[sort by : last post | top views]..
+ โพสเรื่องใหม่ | ^ เลือกหน้า | ค้นคำว่า - เพลี้ย
645 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 64 หน้า, หน้าที่ 65 มี 5 รายการ

ยารักษาโรค ยาปราบแมลงศัตรูพืช สำหรับต้นหอม ปุ๋ยสำหรับหอมแดง หอมแบ่ง หอมหัวใหญ่
ยารักษาโรค ยาปราบแมลงศัตรูพืช สำหรับต้นหอม ปุ๋ยสำหรับหอมแดง หอมแบ่ง หอมหัวใหญ่
โรคหอมเลื้อย
โรคหอมเลื้อย ระบาดทำความเสียหายในฤดูฝน เกิดโรครุนแรงกับหอมหัวใหญ่เกิด โรคปานกลางกับหอมแดง และหอมแบ่งที่ปลูกเพื่อเก็บหัวทำพันธุ์ เป็นโรคเดียวกับโรคใบเน่าแอนแทรคโนส ชนิดที่เกิดจากเชื้อรา C. gloeosporioides โดยเชื้อราชนิดนี้ทำให้เกิดอาการ ใบเน่า และอาการเลื้อยไม่ลงหัวด้วย สำหรับกุยช่ายเป็นโรคใบเน่าแอนแทรคโนส แต่ไม่แสดงอาการเลื้อย

ยังยั้ง ป้องกัน โรคของหอมต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคหอมเลื้อย แอนแทรคโนส โรคใบจุด ฯลฯ โดยการฉีดพ่นด้วย ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด

หนอนกระทู้หอม

บางครั้งเรียก หนอนหลอดหอม หนอนหอม หรือหนอนหนังเหนียว เป็นแมลงจำพวกผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็ก พบการระบาดอย่างรุนแรงช่วงเดือนเมษายน- มิถุนายน เป็นแมลงศัตรูที่ทำลายพืชสำคัญทางเศรษฐกิจมากมายหลายชนิด

ลักษณะของหนอนกระทู้หอม จะมีลำตัวอ้วน ผนังลำตัวเรียบมีหลายสี เช่น เขียวอ่อน เทาปนดำ น้ำตาลดำ น้ำตาลอ่อน ด้านข้างจะมีแถบสีขาวพาดตามความยาวลำตัวด้านละแถบ จากส่วนอกจนถึงปลายสุดลำตัว เมื่อตัวเต็มวัยจะเป็นผีเสื้อขนาดกลางสีน้ำตาลปนเทา มีวงจรชีวิตประมาณ 30-35 วัน

ป้องกันและกำจัด หนอนกระทู้หอม ฉีดพ่นด้วย ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด

เพลี้ยไฟ ต้นเหตุของอาการ ใบลาย ในหอม

หลายครั้งคิดว่า หอมเป็นโรค แต่แท้จริงแล้วเป็นอาการที่ถูกเพลี้ยไฟเข้าทำลาย เนื่องจากเพลี้ยไฟมีขนาดตัวที่เล็กมาก ทำให้ยากต่อการสังเกตเห็น โดยลักษณะอาการที่แสดงบนใบหอมจะลายๆเหมือนในรูปตัวอย่าง ทำให้ผลผลิตไม่เป็นที่ต้องการของตลาด และจำหน่ายไม่ได้ราคา ทั้งยังเป็นช่องทางให้เชื้อแบคทีเรียเข้าทำลายซ้ำที่ลอยแผลได้อีกด้วย

ป้องกันและกำจัด เพลี้ย ต่างๆ ฉีดพ่นด้วย มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด หากฉีดเฉพาะต้นที่เป็น เพลี้ยก็ย้ายไปอยู่บริเวณข้างเคียงโดยรอบ ฉนั้น ควรฉีดพ่นให้คลอบคลุมทั้งแปลง

ปุ๋ยเร่งการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิต สำหรับต้นหอม

FK-1 ใช้เร่งโต เสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง เพิ่มผลิต

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน กับยารักษาโรคพืช และยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช จะช่วยให้พืช ฟื้นตัวได้เร็ว จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง และกลับมาเจริญเติบโต ได้อย่างสมบูรณ์แข็งแรง

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3929
เพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด และแมลงศัตรูพืชต่างๆ ในพืชตระกูลแตง แก้ด้วย มาคา
เพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด และแมลงศัตรูพืชต่างๆ ในพืชตระกูลแตง แก้ด้วย มาคา
เพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด และแมลงศัตรูพืชต่างๆ ในพืชตระกูลแตง แก้ด้วย มาคา

เพลี้ยชนิดต่างๆ แมลงจำพวกปากดู และแมลงศัตรู้พืช ในแต่งกวา แตงร้าน แตงไทย แตงโม แคลตาลูป เมล่อน และเพลี้ย หรือแมลง ในพืชตระกูลแตงทุกชนิด ป้องกันและกำจัด โดยการฉีดพ่น มาคา

.

มาคา สำหรับป้องกัน กำจัดแมลงศัตรูพืช ปลอดสารพิษ เป็นสารอัลคาลอยด์ที่สกัดจากพืช 5 ชนิด ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค

.

.

สนใจ โทรสั่งซื้อ 090-592-8614

ไลน์ไอดี FarmKaset หรือ ไอดี PrimPB

สั่งทางเฟสบุ๊คได้เช่นกัน https://www.facebook.com/farmkaset

หรือลาซาด้า เลือก มาคา https://www.lazada.co.th/..

อ่าน:3504
ปุ๋ยสำหรับอ้อย เพื่อบำรุงผลผลิต การแก้โรคอ้อย ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ป้องกันกำจัดเพลี้ย ในไร่อ้อย
ปุ๋ยสำหรับอ้อย เพื่อบำรุงผลผลิต การแก้โรคอ้อย ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ป้องกันกำจัดเพลี้ย ในไร่อ้อย
ผู้ปลูกอ้อย มีความชำนาญด้านการใช้ปุ๋ยเม็ดกับไร่อ้อย เป็นทุนเดิมอยู่แล้ว ในครั้งนี้ เป็นการใช้ ปุ๋ยน้ำ เพื่อบำรุงอ้อย ให้เจริญเติบโตดี เพิ่มผลผลิต เพิ่มน้ำหนัก เร่งค่า CCS หรือค่าความหวาน เพื่อให้ขายอ้อยได้ราคาขึ้น

ฉีดพ่นทางใบ เพื่อเร่งการเจริญเติบโต เพิ่มความเขียว สมบูรณ์แข็งแรง เร่งการย่างปล้องให้เร็วขึ้น ฉีดพ่นด้วย FK-1 สามารถฉีดพ่นได้ตั้งแต่อ้อยมีอายุ 15 วัน ไปจนถึง 3 เดือน ฉีดพ่นได้ทุกๆ 15-30 วัน

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง
สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร
ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

เมื่ออ้อย เข้าสู่ระยะ 4 เดือนแล้ว เปลี่ยนมาใช้ FK-3S สำหรับอ้อยโดยเฉพาะ ตัว FK-3S นี้ จะเน้นไปที่ธาตุ โพแตสเซียม สูงกว่าธาตุอื่นๆ เพื่อส่งเสริมกระบวนการสะสมแป้งและน้ำตาล ทำให้อ้อยขยายขนาดลำได้ใหญ่ขึ้น และมีค่าความหวาน หรือค่า CCS ที่สูงขึ้น ได้น้ำหนักดี สามารถฉีดพ่นได้ในช่วงอายุ 4-6 เดือน ฉีดพ่นทุก 15-30 วัน ตามความเหมาะสม

ป้องกัน กำจัดเพลี้ยอ้อย เพลี้ยอ่อน และเพลี้ยต่างๆในไร่อ้อย
ฉีดพ่นด้วย มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด หากฉีดเฉพาะต้นที่เป็น เพลี้ยก็ย้ายไปอยู่บริเวณข้างเคียงโดยรอบ ฉนั้น ควรฉีดพ่นให้คลอบคลุมทั้งแปลง

ยับยั้งโรคอ้อย ที่มีสาเหตุจากเชื้อราต่างๆ เช่น โรคแซ่ดำ ใบจุดวงแหวน ราสนิม เน่าคออ้อย
ฉีดพ่นด้วย ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด

การฉีดพ่น มาคา เพื่อกำจัดเพลี้ย หรือ ไอเอส เพื่อยับยั้งโรครา สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมกัน เพื่อเร่งให้พืชฟื้นตัวได้รวดเร็วยิ่งขึ้น และกลับมาเจริญเติบโต สมบูรณ์แข็งแรง

อ่าน:4223
ปุ๋ยสำหรับข้าว ปุ๋ยเพิ่มผลผลิตข้าว ยาแก้โรคใบไหม้ เน่าคอรวง ยากำจัดเพลี้ยในนาข้าว
ปุ๋ยสำหรับข้าว ปุ๋ยเพิ่มผลผลิตข้าว ยาแก้โรคใบไหม้ เน่าคอรวง ยากำจัดเพลี้ยในนาข้าว
การให้ปุ๋ยข้าว เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดีนั้น ต้องให้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารเหมาะสม สอดคล้องกับช่วงอายุของการเจริญเติบโตของข้าว ยกตัวอย่างเช่น ในช่วงข้าวเริ่มงอก ไปจนก่อนตั้งท้อง เราควรให้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารที่เน้นไปทางส่งเสริมการเจริญเติบโต ส่งเสริมระบบราก เพื่อให้ดูดกินอาหารได้ดี และเพิ่มความเขียว เพื่อให้ต้นข้าวสังเคราะห์แสงได้ดี ทำให้ข้าวโตไวและแข็งแรง หากเราเน้นให้ปุ๋ยที่มีธาตุอาหารที่เร่งกระบวนการเพิ่มผลผลิตในช่วงนี้ จะสิ้นเปลือง เพราะต้นข้าวจะไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่

ในทางกลับกัน ในระยะข้าวตั้งท้อง ควรลดปริมาณการให้ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูง และเพิ่มโพแตสเซียมให้มากขึ้น เพื่อที่จะส่งเสริมกระบวนการลำเลียงสะสมแป้งและน้ำตาล เพื่อให้ข้าวออกรวงได้ยาว มีเมล็ดเต็ม มีน้ำหนัก ส่งผลให้ผลผลิตข้าวมีคุณภาพ และได้ผลผลิตในปริมาณที่สูงขึ้น

ฉีดพ่นด้วย FK-1 สำหรับข้าวหลังปลูก ไปจนถึงก่อนข้าวตั้งท้อง สามารถฉีดพ่นได้ต่อเนื่องทุกๆ 7-15 วัน เพื่อช่วยเร่งการเจริญเติบโต เร่งการแตกกอ เพิ่มความเขียวสมบูรณ์ แข็งแรงให้กับต้นข้าว

อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

ข้าวเริ่มตั้งท้อง เปลียนมาฉีดพ่นด้วย FK-3R ซึ่งมีคุณสมบัติแตกต่างจาก FK-1 ตรงที่ FK-3R นั้น เน้นธาตุโพแตสเซียมสูง 40 เปอร์เซ็นต์ โพแตสเซียมนี้ จะส่งเสริมกระบวนการลำเลียง เคลื่อนย้ายแป้งและน้ำตาล มาสะสมเป็นเมล็ดข้าว ข้าวที่เราปลูกนั้นจะมีรวงยาว เมล็ดเต็ม ได้ผลผลิตดี มีน้ำหนัก อัตราการใช้ FK-3R นั้น เป็นเช่นเดียวกันกับ FK-1 สามารถฉีดพ่นได้ต่อเนื่องทุกๆ 7-15 วัน ตามความเหมาะสมของผู้ปลูก

ยายับยังโรคข้าวต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา
โรคไหม้ โรคใบจุดสีน้ำตาล โรคใบขีดสีน้ำตาล โรคใบวงสีน้ำตาล โรคกาบใบแห้ง โรคกาบใบเน่า โรคเมล็ดด่าง โรคขอบใบแห้ง โรคใบแถบแดง โรคกล้าเน่า โรคลำต้นเน่า
ฉีดพ่นด้วย ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด

ยากำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูข้าว
เพลี้ยไฟข้าว เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล เพลี้ยกระโดดหลังขาว เพลี้ยจักจั่นสีเขียว เพลี้ยจักจั่นปีกลายหยัก
ใช้ มาคา ยาอินทรีย์ สารอัลคาลอยด์ ป้องกัน กำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูข้าว ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500ซีซี ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด

ยากำจัดหนอนต่างๆ ในนาข้าว
หนอนกอข้าว หนอนแมลงวันเจาะยอดข้าว หนอนกระทู้กล้า หนอนห่อใบข้าว หนอนปลอกข้าว หนอนกระทู้คอรวง
ใช้ ไอกี้-บีที สารชีวินทรีย์ ป้องกันกำจัดหนอน ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงที่มีการระบาด
อ่าน:3456
โบรชัวร์ ยาอินทรีย์ ยาแก้โรคพืช และกำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช จาก ฟาร์มเกษตร
โบรชัวร์ ยาอินทรีย์ ยาแก้โรคพืช และกำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช จาก ฟาร์มเกษตร
สนใจสั่งได้เลยนะคะ
อ่าน:3431
เพลี้ยจักจั่นสีเขียว (green rice leafhopper) การป้องกัน และกำจัด
เพลี้ยจักจั่นสีเขียว (green rice leafhopper) การป้องกัน และกำจัด
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Nephotettix virescens (Distant)
วงศ์ : Cicadellidae
อันดับ : Homoptera
ชื่อสามัญอื่น : -

เพลี้ยจักจั่นสีเขียวเป็นแมลงจำพวกปากดูด ที่พบทำลายข้าวในประเทศไทยมี 2 ชนิด คือ Nephotettix virescens (Distant) และ Nephotettix nigropictus (Stal) ตัวเต็มวัยของแมลงทั้ง 2 ชนิดมีสีเขียวอ่อนและอาจมีแต้มดำบนหัวหรือปีก ขนาดลำตัวยาวไม่แตกต่างกัน ต่างกันตรงที่ N. nigropictus (Stal) มีขีดดำพาดตามความยาวของขอบหน้าผากระหว่างตาทั้ง 2 ข้าง แต่ N. virescens (Distant) ไม่มี ตัวเต็มวัยไม่มีชนิดปีกสั้น เคลื่อนย้ายรวดเร็วเมื่อถูกรบกวน สามารถบินได้เป็นระยะทางไกลหลายกิโลเมตร ชอบบินมาเล่นไฟตอนกลางคืน โดยเฉพาะช่วงฤดูฝนตั้งแต่เดือนมิถุนายน ถึง ตุลาคม เพศเมียวางไข่ในกาบใบข้าว วางไข่เป็นกลุ่ม 8-16 ฟอง ไข่วางใหม่ๆมีสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน ต่อมากลายเป็นสีน้ำตาลและมีจุดสีแดง ระยะไข่นาน 5-8 วัน ตัวอ่อนมีสีเหลืองหรือสีเขียวอ่อน ตัวอ่อนมี 5 ระยะ ระยะตัวอ่อนนาน 14-15 วัน ระยะตัวเต็มวัยประมาณ 10 วัน

ลักษณะการทำลาย

เพลี้ยจักจั่นสีเขียวอพยพเข้าแปลงข้าวทันทีหลังจากเป็นต้นกล้า และมีปริมาณมากที่สุดในช่วงการเจริญเติบโตทางลำต้นและใบ ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบและลำต้นข้าว ทำให้ข้าวชะงักการเจริญเติบโตและอาจแห้งตายได้ถ้ามีปริมาณมาก และเป็นแมลงพาหะนำโรคใบสีส้ม (yellow orange leaf virus) มาสู่ข้าว ทำให้ต้นข้าวแคระแกร็น ใบเหลือง ข้าวออกรวงไม่สม่ำเสมอ เมล็ดลีบ โดยปรกติอาศัยอยู่ส่วนบนของต้นข้าวในตอนเข้า และย้ายลงมาด้านล่างของต้นข้าวในตอนบ่าย ตัวเต็มวัยและตัวอ่อนจะแพร่กระจายออกไปไม่อยู่รวมกันเป็นกลุ่ม โดยทั่วไปจึงไม่พบจำนวนประชากรมากถึงระดับทำให้ข้าวแห้งตายได้ ฤดูกาลปลูกข้าวครั้งหนึ่งเพลี้ยจักจั่นสามารถดำรงชีวิตได้ 3-4 ชั่วอายุ ตัวเต็มวัยสามารถดักจับได้จากกับดักแสงไฟ มักพบระบาดในฤดูฝนที่สภาพต้นข้าวเจริญดีเหมาะต่อการขยายพันธุ์

ลักษณะต้นข้าวที่เป็นโรคใบสีส้ม

ศัตรูของข้าว พบในข้าวนาปีมากกว่านาปรัง ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบข้าว และเป็นแมลงพาหะนำโรคใบสีส้มมาสู่ข้าว

พืชอาหาร

ข้าว หญ้าข้าวนก หญ้าไซ ข้าวป่า

การป้องกันกำจัด

1). ใช้แสงไฟล่อแมลงและทำลายเมื่อมีการระบาดรุนแรง
2). ปลูกข้าวพร้อม ๆ กัน และปล่อยพื้นนาว่างไว้ระยะหนึ่ง เพื่อตัดวงจรชีวิตของแมลง
3). ปลูกข้าวพันธุ์ต้านทาน กข4 กข9 กข21 กข23 สุพรรณบุรี 60 สุพรรณบุรี 90 พิษณุโลก 2 ชุมแพ 60 เก้ารวง 88 แก่นจันทร์ นางพญา 132 พวงไร่
4). ใช้สารฆ่าแมลงตามคำแนะนำในตารางที่ 2 เมื่อมีการระบาดของโรคใบสีส้ม

อ้างอิง
ricethailand.go.th/ Rkb/disease%20and%20insect/ index.php-file=content.php &id=47.htm
อ่าน:3675
3 หลักปฏิบัติ กำจัด โรคใบด่างมันสำปะหลัง โดย กรมส่งเสริมการเกษตร

การแพร่ระบาดของโรคใบด่างมันสำปะหลัง เกิดจากการใช้ท่อนพันธุ์ที่เป็นโรค และแมลงหวี่ขาวยาสูบนำเชื้อไวรัสจากต้นเป็นโรคไปสู่ต้นปกติ หากพบการระบาดต้องแจ้งเจ้าหน้าที่สำนักงานเกษตรอำเภอ / สำนักงานเกษตรจังหวัดใกล้บ้านทันที!!! เพื่อตรวจวินิจฉัย

อย่างไรก็ดี มี 3 หลักการปฏิบัติเพื่อกำจัดโรคใบด่างมันสำปะหลัง คือ
1) สำรวจแปลงอยู่เสมอ
2) กำจัดต้นเป็นโรค
3) คัดเลือกท่อนพันธุ์สะอาด

อ้างอิง
สำนักงานเลขานุการกรม กรมส่งเสริมการเกษตร จัดทำโดยศูนย์วิทยบริการ เพื่อส่งเสริมการเกษตร

สินค้าจากฟาร์มเกษตร

ดังที่กล่าวไว้ตามข้อมูลในคลิปวีดีโอ โรคใบด่างมันสำปะหลังนั้น เป็นแล้วรักษาไม่ได้ แต่มีแมลงหวี่ขาว และเพลี้ยต่างๆ เป็นแมลงพาหะ สิ่งที่เราทำได้คือการ ป้องกัน กำจัด แมลงพาหะ โดยการฉีดพ่นด้วย มาคา

มาคา ยาอินทรีย์ป้องกันและกำจัด เพลี้ย และแมลงจำพวกปากดูดต่างๆ มาคา เป็น สารอัลคาลอยด์ สกัดจากพืช ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน เพื่อเร่งให้มันสำปะหลังฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลงได้เร็วยิ่งขึ้น

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)

https://www.youtube.com/watch?v=1Vwuq1IeHTc
อ่าน:3419
แมลงศัตรูพืช ในมันสำปะหลัง เราป้องกันและกำจัดได้อย่างไรบ้าง?
แมลงศัตรูพืช ในมันสำปะหลัง เราป้องกันและกำจัดได้อย่างไรบ้าง?
ศัตรูมันสำปะหลังที่สำคัญ
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ

1. ประเภทปากดูด ทำความเสียหายโดยดูดกินน้ำเลี้ยงจากส่วนต่าง ๆ ของพืช ได้แก่ ไรแดง เพลี้ยแป้ง แมลงหวี่ขาว และเพลี้ยหอยขาว ศัตรูพืชดังกล่าวมี
ความสำคัญอย่างมากในช่วงพืชยังเล็ก อากาศแห้งแล้งเป็นเวลานาน ซึ่งมีผลกระทบต่อความงอก การเจริญเติบโต และการสร้างหัวของมันสำปะหลัง

2. ประเภทปากกัด ทำความเสียหายโดยกัดกินส่วนต่าง ๆ ของพืช ได้แก่ ปลวก แมลงนูนหลวง และด้วงหนวดยาว ซึ่งทำลายท่อนพันธุ์ ราก ลำต้นและหัว มีผลกระทบต่อความงอกของท่อนพันธุ์ การเจริญเติบโต การสร้างหัวและหัวถูกทำลาย

สรุปแนวทางการป้องกันกำจัดศัตรูมันสำปะหลัง
การระบาดของศัตรูมันสำปะหลังโดยทั่วไปแล้วจะเป็นการเกิดแบบครั้งคราวและเกิดเป็นหย่อมๆหรือกลุ่ม ศัตรูมันสำปะหลังจะขยายปริมาณเป็นบริเวณกว้างออกไปหากสภาพแวดล้อมเอื้ออำนวย การป้องกันกำจัดควรใช้วิธีการต่างๆผสมผสานกัน ได้แก่

1. โดยวิธีเขตกรรมหรือวิธีกล
1.1 การไถพรวนพื้นที่ปลูกหลายครั้ง เพื่อตากดิน หรือเพื่อให้หนอน ดักแด้ของศัตรูพืชในดินเป็นอาหารของนกและสุนัข
1.2 การเก็บศัตรูพืชด้วยมือ ได้แก่ เก็บตัวเต็มวัยทำลาย หรือทำเป็นอาหาร การเก็บส่วนของพืชที่มีศัตรูพืชนำมาทำลาย เพื่อลดปริมาณศัตรูพืชไม่ให้แพร่กระจาย

2. ศัตรูธรรมชาติ
มีศัตรูธรรมชาติหลายชนิดที่ควบคุมปริมาณของศัตรูพืชให้อยู่ในระดับสมดุลตามธรรมชาติ ในกรณีที่ไม่มีการระบาดของศัตรูพืช

3. การป้องกันกำจัดโดยสารเคมี
ควรใช้เฉพาะกรณีที่เกิดการระบาดของศัตรูพืชอย่างรวดเร็ว รุนแรง และมีโอกาสทำความเสียหายกับพืชได้ เช่น การเจริญเติบโต หรือการสร้างหัวของพืช การใช้สารเคมีควรใช้เฉพาะบริเวณที่ศัตรูพืชทำลายเท่านั้น

4. การกักพืช
ปัจจุบันศัตรูมันสำปะหลังยังไม่มีมากชนิด และไม่อยู่ในระดับอันตราย นอกจากนี้พืชชนิดนี้ยังสามารถ ทนแล้ง ปรับสภาพและชดเชยผลผลิตทดแทนต้นใกล้เคียงได้ ดังนั้นควรคำนึงถึงการนำเข้ามันสำปะหลังจากต่างประเทศ ซึ่งประเทศที่มีการผลิตมันสำปะหลังทั่วโลกนั้นปัญหาด้านศัตรูพืชมีความสำคัญมาก

อ้างอิง
http://web.sut.ac.th/
สินค้าแนะนำ จากฟาร์มเกษตร

มาคา ยาอินทรีย์ป้องกันและกำจัด เพลี้ย และแมลงจำพวกปากดูดต่างๆ มาคา เป็น สารอัลคาลอยด์ สกัดจากพืช ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร

สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน เพื่อเร่งให้มันสำปะหลังฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลงได้เร็วยิ่งขึ้น

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3506
มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 72 และ KU 50 ทนต่อโรคใบด่าง และควรเลือกใช้ท่อนพันธุ์ จากแหล่งที่ปลอดโรค หยุดการแพร่ระบาด โรคมันสำปะหลังใบด่าง ได้เป็นอย่างดี
มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 72 และ KU 50 ทนต่อโรคใบด่าง และควรเลือกใช้ท่อนพันธุ์ จากแหล่งที่ปลอดโรค หยุดการแพร่ระบาด โรคมันสำปะหลังใบด่าง ได้เป็นอย่างดี
นางสาวเสริมสุข สลักเพ็ชร อธิบดีกรมวิชาการเกษตร เผยถึงสถานการณ์การระบาดของโรคใบด่างมันสำปะหลัง รายงานล่าสุดพบการระบาดใน 15 จังหวัด ได้แก่ อุบลราชธานี_ ศรีสะเกษ_ สุรินทร์_ บุรีรัมย์_ นครราชสีมา_ ปราจีนบุรี_ ฉะเชิงเทรา_ ชลบุรี_ กาญจนบุรี_ สระแก้ว_ ระยอง_ นครสวรรค์_ ลพบุรี_ ขอนแก่น และมหาสารคาม คิดเป็นพื้นที่ 55_924 ไร่ ได้ทำลายต้นมันสำปะหลังที่เป็นโรคไปแล้ว 13_111 ไร่ ซึ่งจังหวัดที่พบการระบาดเพิ่มขึ้น มีสาเหตุมาจากการใช้ท่อนพันธุ์ติดโรคที่มาจากแหล่งระบาดของโรค

แต่จากการสำรวจการระบาดของโรคใบด่างมันสำปะหลังในจังหวัดนครราชสีมา พบว่ามีการระบาดของโรคใบด่างลดลง เนื่องจากทางจังหวัดได้ออกประกาศการควบคุมการขนย้ายต้นพันธุ์ ท่อนพันธุ์ หลักเกณฑ์และวิธีการในการขออนุญาต และวิธีการขนย้ายต้นพันธุ์ ท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง ซึ่งเป็นการป้องกันและหยุดยั้งการแพร่ระบาดของโรคไม่ให้แพร่ระบาดไปยังพื้นที่อื่น

เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันไม่ให้ระบาดเพิ่มขึ้น อธิบดีกรมวิชาการเกษตรแนะนำแหล่งซื้อท่อนพันธุ์มันสำปะหลังสะอาดในพื้นที่ไม่พบการระบาดใน 38 จังหวัด ได้แก่ กาฬสินธุ์_ กำแพงเพชร_ จันทบุรี_ ชัยนาท_ ชัยภูมิ_ เชียงราย_ เชียงใหม่_ ตาก_ นครนายก_ นครพนม_ นราธิวาส_ น่าน_ บึงกาฬ_ ปทุมธานี_ ประจวบคีรีขันธ์_ พะเยา_ พิจิตร_ พิษณุโลก_ เพชรบุรี_ เพชรบูรณ์_ แพร่_ มุกดาหาร_ ยโสธร_ ร้อยเอ็ด_ ราชบุรี_ ลำปาง_ ลำพูน_ เลย_ สกลนคร_ สระบุรี_ สุโขทัย_ สุพรรณบุรี_ หนองคาย_ หนองบัวลำภู_ อำนาจเจริญ_ อุดรธานี_ อุตรดิตถ์ และอุทัยธานี

“การที่จะป้องกันกำจัดวงจรการระบาดของโรคใบด่างมันสำปะหลังได้อย่างมีประสิทธิภาพ ต้องแก้ที่สาเหตุสำคัญของการระบาดที่เพิ่มขึ้น จึงขอย้ำเตือนเกษตรกรทั้ง 53 จังหวัดที่ปลูกมันสำปะหลัง ให้เลือกซื้อท่อนพันธุ์มันสำปะหลังจากแหล่งที่ไม่มีการระบาดตามที่แนะนำ และไม่ควรใช้พันธุ์ 89 ที่อ่อนแอต่อโรคใบด่าง ให้ปลูกพันธุ์ ระยอง 72 หรือ KU 50 จะมีความทนต่อโรคใบด่างมากกว่า เพราะที่ผ่านมาทั้งสองพันธุ์นี้ ยังไม่เคยพบการเข้าทำลายของโรคใบด่างเลย” นางสาวเสริมสุข กล่าว.

อ้างอิง
thairath.co.th/ news/society/1682011

สินค้าจากฟาร์มเกษตร

จากการรวมรวมข้อมูล จากบทความต่างๆ จากหลายแหล่งข้อมูลพบว่า โรคใบด่างมันสำปะหลังนั้น อีกสาเหตุหนึ่งที่สำคัญคือมี เพลี้ยต่างๆ เป็นแมลงพาหะ ที่นำโรคใบด่างมันสำปะหลังจากแปลงข้างเคียง หรือบริเวณใกล้เคียงที่มีการระบาด นำมาติดในไร่ของเรา การป้องกันกำจัดโรคใบด่าง สามารถกำจัดได้ที่ต้นเหตุอีกอย่างหนึ่ง คือการกำจัด เพลี้ย แมลงพาหะ โดยการฉีดพ่นด้วย มาคา

มาคา สารอัลคาลอยด์ เป็นยาอินทรีย์ สำหรับป้องกันและกำจัดเพลี้ย สกัดจากพืช ผสมในอัตราส่วน 50 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ 500 ซีซี ต่อน้ำ 200 ลิตร และสามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน เพื่อเร่งให้มันสำปะหลังฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลงได้เร็วยิ่งขึ้น

FK-1 ใช้บำรุงให้ฟื้นตัวจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง เร่งโต และเสริมสร้างความสมบูรณ์แข็งแรง

สามารถผสม FK-1 ผสมฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน อัตราการใช้ FK-1 แกะกล่องออกมามี 2 ถุง ผสมตัวยาจากสองถุงใช้พร้อมกัน ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร หรือ 500กรัม ต่อน้ำ 200ลิตร

ใน FK-1 นั้นประกอบด้วย ธาตุหลัก Nitrogen(ไนโตรเจน) 20%_ Phosphorus(ฟอสฟอรัส) 20%_ Potassium(โพแตสเซียม) 20% และธาตุรอง Magnesium(แมกนีเซียม) พร้อมธาตุเสริม Zinc(สังกะสี) และ Sticking ‎agents (สารลดแรงตรึงผิว หรือสารจับใบนั่นเอง)
อ่าน:3579
กำจัดเพลี้ยด้วย แมลงช้างปีกใส กำจัดเพลี้ย เพลี้ยแป้ง ตัวอ่อนเพลี้ยหอย เพลี้ยไฟ เพลี้ยไก่แจ้ ไรแดง แมลงหวี่ขาว แมลงช้างปีกใสจัดการเรียบ
กำจัดเพลี้ยด้วย แมลงช้างปีกใส กำจัดเพลี้ย เพลี้ยแป้ง ตัวอ่อนเพลี้ยหอย เพลี้ยไฟ เพลี้ยไก่แจ้ ไรแดง แมลงหวี่ขาว แมลงช้างปีกใสจัดการเรียบ
ศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง แมลงช้างปีกใส

ชื่อทั่วไป : แมลงช้างปีกใส (Green lacewing)
วงศ์ (Family) : Chrysopidae
อันดับ (Order) : Neuroptera

เป็นแมลงห้ำที่มีบทบาทในการป้องกันกำจัดแมลงศัตรูพืช โดยตัวอ่อนของแมลงช้างปีกใส เป็นตัวห้ำที่กินศัตรูพืชได้หลายชนิด เช่นเพลี้ยอ่อย เพลี้ยแป้ง ตัวอ่อนเพลี้ยหอย เพลี้ยไฟ เพลี้ยไก่แจ้ส้ม ไรแดง ไร 2 จุด และตัวอ่อนแมลงหวี่ขาว เป็นต้นทำให้แมลงช้างปีกใสเป็น เป็นตัวห้ำสำคัญที่ช่วยควบคุมแมลงศัตรูพืชในแปลงเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจในประเทศ

ตัวเต็มวัยเพศเมีย หลังจากผสมพันธุ์ 2-3 วัน ก็จะเริ่มวางไข่เป็นฟองเดี่ยวๆ ระยะไข่ใช้เวลา 3-4 วัน ระยะตัวอ่อนมี 3 วัย ตัวอ่อนวัยที่ 1_ 2 และ 3 ใช้เวลา 4-5 วัน 3-4 วัน และ 3-5 วัน ตามลําดับ รวมระยะตัวอ่อน 11-13 วัน ระยะดักแด้ 9-11 วัน ตัวเต็มวัยเพศผู้มีอายุ 14-30 วัน สําหรับเพศ เมียมีอายุ 19-58 วัน เพศเมีย 1 ตัว สามารถวางไข่ได้ 180-345 ฟอง

วงจรชีวิตของแมลงช้างปีกใส

รูปร่างลักษณะ

ไข่ มีลักษณะเป็นทรงยาวรี ขนาดเล็ก ความยาวเฉลี่ย 0.98 มิลลิเมตร ความกว้างเฉลี่ย 0.24 มิลลิเมตร เป็นฟองเดี่ยวๆ อยู่บนก้านสีขาวใส วางเป็นระเบียบเป็นแถวรอบใบพืช ไข่วางใหม่ๆ มีสีเขียวอ่อน เมื่อใกล้ฟักจะเปลี่ยนเป็นสีเทาดํา เมื่อฟักแล้วจะเป็นสีขาว มีอายุประมาณ 3-4 วัน

ตัวอ่อน มีลักษณะลําตัวกลมแบน เห็นชัดเจนในระยะที่ 3 โดยรอบลําตัวมีปุ่มขน ปากมีกรามโค้งยาวยื่นไปด้านหน้าคล้ายเคียว ใช้ดูดกินเหยื่อ เมื่อฟักเป็นตัวอ่อนวัยที่ 1 จะเป็นตัวห้ำทันที มีการลอกคราบเปลี่ยนวัย ตัวอ่อนทั้งหมด 3 วัย

ตัวอ่อนวัยที่ 1 เมื่อฟักออกจากไข่ใหม่ๆ มีสีน้ำตาลอ่อน ลําตัวเรียวเล็ก ว่องไว จะไต่ลงมาทางก้านชูไข่ ความยาวลําตัวเฉลี่ย 1.56 มิลลิเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ย 0.48 มิลลิเมตร

ตัวอ่อนวัยที่ 2 รอบลําตัวเริ่มมีซากของเพลี้ยแป้งเกาะ ความยาวลําตัวเฉลี่ย 3.25 มิลลิเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ย 2.32 มิลลิเมตร

ตัวอ่อนวัยที่ 3 ขนาดลําตัวโตอย่างรวดเร็วเห็นได้ชัดกว่าระยะอื่นๆ กินอาหารเก่ง รอบลําตัวมีผงแป้งเกาะ คล้ายเพลี้ยแป้งมาก ความยาวลําตัวเฉลี่ย 7.23 มิลลิเมตร ความกว้างโดยเฉลี่ย 3.40 มิลลิเมตร

ดักแด้ มีรูปร่างกลม ตัวอ่อนวัย 3 จะขดตัวสร้างเส้นใยสีขาวปกคลุมลําตัว จะเข้าดักแด้ติดกับใบพืช ความกว้างของดักแด้โดยเฉลี่ย 3.02 มิลลิเมตร ความยาวโดยเฉลี่ย 4.67 มิลลิเมตร

ตัวเต็มวัย มีปีก 2 คู่ เป็นปีกแบบบางอ่อน (membrane) เนื้อปีกใส มีเส้นปีกจํานวนมาก ลําตัวสีเขียวอ่อน เพศผู้ มีสีลําตัวจางกว่าเล็กน้อย และตัวเล็กกว่าเพศเมีย ความกว้างลําตัวเพศเมีย เฉลี่ย 2.25 มิลลิเมตร ความยาวลําตัว โดยเฉลี่ย 10.53 มิลลิเมตร ความกว้างลําตัวเพศผู้เฉลี่ย 1.55 มิลลิเมตร ความยาวลําตัวโดยเฉลี่ย 10.01 มิลลิเมตร ตัวเต็มวัยมีกลิ่นเฉพาะตัวค่อนข้างแรง

แหล่งข้อมูลอ้างอิง
กรมวิชาการเกษตร
kubotasolutions.com/ knowledge/cassava/detail/455
อ่าน:3566
645 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 64 หน้า, หน้าที่ 65 มี 5 รายการ
|-Page 61 of 65-|
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 | 11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 | 21 | 22 | 23 | 24 | 25 | 26 | 27 | 28 | 29 | 30 | 31 | 32 | 33 | 34 | 35 | 36 | 37 | 38 | 39 | 40 | 41 | 42 | 43 | 44 | 45 | 46 | 47 | 48 | 49 | 50 | 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 |


โทร 090-592-8614
ไลน์ไอดี @FarmKaset

กลุ่มสินค้าขายดีมาก

ฮิวมิค FK
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
ไทอะมีทอกแซม
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ
แพนน่อน
สั่งซื้อได้ที่ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
สั่งกับ TikTok | แอดไลน์สั่งซื้อ


กลุ่มทางใบปุ๋ยประสิทธิภาพสูง
*โปรดอ่าน ใช้ FK-1 ในช่วงแรก เพื่อเร่งโต เร่งราก เร่งดอก จับคู่กับ FK-3 ในช่วงเร่งผลผลิต พืชออกผลทุกชนิด ใช้ FK-1 กับ FK-3, นาข้าว ใช้ FK-1 กับ FK-3R (Rice), ไร่อ้อย ใช้ FK-1 กับ FK-3S (Sugarcane), มันสำปะหลัง ใช้ FK-1 กับ FK-3C (Cassava)

FK-1
สั่ง FK-1 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3
สั่ง FK-3 กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3S
สั่ง FK-3S กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3R
สั่ง FK-3R กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK-3C
สั่ง FK-3C กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มอินทรีย์ ปุ๋ย ยาปราบฯ
ที่ขายดีที่สุดบน ลาซาด้า

FKT250-IS250-499B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 1ลิตร
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 3ลิตร
สั่งไอเอส3ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
มาคา
สั่งมาคากับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอกี้-บีที
สั่งไอกี้-บีทีกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L
สั่ง FK-T 1ลิตร กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FK ธรรมชาตินิยม
สั่งFK-T 250ซีซี กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
ไอเอส ขนาด 250ซีซี
สั่งไอเอสกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-IS1L-970B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-MAKA-980B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
FKT1L-AiKi-990B
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มเคมียาปราบฯประสิทธิภาพสูง

invet
สั่ง อินเวท กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
metalaxyl
สั่ง เมทาแลคซิล กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
carron
สั่ง คาร์รอน กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้


กลุ่มปุ๋ยทางใบผสมสูตรเองได้
เว็บระบบคำนวณการผสมปุ๋ย


starfer 30-20-5
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 10-40-10
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
starfer 15-5-30
สั่งกับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้
maxza
สั่ง แม็กซ่า กับ | ลาซาด้า | ช้อปปี้



บริษัท ห้องปฏิบัติการกลาง (ประเทศไทย) จำกัด
Central Laboratory (Thailand) Co.,Ltd.

ให้บริการตรวจวิเคราะห์
ตรวจฉลากโภชนาการ
ตรวจสารสำคัญกัญชา/กัญชง
ตรวจน้ำใช้ในกระบวนการผลิต
ฟอร์มขอใบเสนอราคา
สำหรับตรวจวิเคราะห์อื่นๆ ผลิตภัณฑ์อาหาร ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช่อาหาร (ตรวจวิเคราะห์ได้ทุกอย่าง) โปรดกรอก ฟอร์มขอใบเสนอราคา
ตรวจขึ้นทะเบียนปุ๋ยเคมี
ตรวจสารพิษตกค้างเพื่อการส่งออก
ตรวจผักสดปลอดเชื้อจุลินทรีย์ E. coli, Salmonella spp.
ส่งตัวอย่างมะละกอ เพื่อการทดสอบการดัดแปลงพันธุกรรม
ส่งตัวอย่างเพื่อทดสอบ ปริมาณอะฟลาทอกซินในเมล็ดแมงลัก ลูกเดือย และพริกแห้ง เพื่อส่งออกนอกราชอาณาจักร
Hardline Test Application
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด | ปุ๋ยทุเรียน | ปุ๋ยมันสำปะหลัง | ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย | ปุ๋ยนาข้าว | ปุ๋ยยางพารา | ปุ๋ยมะพร้าว | ปุ๋ยข้าวโพด | ปุ๋ยปาล์ม | ปุ๋ยสับปะรด | ปุ๋ยถั่วเหลือง | ปุ๋ยพริกไทย | ปุ๋ยกาแฟ | ปุ๋ยมะนาว | ปุ๋ยส้ม | ปุ๋ยลำไย | ปุ๋ยลิ้นจี่ | ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง | ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว | ปุ๋ยมังคุด | ปุ๋ยมันฝรั่ง | ปุ๋ยหอมหัวใหญ่ | ปุ๋ยกระเทียม | ปุ๋ยหอมแดง | ปุ๋ยมะเขือเทศ | ปุ๋ยกล้วยไม้ | ปุ๋ยอินทผลัม | ปุ๋ยน้อยหน่า | ปุ๋ยชมพู่ | ปุ๋ยเงาะ | ปุ๋ยมะม่วง | ปุ๋ยมะขาม | ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้ | ทุเรียนใบติด | มันสำปะหลังใบไหม้ | โรคอ้อยใบไหม้ | ข้าวใบไหม้ | ยางพาราใบไหม้ | โรคมะพร้าวใบไหม้ | โรคราน้ำค้างข้าวโพด | ปาล์มใบไหม้ | โรคสับปะรด | โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟใบไหม้ | ราสนิมมะนาว | ส้มใบไหม้ | ลำไยใบไหม้ | ลิ้นจี่ใบไหม้ | หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้ | กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย | โรคใบจุดมังคุด | มันฝรั่งใบใหม้ | โรคหอมเลื้อย | โรคใบจุดกระเทียม | โรคหอมแดง | ราแป้งมะเขือเทศ | โรคจุดสนิมกล้วยไม้ | อินทผลัมใบไหม้ | น้อยหน่าดอกร่วง | ชมพู่ใบไหม้ | เงาะใบไหม้ | มะม่วงใบไหม้ | ราแป้งมะขาม | โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยทุเรียน | เพลี้ยมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยข้าว | เพลี้ยยางพารา | เพลี้ยมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยสับปะรด | เพลี้ยถั่วเหลือง | เพลี้ยพริกไทย | เพลี้ยกาแฟ | เพลี้ยมะนาว | เพลี้ยส้ม | เพลี้ยลำไย | เพลี้ยลิ้นจี่ | เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยมังคุด | เพลี้ยมันฝรั่ง | เพลี้ยหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยกระเทียม | เพลี้ยหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยกล้วยไม้ | เพลี้ยอินทผาลัม | เพลี้ยน้อยหน่า | เพลี้ยชมพู่ | เพลี้ยเงาะ | เพลี้ยมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้ | โรคทุเรียน | โรคมันสำปะหลัง | โรคอ้อย | โรคข้าว | โรคยางพารา | โรคมะพร้าว | โรคข้าวโพด | โรคปาล์ม | โรคสับปะรด | โรคถั่วเหลือง | พริกไทยใบไหม้ | โรคกาแฟ | โรคมะนาว | โรคส้ม | โรคลำไย | โรคลิ้นจี่ | โรคหน่อไม้ฝรั่ง | โรคกระเจี๊ยบเขียว | โรคมังคุด | โรคมันฝรั่ง | โรคหอม | โรคกระเทียม | โรคหอมแดง | โรคมะเขือเทศ | โรคกล้วยไม้ | โรคอินทผาลัม | โรคน้อยหน่า | โรคชมพู่ | โรคเงาะ | โรคมะม่วง | โรคมะขาม | โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด | เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน | เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง | เพลี้ยอ้อย | เพลี้ยศัตรูข้าว | เพลี้ยแป้งยางพารา | เพลี้ยศัตรูมะพร้าว | เพลี้ยข้าวโพด | เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน | เพลี้ยแป้งสับปะรด | เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง | เพลี้ยแป้งพริกไทย | เพลี้ยแป้งกาแฟ | เพลี้ยไฟมะนาว | เพลี้ยไฟส้ม | เพลี้ยแป้งลำไย | เพลี้ยแป้งลิ้นจี่ | เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง | เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว | เพลี้ยไฟมังคุด | เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง | เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่ | เพลี้ยไฟกระเทียม | เพลี้ยไฟหอมแดง | เพลี้ยมะเขือเทศ | เพลี้ยไฟกล้วยไม้ | เพลี้ยแป้งอินทผาลัม | เพลี้ยแป้งน้อยหน่า | เพลี้ยไฟชมพู่ | เพลี้ยแป้งเงาะ | เพลี้ยจักจั่นมะม่วง | เพลี้ยมะขาม | เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช | กำจัดหนอนทุเรียน | กำจัดหนอนมันสำปะหลัง | กำจัดหนอนกออ้อย | กำจัดหนอนในนาข้าว | กำจัดหนอนในสวนยางพารา | กำจัดหนอนมะพร้าว | กำจัดหนอนข้าวโพด | กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน | กำจัดหนอนสับปะรด | กำจัดหนอนถั่วเหลือง | กำจัดหนอนพริกไทย | กำจัดหนอนกาแฟ | กำจัดหนอนมะนาว | กำจัดหนอนส้ม | กำจัดหนอนลำไย | กำจัดหนอนลิ้นจี่ | กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง | กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว | กำจัดหนอนมังคุด | กำจัดหนอนมันฝรั่ง | กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่ | กำจัดหนอนกระเทียม | กำจัดหนอนหอมแดง | กำจัดหนอนมะเขือเทศ | กำจัดหนอนกล้วยไม้ | กำจัดหนอนอินทผาลัม | กำจัดหนอนน้อยหน่า | กำจัดหนอนชมพู่ | กำจัดหนอนเงาะ | กำจัดหนอนมะม่วง | กำจัดหนอนมะขาม | กำจัดหนอนพริก
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025


ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
การใช้สารอินทรีย์ และ ธาตุอาหารพืช เพื่อต่อสู้และป้องกัน โรคข้าวใบไหม้ อย่างได้ผล
Update: 2566/01/07 12:37:38 - Views: 3417
การป้องกันและจัดการโรคผลเน่าในทุเรียน: วิธีการปรับปรุงดูแลและลดความเสี่ยง
Update: 2566/11/11 09:22:37 - Views: 3422
ถั่วเขียวระวัง หนอนแมลงวันเจาะลำต้นถั่ว หนอนกระทู้ผัก หนอนม้วนใบ
Update: 2564/08/14 05:22:15 - Views: 3665
ไม่ต้องซื้อละ! ปุ๋ยใส่นาข้าวหลังหว่าน สูตร 16-20-0 ดีมากเลย.. แต่รู้ยัง? ใช้แม่ปุ๋ยผสมเอง ถูกกว่า
Update: 2566/02/01 07:28:57 - Views: 3494
ยาฆ่าเพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด ใน กระเจี๊ยบเขียว เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK
Update: 2566/03/16 10:49:37 - Views: 3421
หนอนหมากเม่า การป้องกันกำจัดหนอนหมากเม่า ตัดแต่งกิ่งให้โปร่ง และใช้ยาชีวินทรีย์ปลอดภัย เพื่อป้องกันกำจัดหนอน
Update: 2564/03/21 22:02:29 - Views: 3536
เพลง มันสำปะหลังพืชเศรษฐกิจ
Update: 2567/06/08 07:19:32 - Views: 3582
การต่อสู้กับเชื้อราแตงกวา: การป้องกันและกำจัดอย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2566/05/15 09:45:18 - Views: 3402
หนอนกอ หนอนคืบกะหล่ำ หนอนชอนใบ หนอนม้วนใบ ในพืชต่างๆ ใช้สินค้าจาก FK
Update: 2565/06/16 20:06:52 - Views: 3403
หนอนทานตะวัน หนอนเจาะดอกทานตะวัน หนอนต่างๆ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที
Update: 2564/09/21 23:16:10 - Views: 3452
ปุ๋ยสำหรับอ้อย ทดแทนปุ๋ยเม็ด คุณภาพสูง ยารักษาโรคอ้อย อ้อยใบไหม้ หนอนกออ้อย แก้เพลี้ย เลือกซื้อกับ ฟาร์มเกษตร
Update: 2565/05/18 19:54:11 - Views: 3464
โรคทุเรียนต่างๆ ทุเรียนใบไหม้ ราสีชมพูในทุเรียน โรคทุเรียนก้านธูป เชื้อราต่างๆ ใช้ ไอเอส
Update: 2566/10/28 12:25:31 - Views: 10468
โรคทุเรียนใบติด ใบไหม้ ใบจุด โรคราต่างๆ ใช้ ไอเอส1 หยุดโรค + FK-1 ฟื้นฟู บำรุง สร้างภูมิคุ้มกันโรค 1ชุด ใช้ได้ 5ไร่
Update: 2564/08/23 06:43:42 - Views: 3423
โรคใบด่างถั่วเขียว
Update: 2564/08/12 00:14:45 - Views: 3471
เงาะ ผลใหญ่ ด้วย ปุ๋ย สตาร์เฟอร์ 0-0-60 โพแทสเซี่ยม สูตรเร่งผล เพิ่มผลผลิต ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก และคุณภาพ
Update: 2567/04/24 15:53:00 - Views: 3480
ที่สุดของ ปุ๋ยเร่งผลลำไย ปุ๋ยลำไย ที่ให้ โพแทสเซียม มากถึง 40% เร่งผลโต น้ำหนักดี โปรดอ่านวิธีใช้
Update: 2565/02/13 20:22:30 - Views: 3422
ต้นหม่อน ใบร่วง ใบไหม้ ราแป้ง กำจัดโรค เชื้อราต่างๆในต้นหม่อน ปลอดสารพิษ ไอเอส และ FK-T(ใช้ได้ทุกพืช)โดย FK สวน ปุ๋ย ศัตรูพืช
Update: 2565/11/09 09:59:03 - Views: 3439
ผักสลัด โตไว ใบเขียว ผลผลิตดี มีน้ำหนัก อะมิโนโปรตีนจำเป็นสำหรับพืช 18 ชนิด อะมิโนแรปเตอร์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/03/30 16:04:00 - Views: 3465
เพิ่มประสิทธิภาพการเจริญเติบโตของดอกเข็มด้วยปุ๋ยสตาร์เฟอร์ สูตร 10-40-10+3 MgO: ความลับในการเร่งการออกดอกและรากของต้นดอกเข็ม
Update: 2567/02/12 14:05:50 - Views: 3685
กำจัด โรคราดำ ในต้นทุเรียน แก้ปัญหาโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ไอเอส สารอินทรีย์คุณภาพสูง จาก FK ขนาด 250 ซีซี
Update: 2566/05/23 10:56:29 - Views: 3425
GA4 © FarmKaset.ORG | สถาบันอนุญาโตตุลาการ : 2022