินบนเศษซากพืชได้นานกว่า 2 ปี

การป้องกันกำจัด

1. ใช้พันธุ์ต้านทาน พันธุ์ที่แนะนำในปัจจุบัน มีความต้านทานต่อโรคปานกลาง

2. ใช้ท่อนพันธุ์ที่ปราศจากเชื้อ

3. ปลูกพืชอายุสั้นเป็นพืชหมุนเวียน หรือหลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในแปลงที่ระบาดรุนแรงนาน 6 เดือน

4. ใช้ชีววิธี (Biological control) การฉีดพ่นเชื้อบักเตรีเรืองแสง เช่น Pseudomonas fluorescens บนใบมันสำปะหลังพันธุ์ Mcol 22 ซึ่งอ่อนแอต่อโรคใบไหม้ ทำให้จำนวนจุดบนใบและจำนวนใบไหม้ต่อต้นลดลง และทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น 2.7 เท่า

อ้างอิง
กรมวิชาการเกษตร
kubotasolutions.com/ knowledge/cassava/detail/52

สินค้าแนะนำ จากฟาร์มเกษตร

ไอเอส สารอินทรีย์ป้องกันและยับยั้งเชื้อรา ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน เพื่อเร่งให้มันสำปะหลังฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลงได้เร็วยิ่งขึ้น

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3583
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มันสำปะหลังใบไหม้ ฉีดพ่นด้วยไอเอส และบำรุงให้ฟื้นตัวได้รวดเร็ว ด้วย FK-1
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มันสำปะหลังใบไหม้ ฉีดพ่นด้วยไอเอส และบำรุงให้ฟื้นตัวได้รวดเร็ว ด้วย FK-1
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง มันสำปะหลังใบไหม้ ฉีดพ่นด้วยไอเอส และบำรุงให้ฟื้นตัวได้รวดเร็ว ด้วย FK-1
โรคใบไหม้มันสำปะหลัง (Cassava Bacterial Blight : CBB)

เกิดจากเชื้อ Xanthomonas campestris pv. manihotis มีรายงานการพบครั้งแรกในประเทศบราซิลในปี 2455 หลังจากนั้นมีรายงานการแพร่ระบาดเกือบทุกประเทศที่มีการปลูกมันสำปะหลังทั้งทวีปเอเชียและลาตินอเมริกา ในประเทศไทยพบครั้งแรกที่จังหวัดระยอง เมื่อปี 2518 และต่อมาพบทั่วทุกภาค ระดับความเสียหายเนื่องจากโรคนี้มีตั้งแต่ 30 เปอร์เซ็นต์ เมื่อใช้ท่อนพันธุ์จากต้นที่เป็นโรคถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเกิดโรคและใช้ต้นพันธุ์ที่เป็นโรคติดต่อกัน 3 ถึง 4 ปี โดยไม่มีการป้องกันกำจัด อาจมีความเสียหายถึง 80 เปอร์เซ็นต์ ระดับความเสียหายจะขึ้นอยู่กับเปอร์เซ็นต์การใช้ท่อนพันธุ์ที่มีเชื้อปะปนมา (Contaminated cutting) ปลูกในแปลงและความเสียหายอาจรุนแรงถึง 90 เปอร์เซ็นต์ เมื่อมีเชื้อโรค เช่น เชื้อ Colletrotrichum spp. และ Choanephora cucurbitarum ร่วมเข้าทำลาย นอกจากจะทำความเสียหายกับผลผลิตโดยตรงแล้วยังทำให้ขาดแหล่งโปรตีนและไวตามินที่สำคัญสำหรับประชากรในบางประเทศ เนื่องจากคนเหล่านั้นรับประทานใบมันสำปะหลังแทนผัก ฉะนั้น โรคใบไหม้จึงมีความสำคัญเป็นอันดับ 1 ในแถบอัฟริกา และลาตินอเมริกา สำหรับประเทศทางแถบเอเชีย เช่น ประเทศจีน และประเทศไทย ความเสียหายจัดอยู่ในระดับปานกลาง

ลักษณะอาการเริ่มแรกของ อาการมันสำปะหลังใบไหม้ ซึ่งมีสาเหตุจากเชื้อรา

แสดงอาการใบจุดเหลี่ยมฉํ่านํ้า ใบไหม้ ใบเหี่ยว ยางไหลจนถึงอากยอดเหี่ยวและแห้งตายลงมา นอกจากนี้ยังทำให้ระบบท่อนํ้าอาหารของลำต้นและรากมันสำปะหลังเน่า


ท่อนพันธุ์มันสำปะหลังที่เป็นโรค เป็นอีกสาเหตุ ที่ทำให้เกิดโรคใบไหม้ ควรคัดเลือกที่มาของท่อนพันธุ์ที่นำมาปลูก จากแปลงที่ไม่มีโรคระบาด

มันสำปะหลังจะแสดงอาการ คือ ยอดที่ผลิตใหม่ เหี่ยว มียางไหล และมีอาการแห้งตายจากยอดอย่างรวดเร็ว และแพร่ระบาดไปยังต้นข้างเคียง ซึ่งมักจะแสดงอาการเป็นจุดชํ้าเล็กที่ต้นแล้วแผลขยายใหญ่เปลี่ยนเป็นสีนํ้าตาลเข้มลุกลามเป็นแผลใหญ่ บางครั้งจะพบวงสีเหลือง (yellow halo) ลามเป็นใบไหม้ และใบร่วง ลำต้นแห้งตาย เมื่อผ่าดูระบบท่อนํ้าและอาหารทั้งของลำต้น และรากจะมีสีคลํ้า เนื่องจากเนื้อเยื่อของส่วนนี้ถูกทำลาย ในบางครั้งจะพบอาการยางไหลบนส่วนลำต้นที่ยังอ่อนหรือก้านใบ และแผลจุดบนใบ พบระบาดมากได้ในช่วงฤดูฝน

การแพร่ระบาดของโรคมันสำปะหลังใบไหม้ที่สำคัญ

คือ ติดไปกับท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค แพร่กระจายไปโดยฝนหรือกับดิน หรือกับเครื่องมือที่ใช้ในการเกษตร เช่น มีดที่ใช้ในการตัดท่อนพันธุ์ ในบางประเทศมีรายงานว่า แมลงเป็นตัวการในการแพร่ระบาด เชื้อสาเหตุของโรคสามารถอยู่รอดในดินบนเศษซากพืชได้นานกว่า 2 ปี

การป้องกันกำจัด โรคมันสำปะหลังใบไหม้

1. ใช้พันธุ์ต้านทาน พันธุ์ที่แนะนำในปัจจุบัน มีความต้านทานต่อโรคปานกลาง

2. ใช้ท่อนพันธุ์ที่ปราศจากเชื้อ

3. ปลูกพืชอายุสั้นเป็นพืชหมุนเวียน หรือหลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในแปลงที่ระบาดรุนแรงนาน 6 เดือน

4. ใช้ชีววิธี (Biological control) การฉีดพ่นเชื้อบักเตรีเรืองแสง เช่น Pseudomonas fluorescens บนใบมันสำปะหลังพันธุ์ Mcol 22 ซึ่งอ่อนแอต่อโรคใบไหม้ ทำให้จำนวนจุดบนใบและจำนวนใบไหม้ต่อต้นลดลง และทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น 2.7 เท่า

5. ฉีดพ่นด้วย ไอเอส เพื่อยังการเจริญเติบโตของเชื้อรา ไม่ให้ลุกลามแพร่ระบาด และหากให้พืชฟื้นตัวไว สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน

อ้างอิงข้อมูลจาก กรมวิชาการเกษตร
อ่าน:3432
แก้ปัญหาเพลี้ย กำจัดเพลี้ยด้วย มาคา แก้ใบไหม้ แก้โรคจาเชื้อรา ด้วย ไอเอส
แก้ปัญหาเพลี้ย กำจัดเพลี้ยด้วย มาคา แก้ใบไหม้ แก้โรคจาเชื้อรา ด้วย ไอเอส
มันสำปะหลัง โดน เพลี้ยไฟ ไรแดง เข้าทำลาย และลามไปเป็นโรค โรคใบไหม้ กิ่งเน่า รากเน่า ใช้ มาคา และไอเอส นะคะ
มาคา ราคา 470 บาท
ไอเอส ขนาด 3 ลิตร ราคา 900 บาท
ส่งฟรีกับเคอรี่ เก็บเงินปลายทาง
สั่งซื้อทักแชต หรือโทร 090-592-8614
LineID : Farmkaset

https://www.youtube.com/watch?v=_i4SkKzugW8
อ่าน:3458
ยาแก้โรครา ยาแก้โรคใบไหม้ ยาแก้หนอน ยาแก้เพลี้ย จาก ฟาร์มเกษตร สั่งซื้อ ไลน์ไอดี FarmKaset

น้องกุ๊ดจี่ มาแนะนำยาป้องกันและกำจัดโรคพืช กำจัดเพลี้ยแมลงศัตรูพืช กำจัดหนอนต่างๆ จากฟาร์มเกษตร ตามน้องกุ๊ดจี่มาได้เลยนะ

https://www.youtube.com/watch?v=M3ciPXhYZVg
อ่าน:3431
รักษาโรคใบไหม้ รักษาโรคใบจุด ใบเหลือง แห้งกรอบ โรคจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส3ลิตร 900บาท
รักษาโรคใบไหม้ รักษาโรคใบจุด ใบเหลือง แห้งกรอบ โรคจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส3ลิตร 900บาท

รักษาโรคพืชต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส โรคใบไหม้ โรคใบแห้ง โรคใบจุดสีน้ำตาล โรครากเน่าโคนเน่า โรคไหม้คอรวง ใช้ ไอเอส

สั่งซื้อได้ 3 ช่องทาง
โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี FarmKaset คลิกเพื่อแอดไลน์ http://line.me/ti/p/~FarmKaset เฟสบุ๊คแชทสั่งซื้อ https://www.facebook.com/farmkaset มีเจ้าหน้าที่คอยตอบตลอดเวลา

https://www.youtube.com/watch?v=nrwMtRhtD8s
อ่าน:3504
โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล ในช่วงอาการร้อนชื้น แดดจัด และมีฝนตกมาใบบางครั้ง
โรคใบไหม้ ใบจุดสีน้ำตาล ในช่วงอาการร้อนชื้น แดดจัด และมีฝนตกมาใบบางครั้ง
เฝ้าระวังโรคระบาดในช่วงอากาศร้อนชื้น เป็นสาเหตุให้โรคต่างๆจากเชื้อรา เกิดขึ้นและแพร่ระบาดไปได้อย่างรวดเร็ว ยกตัวอย่างโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ โรคใบติด เพราะใบไหม้ติดกันเป็นกระจุก โรคต่างๆเหล่านี้ล้วนมีสาเหตุจากเชื้อรา

คำว่าโรคระบาด หมายถึง เมื่อเป็นแล้วจะลุกลาม ขยายวงกว้างออกไปเรื่อยๆ หากไม่เร่งป้องกันกำจัด อาจจะติดต่อเป็นไปได้ทั้งสวน

สังเกตุอาการเริ่มแรก จะเห็นว่าใบเป็นแผลจุดคล้ายน้ำร้อนลวก และค่อยๆเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลขนาดโตขึ้น และลุกลามไปยังใบข้างๆ ขยายออกไป ติดต่อข้ามไปยังต้นอื่นๆ หากมีลมพัดเชื้อก็สามารถปลิวไปในอากาศ ไปติดต้นที่อยู่ไกลๆได้เช่นกัน

อาการใบหลุดร่วง ก็มีสาเหตุจากเชื้อราเข้าทำลายโคนก้านใบทำให้อ่อนแอแหละหลุดร่วงได้ หากเป็นรุนแรง ใบจะหลุดร่วงจนเหลือแต่กิ่ง จากนั้นกิ่งแห้ง เปราะหักง่าย เป็นอาการกิ่งแห้ง นี่ก็เป็นอีกโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อราเช่นกัน

ทุเรียนขั้วผลเน่า ผลร่วง ก็เป็นอีกโรคซึ่งมีสาเหตุจากเชื้อรา

การป้องกันและกำจัด

ทำการเก็บเศษใบ เศษกิ่งที่เป็นโรค ร่วงหล่น นำไปเผาทำลายนอกแปลง

ฉีดพ่น ไอเอส บริเวณใบ ทรงพุ่ม ลำต้น ฉีดพ่นลงดินรอบโคน และฉีดพ่นรอบบริเวณที่มีการระบาด
เนื่องจากเชื้อราเป็นโรคระบาดที่ปลิวฟุ้งในอากาศได้ จึงต้องฉีดพ่นป้องกันบริเวณโดยรอบ เพื่อยับยั้งการแพร่ระบาดลุกลามไปยังต้นอื่นๆ

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สำหรับป้องกันและยับยั้ง โรคพืชต่างๆที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา
อาทิเช่น โรคใบไหม้ ใบแห้ง ใบจุดสีน้ำตาล ใบจุดตากบ แคงเกอร์ ไฟท็อปโธร่า รากเน่า โคนเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

สกัดจากพืช ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ปลอดสารพิษ ไม่มีสารตกค้าง ใช้ฉีดพ่นเพื่อป้องกันและยับยั้งโรคพืชทุกชนิด ที่มีสาเหตุมากจากเชื้อรา

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset
หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/shop/farmkaset-limited-partnership/
อ่าน:3413
ทุเรียนใบไหม้ ในช่วงอาการร้อนชื้น แดดจัด และมีฝนตกมาใบบางครั้ง
ทุเรียนใบไหม้ ในช่วงอาการร้อนชื้น แดดจัด และมีฝนตกมาใบบางครั้ง
เฝ้าระวังโรคระบาดของทุเรียนในช่วงอากาศร้อนชื้น เป็นสาเหตุให้โรคต่างๆจากเชื้อรา เกิดขึ้นและแพร่ระบาดไปได้อย่างรวดเร็ว ยกตัวอย่างโรคทุเรียนที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ โรคใบติด เพราะใบทุเรียนไหม้ติดกันเป็นกระจุก โรคต่างๆเหล่านี้ล้วนมีสาเหตุจากเชื้อรา

คำว่าโรคระบาด หมายถึง เมื่อเป็นแล้วจะลุกลาม ขยายวงกว้างออกไปเรื่อยๆ หากไม่เร่งป้องกันกำจัด อาจจะติดต่อเป็นไปได้ทั้งสวน

สังเกตุอาการเริ่มแรก จะเห็นว่าใบทุเรียนเป็นแผลจุดคล้ายน้ำร้อนลวก และค่อยๆเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลขนาดโตขึ้น และลุกลามไปยังใบข้างๆ ขยายออกไป ติดต่อข้ามไปยังต้นอื่นๆ หากมีลมพัดเชื้อก็สามารถปลิวไปในอากาศ ไปติดต้นที่อยู่ไกลๆได้เช่นกัน

อาการใบหลุดร่วง ก็มีสาเหตุจากเชื้อราเข้าทำลายโคนก้านใบทำให้อ่อนแอแหละหลุดร่วงได้ หากเป็นรุนแรง ใบจะหลุดร่วงจนเหลือแต่กิ่ง จากนั้นกิ่งทุเรียนแห้ง เปราะหักง่าย เป็นอาการทุเรียนกิ่งแห้ง นี่ก็เป็นอีกโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อราเช่นกัน

ทุเรียนขั้วผลเน่า ทุเรียนผลร่วง ก็เป็นอีกโรคซึ่งมีสาเหตุจากเชื้อรา

การป้องกันและกำจัด

ทำการเก็บเศษใบทุเรียน เศษกิ่งที่เป็นโรค ร่วงหล่น นำไปเผาทำลายนอกแปลง

ฉีดพ่น ไอเอส บริเวณใบ ทรงพุ่ม ลำต้น ฉีดพ่นลงดินรอบโคน และฉีดพ่นรอบบริเวณที่มีการระบาด
เนื่องจากเชื้อราเป็นโรคระบาดที่ปลิวฟุ้งในอากาศได้ จึงต้องฉีดพ่นป้องกันบริเวณโดยรอบ เพื่อยับยั้งการแพร่ระบาดลุกลามไปยังต้นอื่นๆ

ไอเอส เป็นสารอินทรีย์สำหรับป้องกันและยับยั้ง โรคพืชต่างๆที่มีต้นเหตุจากเชื้อรา
อาทิเช่น โรคใบไหม้ ใบแห้ง ใบจุดสีน้ำตาล ใบจุดตากบ แคงเกอร์ ไฟท็อปโธร่า รากเน่า โคนเน่า และโรคต่างๆที่มีสาเหตุจากเชื้อรา

สกัดจากพืช ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค ปลอดสารพิษ ไม่มีสารตกค้าง ใช้ฉีดพ่นเพื่อป้องกันและยับยั้งโรคพืชทุกชนิด ที่มีสาเหตุมากจากเชื้อรา

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า https://www.lazada.co.th/products/fk-3-i388594842-s754764572.html
อ่าน:3450
635 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 63 หน้า, หน้าที่ 64 มี 5 รายการ
|-Page 62 of 64-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ฮิวมิค แอซิด: เทคโนโลยีใหม่สำหรับฟื้นฟูระบบรากและปรับปรุงดินในการปลูกมะปราง
Update: 2567/02/13 09:52:05 - Views: 3443
ต้นกาแฟ ใบไหม้ !! ใบจุด รากเน่า โรคแอนแทรคโนส ราสนิม โรคราต่างๆ ป้องกันและกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วยปุ๋ย FK-T
Update: 2567/03/20 14:17:55 - Views: 3540
กุหลาบ โตไว ใบเขียว ดอกสวย แข็งแรง ผลผลิตดี อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/04 14:28:35 - Views: 3529
โรคทานตะวัน ทานตะวันใบไหม้ โรคใบจุดทานตะวัน โรคต่างๆจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/09/21 21:25:13 - Views: 3469
โรคราแป้ง (Powdery mildew) โรคราแป้งในพริก ราแป้งมะเขือ
Update: 2564/08/09 22:28:26 - Views: 3905
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO: เคล็ดลับสำหรับการเร่งการออกดอกและเร่งรากของต้นพริก
Update: 2567/02/12 14:05:19 - Views: 3475
โป๊ยเซียน การปลูก การเลี้ยง และการดูแลรักษา
Update: 2564/09/04 02:56:30 - Views: 3580
ยาป้องกัน กำจัด หนอนพุทรา หนอนชมพู่ หนอนฝรั่ง หนอนทุกชนิด ใช้ได้ทุกพืช ไอกี้-บีที + FK-1 บำรุง ฟื้นตัว สร้างภูมิฯ 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
Update: 2564/08/10 12:14:40 - Views: 3741
สาระน่ารู้เกี่ยวกับค่า REI
Update: 2565/02/25 01:46:07 - Views: 3426
ทำความรู้จักกับโรคเชื้อราในต้นองุ่น: สาเหตุ อาการ และวิธีป้องกัน
Update: 2566/11/10 08:46:56 - Views: 3595
เคล็ดลับการใช้ปุ๋ยทางใบมะนาว: การเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของมะนาวด้วยวิธีทางใบ
Update: 2566/11/09 13:58:29 - Views: 3517
สารอินทรีย์ ป้องกันกำจัดเพลี้ย มาคา แก้ปัญหา เพลี้ย และแมลงปากดูดต่างๆ ฉีดพ่น มาคา
Update: 2564/03/07 12:32:03 - Views: 3605
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยจักจั่น ในดอกทานตะวัน และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/08 08:57:57 - Views: 3435
ทุเรียนใบไหม้ ใบจุด แอนแทรคโนส โคนเน่า ราแป้ง ราสีชมพู โรคต่างๆจากเชื้อรา แก้ด้วย ไอเอส
Update: 2562/08/18 15:11:54 - Views: 4828
แตงโมใบไหม้ แตงโมใบแห้ง โรคราแตงโม แก้ด้วย ไอเอส
Update: 2564/08/12 00:07:53 - Views: 4049
ควบคุมวัชพืชในสวนกระเจี๊ยบด้วยคาร์รอน (Diuron 80% WG): วิธีการและคำแนะนำที่มีประสิทธิภาพ
Update: 2567/02/13 09:11:45 - Views: 3473
กำจัด โรคผลเน่า ในต้นทุเรียน แก้ปัญหาโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส สารอินทรีย์คุณภาพสูง จาก FK ขนาด 250 ซีซี
Update: 2566/05/23 14:01:08 - Views: 3505
🔥ข้าวโพดใบไหม้ มันสำปะหลังใบไหม้ โรคไหม้ในพืชนั้น มีสาเหตุจากเชื้อรา ใช้ ไอเอส
Update: 2564/07/08 13:49:54 - Views: 3442
มะระจีนใบเหลือง เกิดจากสาเหตุอะไร มะระใบไหม้ ต้องแก้อย่างไร
Update: 2564/04/25 08:09:26 - Views: 3989
ป้องกัน กำจัด โรคผลเน่าในทุเรียน อาการทุเรียนผลเน่า (Fruit Rot)
Update: 2564/04/24 21:38:16 - Views: 4007
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022