หน้าแรก
บทความ
สินค้า
ตามสินค้า
ติดต่อเรา
Central Lab ห้องปฏิบัติการกลาง
iLab ตรวจดิน
รับจ้างผลิตปุ๋ยยาฯOEM
แอพผสมปุ๋ย
English
📱 ติดตั้งแอพมือถือ ฟาร์มเกษตร ฟรี!ไม่มีเงื่อนไข
(รวมแอพผสมปุ๋ย และแอพเกษตรอื่นๆไว้ในแอพนี้)
พิมพ์คำค้นหา หรือลองคลิกตัวอย่าง >
มันสำปะหลัง
,
ข้าว
,
อ้อย
,
ทุเรียน
,
กัญชา
,
ข้าวโพด
,
ปาล์ม
,
ยางพารา
,
อินทผลัม
,
โรคใบไหม้
,
ราสนิม
,
เพลี้ย
,
ยาแช่ท่อนพันธุ์
[sort by :
last post
|
top views
]
..
+ โพสเรื่องใหม่
|
^ เลือกหน้า
|
ค้นคำว่า - โรคใบไหม้
636 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 63 หน้า, หน้าที่ 64 มี 6 รายการ
กรุณากรอกหัวข้อ
พิมพ์คำว่า ฟาร์มเกษตร
พิมพ์คำว่า ฟาร์มเกษตร
ชมพู่แดง ชมพู่ทับทิมจันทร์ เร่งโต เพิ่มผลผลิต ป้องกันโรค และแมลง และหนอน
ป้องกันกำจัดหนอนในชมพู่ ฉีดพ่น ไอกี้-บีที ในอัตราส่วน 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร
ป้องกันกำจัดโรคชุมพู่ โรคใบไหม้ โรคราสนิม และโรคต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา ฉีดพ่น ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
แมลง เพลี้ย รบกวน เข้าทำลายชมพู่ ฉีดพ่น มาคา ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
ส่งเสริมการเจริญเติบโต และผลผลิตของชมพู ฉีดพ่น FK-1 [FK-1 แกะกล่องมาจะมีสองถุง ถุงแรกเป็นธาตุหลัก ถุงที่สองเป็นสารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ต้องใช้พร้อมกันทั้งสองถุง ถุงละ 50กรัม ต่อน้ำ 20ลิตร]
อ่าน:3799
ไม้ดอกเป็นโรค ไม้กระถางเป็นโรค ลักษณะอาการโรค ของไม้ดอก ไม้ประดับ ไม้กระถาง
ลักษณะอาการของโรค
อาการของโรคของไม้ดอกกระถาง หรืออาการผิดปกติซึ่งเกิดจากสาเหตุต่าง ๆ ของแสดงอาการได้หลายแบบในเวลาเดียวกัน หรือแสดงอาการผิดปกติอย่างใดอย่างหนึ่งบนต้นพืชต้นเดียวกัน หรือปรากฏอาการบนส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วนของต้นพืช เช่น ปรากฏอาการเป็นแผลจุด แผลไหม้ อาการเน่า อาการเหี่ยว บนราก ลำต้น กิ่งก้าน ใบ ดอก ผล เมล็ด หรืออาจปรากฏอาการทั้งต้น
อาการโรคของไม้ดอกไม้กระถาง มีลักษณะอาการผิดปกติได้ ดังนี้
1. อาการที่ราก
1.1 โรครากเน่า รากเกิดอาการเน่าดำหรือสีน้ำตาล เปลือกล่อนหลุดติดมือออกมา เนื่องจากเชื้อโรคเข้าทำลาย เช่น โรครากเน่า เป็นต้น
1.2 โรครากปม รากจะมีอาการพองออกเป็นปม โดยจะพองออกจากภายในรากมิใช่พองออกมาเพียงด้านใดด้านหนึ่ง เช่น โรครากปมของเยอบีร่าและอาฟริกันไวโอเลท
1.3 โรครากแผล เกิดแผลไปตามความยาวของราก โดยมีรอยสีน้ำตาล หรือน้ำตาลเข้ม ต่อมาจะเป็นช่องทางให้เชื้อต่าง ๆ เข้าทำลายซ้ำเติมได้ดีขึ้น สาเหตุของรากแผลส่วนมากเกิดจากการทำลายของไส้เดือนฝอย
1.4 โรครากกุด รากกุดสั้นเป็นกระจุก ไม่ยืดยาวออกตามปกติ เช่น โรครากกุดของเข็มญี่ปุ่นซึ่งเกิดจากการทำลายของไส้เดือนฝอย
2. อาการที่ลำต้นและกิ่งก้าน
2.1 โรคเน่าคอดิน อาการแบบนี้ใช้เรียกเฉพาะกรณีที่เกิดกับต้นกล้า โดยจะพบแผลเน่าบริเวณโคนต้นที่อยู่ติดกับผิวดิน ทำให้ต้นหักล้มและแห้งตายเป็นหย่อม ๆ เช่น ต้นกล้าของไม้ดอกไม้ประดับหลายชนิดที่พบเน่าตายในแปลงเพาะกล้า โรคนี้เกิดจากเชื้อรา
2.2 โรคโคนเน่า อาการเน่ามีแผลเป็นสีน้ำตาลบริเวณโคนต้น ถ้าถากเปลือกดูจะเห็นว่าใต้เปลือกมีอาการเน่าเป็นสีน้ำตาล เช่น โรคโคนเน่าของปาล์มและกล้วยไม้ เป็นต้น ส่วนมากโรคนี้จะเกิดจากเชื้อรา
2.3 โรคลำต้นเน่า แผลที่พบบริเวณโคนต้นจะขยายลุกลามไปรอบลำต้น ทำให้เปลือกรอบ ๆ ลำต้นเน่า และต้นไม้ตายทั้งต้น หรือบางครั้งเชื้อเข้าทำลายบริเวณลำต้นที่มีความชื้นสูงอยู่เสมอ เช่น บริเวณคาคบไม้ โรคนี้ส่วนมากเกิดจากเชื้อรา เช่น โรคลำต้นเน่าของโป๊ยเซียน เป็นต้น
2.4 โรคยางไหล จะมีอาการยางไหลออกมาจากลำต้น โดยบริเวณดังกล่าวจะมีรอยแผลช้ำ มียางไหลออกมาตามรอยแผลนั้น เช่น โรคยางไหลของแคคตัส ซึ่งเกิดจากเชื้อรา
2.5 โรคปุ่มปม เกิดอาการเป็นก้อนปุ่มปมขึ้นบริเวณกิ่งและลำต้น ส่วนมากเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย
3. อาการที่ใบ
3.1 โรคใบจุด เกิดจุดแผลที่ใบ รูปร่างแตกต่างกันไปในรายละเอียด แล้วแต่สาเหตุที่เข้าทำลาย ขนาดของแผลเป็นเพียงจุดบนใบ อาจเกิดกระจายกันทั่วทั้งใบ ถ้าเกิดจุดแผลมาก ๆ อาจจะทำให้ใบแห้งได้ โรคใบจุดของพืชส่วนมากเกิดจากเชื้อราและแบคทีเรีย เช่น โรคใบจุดของเยอบีรา โรคใบจุดของกุหลาบ โรคใบจุดของเบจมาศ เป็นต้น
3.2 โรคใบไหม้ เกิดแผลแห้งตาย มีขนาดของแผลใหญ่กว่าอาการใบจุด ขอบเขตขอบแผลจะกว้างขวางกว่า การไหม้อาจเกิดที่กลางใบ ปลายใบ หรือขอบใบก็ได้ ส่วนมากเกิดจากเชื้อราและแบคทีเรีย เช่น โรคใบไหม้ของเฟื้องฟ้า เป็นต้น
3.3 โรคราสนิมเหล็ก แผลขนาดเล็ก สีสนิมโผล่เป็นตุ่มออกมาจากใบพืช ลักษณะคล้าย ๆ กับสีสนิมเหล็ก เมื่อเอามือลูบดูจะมีสปอร์ของเชื้อราติดมือเป็นสีสนิมเห็นได้ชัด โรคนี้เกิดจากเชื้อรา เช่น โรคราสนิมของทานตะวัน เป็นต้น
3.4 โรคราน้ำค้าง อาการของโรคนี้แตกต่างกัน ซึ่งพอจะแยกออกได้ดังนี้คือ อาการราน้ำค้างในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มักพบอาการใบลายสีเหลืองเขียวสลับกันตามความยาวของใบ ถ้าอากาศชื้น ๆ อุณหภูมิพอเหมาะจะพบผงสปอร์ของเชื้อสีขาว ๆ เกาะติดที่ใบ ในพืชตระกูลแตงจะเห็นใบมีอาการเป็นแผลจุดเหลี่ยมสีน้ำตาล ส่วนในพืชไม้ดอกต่าง ๆ จะเห็นเป็นใบจุดแผลสีเหลืองด้านบนใบ แต่ใต้ใบจะพบขุยสปอร์สีขาว ๆ โรคราน้ำค้างที่สำคัญ เช่น โรคราน้ำค้างของกุหลาบ เป็นต้น
3.5 โรคราแป้งขาว โรคนี้เกิดจากเชื้อรา โดยจะพบผงแป้งสีขาว ๆ เกาะติดที่ใบคล้าย ๆ กับเอาแป้งไปโรย ขึ้นปกคลุมกระจายตามส่วนต่าง ๆ ของใบหรือทั่วทั้งใบ ต่อมาใบจะเหลืองและแห้งตาย เช่น โรคราแป้งของบานชื่น และโรคราแป้งของกุหลาบ เป็นต้น
3.6 โรคแอนแทรคโนส ใบที่เกิดโรคนี้จะเป็นแผลแห้งสีน้ำตาล ส่วนมากจะเห็นเชื้อรามีลักษณะเรียงเป็นวงซ้อนกันเป็นชั้น ๆ ค่อนข้างชัดเจน ในพืชบางชนิดโรคนี้เกิดได้ทั้งบนใบ กิ่ง และผล สาเหตุเกิดจากเชื้อรา เช่น โรคแอนแทรคโนสของกล้วยไม้ มะลิ หน้าวัว เป็นต้น
3.7 โรคราดำ ใบที่เกิดโรคนี้จะมีผงคล้ายเขม่าดำคลุมผิวใบหรือส่วนอื่น ๆ ของพืช เมื่อใช้มือลูบจะหลุดออก เพราะเชื้อราชนิดนี้จะไม่แทงเข้าไปในใบพืช เพียงแต่ขึ้นปกคลุมผิวใบ ส่วนมากพบหลังการทำลายของเพลี้ยจั๊กจั่นและแมลงหวี่ขาว เพราะราชนิดนี้จะขึ้นเจริญบนน้ำหวานที่แมลงขับถ่ายออกมา
3.8 โรคเน่าเละ อาการคือ เน่าเละสีน้ำตาลอ่อน มีกลิ่นเหม็นรุนแรง เกิดได้ทั้งลำต้น ราก หัว และใบของพืช เมื่อเป็นโรคนี้พืชจะเน่าเละทั้งต้น หรือทั้งหัว สาเหตุเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เช่น โรคเน่าเละของกล้วยไม้รองเท้านารี แคคตัส โป๊ยเซียน เป็นต้น
3.9 โรคใบด่าง อาการใบด่างมีหลายลักษณะแล้วแต่สาเหตุที่ทำให้ด่าง อาจเกิดจากเชื้อไวรัส ขาดธาตุอาหาร หรือลักษณะกลายพันธุ์ของพืช สำหรับอาการใบด่างที่เกิดจากไวรัสส่วนมากมีสีเหลืองสลับเขียว เนื้อใบไม่เรียบ เป็นคลื่น และใบมีรูปร่างผิดปกติ เช่น โรคใบด่างเหลืองของฟิตูเนีย โรคใบด่างของกุหลาบ โรคใบด่างของมะลิ เป็นต้น
3.10 โรคแตกพุ่มฝอย บริเวณยอดจะแตกเป็นพุ่มฝอย โดยมีใบเล็ก ๆ รวมกันเป็นกระจุก โรคนี้เกิดจากเชื้อมายโคพลาสมา เช่น โรคแตกพุ่มฝอยของเยอบีรา ดาวเรือง เป็นต้น
4. อาการที่ดอก
พบอาการคล้าย ๆ กับที่เกิดบนใบ เช่น โรคดอกจุด ดอกไหม้ ดอกด่าง ดอกบิดเบี้ยวเสียรูปทรง ดอกเน่า และแอนแทรคโนส เป็นต้น โรคพวกนี้ส่วนมากเกิดจากเชื้อรา แบคทีเรีย และไวรัส เช่น โรคดอกสนิมของกล้วยไม้ โรคดอกด่างของแคทลียา โรคดอกเน่าของหน้าวัว เป็นต้น
5. อาการที่เกิดกับพืชทั้งต้น
5.1 โรคเหี่ยว ต้นพืชจะแสดงอาการเหี่ยวเฉาในลักษณะต่าง ๆ กัน เช่น การเกี่ยวเนื่องจากการขาดน้ำเมื่อได้น้ำก็จะฟื้นปกติ อาการเหี่ยวใบเหลืองลู่เนื่องจากเชื้อราไปทำลายท่อน้ำและอาหารของพืช อาการเหี่ยวแต่ใบยังเขียวอยู่ระยะหนึ่ง คือแมื่อแดดจัดก็จะเหี่ยว ต่อมาเมื่ออากาศเย็นลงก็จะฟื้นปกติ เป็นอยู่ระยะหนึ่งต่อจากนั้นก็จะเหี่ยวอย่างถาวร โรคนี้เกิดจากการทำลายของเชื้อราหลายชนิด และเชื้อแบคทีเรีย ตัวอย่างเช่น โรคเหี่ยวของฟิตูเนีย โรคเหี่ยวของบานชื่น โรคเหี่ยวของกล้วยไม้ โรคเหี่ยวของมะลิ เป็นต้น
5.2 ต้นพืชแคระแกร็น ต้นพืชจะแสดงอาการแคระแกร็นเมื่อเปรียบเทียบกับต้นปกติ ทั้งนี้อาจเนื่องจากการปฏิบัติดูแลรักษาไม่ดีพอ มีไส้เดือนฝอยหรือแมลงกัดทำลายราก หรือมีเชื้อโรคบางชนิด เช่น ไวรัสเข้าทำลาย ทำให้ต้นพืชไม่สามารถเจริญเติบโตตามปกติได้ มีดอกและผลน้อย
5.3 ต้นพืชเติบโตผิดปกติ โดยต้นที่เป็นโรคจะยืดสูงกว่าต้นปกติ สีเขียวอ่อนและไม่ออกดอก อาจเกิดเนื่องจากได้รับฮอร์โมนที่ผิดปกติ หรือต้นพืชที่ได้รับปุ๋ยไนโตรเจนมากเกินไปก็จะทำให้เฝือใบ ไม่ออกดอก เป็นต้น
Reference: baanjomyut.com
อ่าน:4323
โรคแมคคาเดเมีย แมคคาเดเมียใบไหม้ โรคใบจุดแมคคาเดเมีย
โรคใบจุดแมคคาเดเมีย (leaf spot)
ลักษณะเป็นแผลจุดกลม ขอบสีน้ำตาลแดง เกิดทั้งใบอ่อนและใบแก่ สาเหตุเกิดจากเชื้อรา Colletotrichum sp.
โรคใบไหม้แมคคาเดเมีย (leaf blight)
อาการขอบใบไหม้ แต่ส่วนใหญ่จะไม่พบเชื้อ เมื่อทำการแยกเชื้อ จะพบเชื้อรา Pestalotipsis sp. เพียงร้อยละ 6 เท่านั้น
sites.google.com/site/extension5701222068/
อ่าน:4018
ฟื้นฟูพืช จากการเข้าทำลายของโรคและแมลง ด้วยธาตุหลัก ธาตุเสริม ที่มีอยู่ใน FK-1
โดยทั่วไปแล้ว เวลาที่เรารักษาโรคพืช หรือกำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืชต่างๆ เมื่อโรคพืชหาย หรือแมลงถูกกำจัดไปแล้ว พืชยังต้องใช้ระยะเวลานาน เพื่อที่จะฟื้นตัว ซ่อมแซมส่วนที่เสียหายจากการเข้าทำลายของโรคและแมลง อย่างโรคใบไหม้ ตัวยาต่างๆจะเข้าไปยับยั้งไม่ให้โรคลุกลาม ขยายวงการทำลายพืช หรือหยุดการติดต่อ เมื่อโรคหยุดลุกลาม คือพืชหายจากโรค
แต่การจะทำให้พืชกลับมาฟื้นตัว และเจริญเติบโต สมบูรณ์แข็งแรง และให้ผลผลิตที่ดีได้ดังเดิม เราจำเป็นต้องให้ธาตุอาหารต่างๆ ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช เช่นเดียวกับคนที่ป่วย เมื่อได้ยารักษาโรคแล้ว ต้องให้น้ำเกลือ ต้องทานอาหารหลัก และถ้าให้อาหารเสริมด้วยก็ยิ่งฟื้นตัว กลับมา แข็งแรงได้เร็วขึ้น
FK-1 ประกอบด้วย ธาตุอาหารหลักของพืช N-P-K หรือ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแตสเซียมตามลำดับ ไนโตรเจน จะช่วยส่งเสริมความเขียว เสริมสร้างเนื้อเยื่อใหม่ ส่งเสริมให้พืช ผลิใบ แตกใบใหม่ และเจริญเติบโตได้เร็วขึ้น ฟอสฟอรัส ส่งเสริมระบบรากพืช ทำให้พืชมีระบบรากที่ดี แข็งแรง ทำให้พืชหาอาหารได้ดี ส่งผลไปถึงการออกดอก และการติดผล ส่วนโพแตสเซียม จะส่งเสริมกระบวนการเคลื่อนย้ายแป้งและน้ำตาล ไปสะสมที่ผลผลิต ทำให้ พืชออกผลได้สมบูรณ์ มีขนาดใหญ่ น้ำหนักดี รสชาติดี นอกจากนั้นแล้ว ใน FK-1 ยังมี แคลเซียม แมกนีเซียม และสังกะสี ที่จำเป็นต่อความต้องการของพืช และมักจะขาด เพราะธาตุจำเป็นเหล่านี้ ไม่ได้มีอยู่ในปุ๋ยทั่วไปที่เราใส่กัน
ใช้ FK-1 ฉีดพ่นพืชอย่างต่อเนื่อง จะทำให้พืชเจริญเติบโต สมบูรณ์ แข็งแรง และได้ผลผลิตดี
อ่าน:3574
โรคใบไหม้ในมันฝรั่ง มันฝรั่งใบไหม้ ป้องกันและกำจัดได้อย่างไร
ระวังโรคใบไหม้ในมันฝรั่ง
สภาพอากาศเย็นและมีฝนตกบางพื้นที่ระยะนี้ กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกมันฝรั่งเฝ้าระวังโรคใบไหม้ สามารถพบได้ในระยะการเจริญเติบโตทางลำต้น มักพบแสดงอาการของโรคที่ใบล่างก่อน โดยอาการเริ่มแรกด้านบนใบเป็นจุดฉ่ำน้ำสีเขียวเข้มคล้ายถูกน้ำร้อนลวก ต่อมาแผลจะขยายใหญ่ ตรงกลางแผลแห้งเป็นสีน้ำตาล ขอบแผลฉ่ำน้ำสีดำ เมื่อพลิกดูด้านใต้ใบในบริเวณตรงกันจะพบละอองน้ำเล็กสีขาวใสติดอยู่บริเวณขอบแผล และแผลจะขยายลุกลามออกไปจนทำให้ใบไหม้แห้งเป็นสีน้ำตาลในที่สุด
กรณีสภาพแวดล้อมเหมาะสม คือ อากาศเย็นและมีความชื้นสูง หรือในสภาพที่มีหมอกลงจัด โรคใบไหม้จะลุกลามอย่างรวดเร็วไปยังต้นอื่นๆ ทำให้มองเห็นใบไหม้แห้งกระจายเป็นหย่อมในแปลง ส่วนลำต้นและกิ่งก้านที่พบอาการของโรค แผลจะมีสีน้ำตาลหรือสีดำ ถ้าอาการรุนแรง จะทำให้ลำต้นหรือกิ่งก้านหักพับและแห้งตายอย่างรวดเร็ว หากโรคใบไหม้เข้าทำลายที่หัว จะทำให้หัวเน่า
เกษตรกรควรหมั่นตรวจและกำจัดวัชพืชในแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ ถ้าพบต้นที่แสดงอาการของโรคให้ถอนแล้วนำไปเผาทำลายนอกแปลงปลูก หากพบโรคเริ่มระบาด
ให้เกษตรกรพ่นด้วยสารอินทรีย์ป้องกันกำจัดโรคพืช ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร สามารถผสม FK-1 สำหรับฟื้นฟูส่งเสริมการเจริญเติบโต ฉีดพ่นไปด้วยพร้อมกัน
ฉีดพ่นทุก 5-7 วัน และคอยสังเกตุว่าโรคหยุดการลุกลามหรือไม่ หลีกเลี่ยงการพ่นสารชนิดใดชนิดหนึ่งต่อเนื่องกันเป็นเวลานาน และควรใช้สลับชนิด เพื่อป้องกันการดื้อยาของเชื้อราสาเหตุโรค
สำหรับในแปลงที่พบการระบาดของโรค หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว ให้เกษตรกรเก็บซากพืชที่ตกค้างอยู่ในแปลงนำไปทำลายนอกแปลงปลูก และให้ใช้ส่วนขยายพันธุ์ที่ไม่มีร่องรอยการติดเชื้อ ส่วนเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการเกษตรเมื่อใช้ในแปลงที่มีการระบาดแล้ว ให้นำเครื่องมือมาทำความสะอาดด้วยการล้างและผึ่งแดดให้แห้งก่อนนำกลับไปใช้ในแปลงทุกครั้ง จากนั้นให้ไถพรวนดินและตากดินไว้นาน 1-2 สัปดาห์ เพื่อจะช่วยลดปริมาณเชื้อโรคในดิน หลีกเลี่ยงการปลูกมันฝรั่งในพื้นที่ที่เคยมีการระบาดของโรคนี้มาก่อน และงดการให้น้ำในตอนเย็นและการให้น้ำที่มากเกินไป อีกทั้งควรปรับระยะปลูกไม่ให้แน่นเกินไป เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรค
Reference
Main content from: thethaipress.com/2020/27559/
อ่าน:3631
โรคใบไหม้ในทุเรียน โรคใบติดทุเรียน เกิดได้ง่าย ในช่วงอากาศร้อน ปนฝน
สภาพอากาศร้อนชื้น เวลากลางวันมีแดดจัด และมีฝนตกในบางพื้นที่ช่วงนี้ แนะนำให้เกษตรกรชาวสวนทุเรียนเฝ้าระวัง การระบาดของโรคใบไหม้หรือโรคใบติด สามารถพบได้ในระยะการเจริญเติบโตทางลำต้น อาการเริ่มแรกจะพบบนใบมีแผลคล้ายถูกน้ำร้อนลวก ต่อมาแผลจะขยายตัวและเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล มีขนาดและรูปร่างไม่แน่นอน จากนั้นจะลุกลามไปยังใบปกติข้างเคียง กรณีที่มีความชื้นสูงเชื้อราสาเหตุโรคจะสร้างเส้นใยคล้ายใยแมงมุมยึดใบให้ติดกัน ใบที่เป็นโรคจะแห้งติดอยู่กับกิ่งก่อนหลุดร่วงไปสัมผัสกับใบที่อยู่ด้านล่าง ทำให้โรคระบาดลุกลามจนใบไหม้เห็นเป็นหย่อมๆ ใบแห้งติดกันเป็นกระจุกแขวนค้างตามกิ่ง ต่อมาใบจะร่วงจนเหลือแต่กิ่ง และกิ่งแห้งในที่สุด ทำให้ต้นทุเรียนเสียรูปทรง
สำหรับแนวทางในการป้องกันโรคใบไหม้ เกษตรกรควรหมั่นตรวจแปลงปลูกอย่างสม่ำเสมอ หากพบการระบาดของโรคใบไหม้ ให้เกษตรกรตัดส่วนที่เป็นโรคและเก็บเศษพืชที่เป็นโรคและใบที่ร่วงหล่นนำไปเผาทำลายนอกแปลงปลูก เพื่อลดปริมาณเชื้อสะสมในแปลง จากนั้น ให้เกษตรกรพ่นที่ใบให้ทั่วทั้งต้นด้วย สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดโรคพืช ไอเอส ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อนำ้ 20ลิตร สามารถผสม FK-1 ฉีดพ่นไปพร้อมในคราวเดียวกัน เพื่อฟื้นฟู บำรุงพืช จากการเข้าทำลายของโรคได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
ส่วนในแปลงปลูกที่มีความชื้นสูง และมีการระบาดของโรคเป็นประจำ หลีกเลี่ยง การใส่ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูง เพื่อลดการแตกใบของต้นทุเรียน จากนั้น ให้เกษตรกรตัดแต่งทรงพุ่มให้โปร่งและกำจัดวัชพืชในแปลงปลูก เพื่อให้อากาศถ่ายเทสะดวก และช่วยลดความชื้นสะสมในแปลงปลูก อีกทั้งควรทำความสะอาดอุปกรณ์การเกษตรเมื่อใช้กับต้นที่เป็นโรคก่อนนำกลับมาใช้ใหม่ทุกครั้ง
Reference
Main content from: technologychaoban.com
อ่าน:3570
โรคพืช
โรคพืช หมายถึงลักษณะอาการของพืชที่ผิดไปจากปกติ ซึ่งอาจเกิดขึ้นบนส่วนใดส่วนหนึ่งของต้นพืช หรือตลอดทั้งต้น และรวมไปจนถึงการแห้งตายไปทั้งต้น สาเหตุที่ทำให้เกิดโรคพืชแบ่งได้ 2 สาเหตุคือ
1. เกิดจากสิ่งมีชีวิต (pathogenic disease) เช่น โรคพืชที่เกิดจากเชื้อไวรัส (virus) เชื้อไมโคพลาสมา
(mycoplasma) เชื้อแบคทีเรีย (bacteria) เชื้อรา (fungi) และไส้เดือนฝอย โรคพืชจะเกิดขึ้นและสามารถแพร่กระจายระบาดออกไปได้ถ้าหากมีเชื้อสาเหตุเหล่านี้ ตลอดจนมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเกิดและการแพร่กระจายของโรคพืชนั้น ๆ การแพร่กระจายของโรคพืชอาศัย น้ำ ฝน ความชื้น ลม ดิน หรือโดยการถ่ายทอด (transmission) ผ่านทางเมล็ดพันธุ์ ส่วนขยายพันธุ์ หรือโดยแมลง
ลักษณะอาการ (symptom) ของโรคพืชซึ่งเกิดจากเชื้อสาเหตุที่แตกต่างกัน จะแตกต่างกันดังต่อไปนี้
1.1) ลักษณะอาการของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อไวรัส มักมีอาการโรคใบหด ใบหงิก ใบสีเหลืองส้ม ใบด่างเหลือง ใบม้วน
1.2) ลักษณะอาการของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อไมโคพลาสมา มักมีอาการโรคใบขาว ลำต้นแคระแกรน แตกกอเป็นพุ่ม หรือใบเหลืองซีด กิ่งแห้งตาย ลำต้นทรุดโทรมและไม่ให้ผลผลิต
1.3) ลักษณะอาการของโรคพืชจากเชื้อแบคทีเรีย มีลักษณะอาการแตกต่างกัน 5 แบบ คือ
1.3.1) เหี่ยว (wilt) อาการเหี่ยวเฉา เกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าไปเจริญในท่อน้ำ ท่ออาหารของต้นพืช ทำให้เกิดการอุดตันของท่อน้ำและท่ออาหาร จึงเป็นเหตุให้พืชได้รับน้ำและอาหารไม่เพียงพอ เกิดอาการเหี่ยวเฉา หรือเจริญเติบโตผิดปกติและจะตายไปในที่สุด เช่น โรคเหี่ยวของมะเขือเทศ มันฝรั่ง ยาสูบ ถั่วลิสง กล้วย แตงกวา แตงโม มีสาเหตุมาจากเชื้อ Xanthomonas spp._ Pseudomonas spp._ Erwinia spp.
1.3.2) เน่าเละ (soft rot) อาการเน่าและมีกลิ่นเหม็น ทั้งนี้เพราะแบคทีเรียเข้าทำลายเซลล์พืช และมีเชื้อจุลินทรีย์อื่น ๆ ร่วมเข้าทำลายซ้ำเติม โรคพืชแบบนี้มักเกิดกับส่วนของพืชที่อวบน้ำ เช่น โรคเน่าเละของพืชผัก มันฝรั่ง มะเขือเทศ แตงกวา กะหล่ำ พริก ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากเชื้อ Erwinia spp.
1.3.3) แผลเป็นจุด (spot หรือ local lesion) อาการจุดแห้งตาย เกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าไปเจริญอยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์หรือในเซลล์ ทำให้เซลล์บริเวณนั้นตายเป็นแผลแห้งมีขอบเขตจำกัด เช่น โรคใบจุดของฝ้าย โรคใบจุดของถั่วเหลือง โรคขอบใบแห้งของข้าว โรคแคงเคอร์ของส้ม โรคใบจุดของยาสูบ เชื้อสาเหตุ ได้แก่ Xanthomonas sp._ Pseudomonas spp.
1.3.4) ไหม้ (blight) อาการใบไหม้ตาย เริ่มจากจุดเล็ก ๆ ก่อน แล้วแผ่ขยายไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีขอบเขตจำกัด เกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าไปเจริญอยู่ในช่องว่างระหว่างเซลล์ แต่ไม่ทำลายเนื้อเยื่อเซลล์ เพียงแต่ทำให้การเคลื่อนย้ายน้ำและอาหารในพืชไม่สะดวก ทำให้ใบและลำต้นมีสีซีด (necrosis) และอาจแห้งตายไปในที่สุด เช่น โรคใบไหม้ของถั่ว ยางพารา แอปเปิ้ล เชื้อสาเหตุได้แก่ Xanthomonas spp. Phythopthora spp. และ Erwinia spp.
1.3.5) ปุ่มปม (gall หรือ tumer) อาการเป็นปุ่มปมเกิดจากเชื้อแบคทีเรียเข้าไปเจริญอยู่ในเซลล์พืช แล้วสร้างสารบางชนิดออกมากระตุ้นให้เซลล์บริเวณนั้นมีการแบ่งตัวมากขึ้น เช่น โรค crown gall ของมะเขือเทศ โรค gall ของหัวบีท เชื้อสาเหตุได้แก่ Agrobacterium spp. และ Xanthomonas spp.
1.4) ลักษณะอาการของโรคพืชจากเชื้อรา ลักษณะอาการของโรคพืชจากเชื้อรามีมากหลายแบบ เช่น ใบเป็นแผล ใบไหม้ ใบบิด ต้นเหี่ยว รากเน่า โคนต้นเน่า ผลเน่า เมล็ดเน่า ต้นกล้าเน่า หรือต้นแห้งตายไปทั้งต้น ลักษณะอาการของโรคพืชจากเชื้อรามักจะสังเกตเห็นเส้นใย (hypha) สปอร์ (spore) ส่วนสืบพันธุ์ต่างๆ เช่น sporangium_ conidia_ basidiumascus มีสีขาว หรือสีดำ หรือสีน้ำตาล ปรากฏตามรอยแผลอาการของโรค หรือตรงส่วนที่เชื้อสาเหตุเข้าสู่ต้นพืช ตัวอย่างของโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราได้แก่ โรคโคนเน่าคอดินของต้นกล้า โรครากและโคนต้นเน่า โรคราน้ำค้าง โรคเน่าของผลไม้และผัก โรคราแป้งขาว โรคราสนิมเหล็ก โรคเขม่าดำ โรคแส้ดำของอ้อย โรคไหม้ของข้าว โรคใบจุดของข้าวโพด โรคใบจุดตานกของยางพารา โรคแอนแทรคโนส โรคเหี่ยวของมะเขือเทศ
1.5) ลักษณะอาการของโรคพืชจากไส้เดือนฝอย มักทำให้เกิดโรครากปม รากขอด และลำต้นพืชเหี่ยวเฉาตายไปในที่สุด
2) เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต (nonpathogenic disease) อาการของโรคพืชอาจเกิดจากสาเหตุเนื่องจากสิ่งไม่มีชีวิต เช่น การขาดธาตุอาหาร ธาตุอาหารเป็นพิษ ดินเป็นกรด ดินเค็มจัด ดินเป็นด่าง หรือพิษจากสารเคมีบางชนิด สาเหตุต่างๆ เหล่านี้ทำให้การเจริญเติบโตของต้นพืชผิดปกติ ลำต้นแคระแกร็น มีสีซีด หรือสีผิดปกติ ไม่ให้ผลผลิต โรคพืชซึ่งมีสาเหตุเกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต จะเกิดเฉพาะบริเวณ ไม่สามารถแพร่กระจายหรือระบาดไปยังแหล่งอื่นๆ ได้
สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรค สืบศักดิ์ (2540) กล่าวว่าปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคนั้น มีด้วยกัน 4 ประการที่สำคัญคือ เชื้อสาเหตุของโรค พืชอาศัย สภาพแวดล้อม และเวลา ปัจจัยทั้งสี่มีความสัมพันธ์ต่อกันอย่างยิ่งยวด จะขาดสิ่งหนึ่งสิ่งใดไม่ได้เลย หากนำมาเขียนเป็นรูปจะได้รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า ซึ่งเรียกว่า “สามเหลี่ยมโรคพืช” ดังแสดงในรูป
Reference: main content from natres.psu.ac.th
อ่าน:4379
โรคใบไหม้ โรคราใช้ ไอเอส กำจัดหนอนใช้ ไอกี้ กำจัดเพลี้ยใช้ มาคา ฟื้นฟูพืช ใช้ FK-1
ปลอดสารพิษ ปลอดภัยต่อทั้ง ผู้ใช้ ผู้บริโภค และ สัตว์เลี้ยง
อ่าน:4069
โรคพืชต่างๆ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา เช่น โรคใบไหม้ โรคใบจุดสีน้ำตาล โรคยอดแห้ง โรคแคงเกอร์ โรคไฟทอปโธร่า
เฉพาะโรคที่มีสาเหตุจากเชื้อราโรคพืชต่างๆ ก่อให้เกิดอาการ ใบไหม้ ขอบใบแห้ง ราน้ำคาง ใบจุด ใบขีดสีน้ำตาล เน่าคอรวง เน่าคอดิน
ป้องกัน ยับยั้งด้วย ไอเอส สารอินทรีย์ ในอัตราส่วน 50ซีซี ต่อน้ำ 20ลิตร
📌 ไอเอส ข้อมูลเพิ่มเติม
http://www.farmkaset..link..
📌 ไอเอส โปรโมชั่นพิเศษ ที่ลิงค์นี้นะค่ะ
http://www.farmkaset..link..
✅ ปลอดสารพิษ
✅ จากธรรมชาติ
✅ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค
🚚 มีบริการเก็บเงินปลายทางฟรี ไม่ต้องโอน
📞 โทรสอบถามหรือสั่งซื้อ 090-592-8614
👉 แอดไลน์ไอดี FarmKaset หรือคลิก
http://www.farmkaset..link..
👉 สอบถามสั่งซื้อทางเพจ ฟาร์มเกษตร หรือคลิก
http://www.farmkaset..link..
อ่าน:3960
🔥 ไอเอส ยาอินทรีย์ ยับยั้งโรคพืชจากเชื้อรา โรคใบไหม้ โรคใบแห้ง โรคราสนิม โรคราน้ำค้าง โรคใบจุด
📌 #โปรโมชั่นพิเศษ ที่ลิงค์นี้นะค่ะ
http://www.farmkaset..link..
✅ ปลอดสารพิษ
✅ จากธรรมชาติ
✅ ปลอดภัยต่อทั้งผู้ใช้และผู้บริโภค
🚚 มีบริการเก็บเงินปลายทางฟรี ไม่ต้องโอน
📞 โทรสั่ง 090-592-8614
👉 แอดไลน์ไอดี FarmKaset
อ่าน:3890
636 เรื่อง หน้าละ 10 รายการ 63 หน้า, หน้าที่ 64 มี 6 รายการ
|
-Page 58 of 64
-|
1
|
2
|
3
|
4
|
5
|
6
|
7
|
8
|
9
|
10
|
11
|
12
|
13
|
14
|
15
|
16
|
17
|
18
|
19
|
20
|
21
|
22
|
23
|
24
|
25
|
26
|
27
|
28
|
29
|
30
|
31
|
32
|
33
|
34
|
35
|
36
|
37
|
38
|
39
|
40
|
41
|
42
|
43
|
44
|
45
|
46
|
47
|
48
|
49
|
50
|
51
|
52
|
53
|
54
|
55
|
56
|
57
|
58
|
59
|
60
|
61
|
62
|
63
|
64
|
แอพสุริยเกษตร
ปฏิทินเพาะปลูกดาราศาสตร์
แอพจันทรเกษตร (เกษตรจันทรคติ)
แอพผสมปุ๋ย
แอพพรุ่งนี้พ่นปุ๋ยยาฯได้ไหม
แอพเช็คปุ๋ยยาฯคู่นี้ผสมกันได้ไหม
แอพแปลงอัตราผสมปุ๋ยยาฯฉีดพ่น
แอพพยากรณ์โรคและศัตรูพืช
แอพพืชเป็นโรคอะไร
แอพคำนวณเงินกู้ ธกส.
แอพภาพถ่ายดาวเทียมที่ดินฉัน
แอพวัดพื้นที่ฟาร์ม
แอพคำนวณทุนกำไรปลูกพืช
แอพเดือนไหนปลูกผักอะไรได้
แอพแปลงหน่วยเกษตร
โทรศัพท์
📞 090-592-8614
ไลน์ไอดี
💬 @FarmKaset
🌾 ผลิตภัณฑ์เกษตรครบวงจร 🌾
จากเริ่มปลูก สู่การเก็บเกี่ยว ด้วยสินค้าคุณภาพ
🌱 ขั้นตอนที่ 1: เริ่มต้นและเร่งการเจริญเติบโต
สำหรับพืชที่เพิ่งปลูกหรือต้องการเร่งโต เร่งราก เร่งใบเขียว
🎯 เป้าหมายขั้นตอนนี้
ช่วยให้พืชมีรากแข็งแรง ใบเขียวแกร่ง และเติบโตเร็ว เป็นฐานที่ดีสำหรับการพัฒนาในขั้นตอนต่อไป
⭐ เอฟเค-1 (FK-1) - ตัวหลักเริ่มต้น
สูตรพิเศษสำหรับการเริ่มต้น ฟื้นฟูพืชที่อ่อนแอ เร่งการเจริญเติบโต เร่งระบบราก และกระตุ้นการออกดอก
✨ ประโยชน์เด่น:
• เร่งโต เร่งใบเขียว เร่งราก
• ฟื้นฟูพืชที่เสียหาย
• เร่งดอก เหมาะสำหรับทุกพืช
💰 1กล่อง (2กิโลกรัม) ราคา : 890 บาท
🛒 สั่งซื้อ FK-1:
Lazada
Shopee
📱 ช่องทางอื่น:
TikTok
Line
+
🚀 สตาร์เฟอร์ 30-20-5 + ฮิวมิคFK - เร่งต้น เร่งใบ
สูตรไนโตรเจนสูง เหมาะสำหรับช่วงต้นของการเจริญเติบโต เร่งใบเขียว เร่งต้นแข็งแรง
✨ ประโยชน์เด่น:
• ไนโตรเจนสูง เร่งใบเขียวเข้ม
• เร่งการเจริญเติบโตในช่วงแรก
• ผสมสูตรเองได้ตามต้องการ
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคแอซิดช่วยเพิ่มการดูดซับไนโตรเจนได้ 2-3 เท่า ทำให้ใบเขียวเข้มและโตเร็วกว่าปกติ ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้ทุกครั้ง
💰 สตาร์เฟอร์: 250 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อสตาร์เฟอร์:
Lazada
Shopee
🛒 สั่งซื้อฮิวมิค:
Lazada
Shopee
💎 ฮิวมิคFK - ตัวช่วยเสริมพื้นฐาน
สารฮิวมิคแอซิดธรรมชาติ เพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับปุ๋ย ปรับปรุงดิน ทำให้พืชแข็งแรงขึ้น
✨ ประโยชน์เด่น:
• เพิ่มการดูดซับปุ๋ย 2-3 เท่า
• ปรับปรุงโครงสร้างดิน
• ใช้ได้ทุกพืช ผสมกับปุ๋ยอื่นได้
💰 ขนาด 500g: 190 บาท | 1kg: 250 บาท
💧 1kg ผสมน้ำได้ถึง 2,000 ลิตร
🛒 สั่งซื้อฮิวมิค:
Lazada
Shopee
📱 ช่องทางอื่น:
TikTok
Line
🌸 ขั้นตอนที่ 2: เร่งดอก เร่งผล และเพิ่มผลผลิต
เมื่อพืชโตแข็งแรงแล้ว ก็ถึงเวลาเพิ่มขนาดผล น้ำหนัก และคุณภาพ
🎯 เป้าหมายขั้นตอนนี้
กระตุ้นการออกดอก ขยายขนาดผล เพิ่มน้ำหนัก และปรับปรุงคุณภาพผลผลิต เพื่อผลตอบแทนสูงสุด
+
🌺 สตาร์เฟอร์ 10-40-10 + ฮิวมิคFK - เร่งราก เร่งดอก
สูตรฟอสฟอรัสสูง เหมาะสำหรับช่วงเร่งดอก ช่วยให้รากแข็งแรง ดอกออกเยอะ คุณภาพดี
✨ ประโยชน์เด่น:
• ฟอสฟอรัสสูง เร่งดอก เร่งราก
• เพิ่มการติดผล ลดการร่วง
• เสริมความแข็งแรงของราก
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยให้ฟอสฟอรัสถูกดูดซับง่ายขึ้น เร่งการเจริญเติบโตของราก และกระตุ้นการออกดอกได้ดีกว่าใช้เดี่ยว ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้
💰 สตาร์เฟอร์: 250 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อสตาร์เฟอร์:
Lazada
Shopee
⭐ FK-3 - ขยายผล เพิ่มน้ำหนัก (สำหรับผลไม้)
สูตรเฉพาะสำหรับพืชออกผล ช่วยขยายขนาดผล เพิ่มน้ำหนัก และปรับปรุงคุณภาพผลผลิต
✨ ประโยชน์เด่น:
• ขยายขนาดผลไม้ เพิ่มน้ำหนัก
• เพิ่มความหวาน ปรับปรุงรสชาติ
• ใช้ได้กับผลไม้ทุกชนิด
💰 1ชุด (2กิโลกรัม) ราคา : 950 บาท
🛒 สั่งซื้อ FK-3:
Lazada
Shopee
📱 ช่องทางอื่น:
TikTok
Line
+
🍯 สตาร์เฟอร์ 15-5-30 + ฮิวมิคFK - เพิ่มผลผลิต เร่งแป้ง
สูตรโพแทสเซียมสูง เร่งการสร้างแป้ง น้ำตาล ขยายขนาดผล เหมาะสำหรับช่วงเก็บเกี่ยว
✨ ประโยชน์เด่น:
• โพแทสเซียมสูง เร่งแป้ง สร้างน้ำตาล
• ขยายขนาดผล เพิ่มน้ำหนัก
• ปรับปรุงคุณภาพและรสชาติ
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยส่งโพแทสเซียมเข้าสู่ผลได้เร็วขึ้น เพิ่มความหวาน แป้ง และน้ำหนักผลมากกว่าใช้เดี่ยว ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้ทุกครั้ง
💰 สตาร์เฟอร์: 250 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อสตาร์เฟอร์:
Lazada
Shopee
🌾 ขั้นตอนที่ 3: สูตรเฉพาะทางสำหรับพืชเศรษฐกิจ
สูตรพิเศษที่ออกแบบมาเฉพาะสำหรับผลไม้ ข้าว อ้อย และมันสำปะหลัง
🎯 เป้าหมายขั้นตอนนี้
ใช้สูตรที่ปรับแต่งมาเฉพาะสำหรับพืชแต่ละชนิด เพื่อผลผลิตและคุณภาพที่ดีที่สุด รวมถึงการใช้ FK-1 ร่วมด้วย
+
🍇 FK-1 + FK-3 - สำหรับผลไม้ทุกชนิด
ชุดคู่สำหรับผลไม้ทุกชนิด เริ่มด้วย FK-1 เพื่อฟื้นฟูและเร่งโต ตามด้วย FK-3 เพื่อขยายผลและเพิ่มน้ำหนัก
✨ ประโยชน์คู่:
• FK-1: เร่งโต เร่งใบเขียว เร่งราก
• FK-3: ขยายผล เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มความหวาน
• เหมาะกับผลไม้ทุกชนิด
⏰ ช่วงเวลาการใช้:
FK-1: ใช้หลังปลูก 1-4 สัปดาห์ และเมื่อต้องการฟื้นฟูพืช
FK-3: ใช้เมื่อผลเริ่มติด ช่วงผลอ่อน ก่อนเก็บเกี่ยว 2-4 สัปดาห์
💰 FK-1: 890 บาท | FK-3: 950 บาท
🛒 สั่งซื้อ FK-1:
Lazada
Shopee
🛒 สั่งซื้อ FK-3:
Lazada
Shopee
+
🌾 FK-1 + FK-3R - เฉพาะสำหรับข้าว (Rice)
ชุดคู่สำหรับข้าว เริ่มด้วย FK-1 เพื่อเร่งโตและแข็งแรง ตามด้วย FK-3R เพื่อรวงยาว เมล็ดเต็ม
✨ ประโยชน์คู่:
• FK-1: เร่งโต เร่งใบเขียว เร่งแตกกอ
• FK-3R: รวงยาว เมล็ดเต็ม น้ำหนัก 1,000 เมล็ดสูง
• เพิ่มผลผลิตต่อไร่
⏰ ช่วงเวลาการใช้:
FK-1: หลังหว่าน 15-45 วัน และเมื่อข้าวใบเหลือง
FK-3R: ช่วงตั้งท้อง ออกรวง และก่อนข้าวสุก 2-3 สัปดาห์
💰 FK-1: 890 บาท | FK-3R: 950 บาท
🛒 สั่งซื้อ FK-3R:
Lazada
Shopee
+
🎯 FK-1 + FK-3S - เฉพาะสำหรับอ้อย (Sugarcane)
ชุดคู่สำหรับอ้อย เริ่มด้วย FK-1 เพื่อเร่งโตและแตกหน่อ ตามด้วย FK-3S เพื่อลำสูง ความหวาน CCS สูง
✨ ประโยชน์คู่:
• FK-1: เร่งโต เร่งแตกหน่อ ลำแข็งแรง
• FK-3S: ลำสูง ปล้องยาว เพิ่มค่า CCS
• น้ำหนักต่อลำเพิ่มขึ้น
⏰ ช่วงเวลาการใช้:
FK-1: หลังปลูก 1-3 เดือน และเมื่ออ้อยใบเหลือง
FK-3S: อายุ 6-10 เดือน และก่อนตัด 2-3 เดือน
💰 FK-1: 890 บาท | FK-3S: 950 บาท
🛒 สั่งซื้อ FK-3S:
Lazada
Shopee
+
🥔 FK-1 + FK-3C - เฉพาะสำหรับมันสำปะหลัง (Cassava)
ชุดคู่สำหรับมันสำปะหลัง เริ่มด้วย FK-1 เพื่อต้นแข็งแรง ตามด้วย FK-3C เพื่อหัวมันดก โตใหญ่ แป้งสูง
✨ ประโยชน์คู่:
• FK-1: เร่งโต ต้นแข็งแรง ทนแล้ง
• FK-3C: หัวมันดก โตใหญ่ เปอร์เซ็นต์แป้งสูง
• น้ำหนักต่อต้นเพิ่มขึ้นมาก
⏰ ช่วงเวลาการใช้:
FK-1: หลังปลูก 1-4 เดือน และเมื่อมันใบเหลือง
FK-3C: อายุ 6-10 เดือน และก่อนขุด 2-3 เดือน
💰 FK-1: 890 บาท | FK-3C: 950 บาท
🛒 สั่งซื้อ FK-3C:
Lazada
Shopee
🛡️ ขั้นตอนที่ 4: ป้องกันและกำจัดศัตรูพืช
ป้องกันโรคพืช แมลงศัตรูพืช และวัชพืช เพื่อผลผลิตที่สมบูรณ์
+
🐛 ไทอะมีทอกแซม + ฮิวมิคFK - กำจัดแมลงปากดูด
สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดเพลี้ยทุกชนิด แมลงปากดูด หนอนชอนใบ และโล่ปลาดาว
✨ ป้องกันศัตรูพืช:
• เพลี้ยไฟ เพลี้ยแป้ง เพลี้ยไก่แจ้
• แมลงปากดูดทุกชนิด
• หนอนชอนใบ โล่ปลาดาว
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการติดผิวใบ ทำให้สารกำจัดแมลงทำงานได้นานขึ้น และช่วยฟื้นฟูพืชหลังถูกแมลงทำลาย ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้
💰 ไทอะมีทอกแซม 100g: 69 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อไทอะมีทอกแซม:
Lazada
Shopee
+
🍄 แพนน่อน + ฮิวมิคFK - กำจัดโรคเชื้อรา
สารป้องกันกำจัดโรคพืชจากเชื้อราหลายชนิด เหมาะสำหรับทุกพืช ใช้ได้ตลอดปี
✨ ป้องกันโรคพืช:
• ใบไหม้ ใบจุด ใบติด กิ่งแห้ง
• ราน้ำค้าง ราสนิม ไปทอปธอร่า
• แอนแทรคโนส กุ้งแห้ง
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยเสริมความแข็งแรงให้พืช ทำให้ต้านทานโรคได้ดีขึ้น และช่วยฟื้นฟูพืชที่เสียหายจากโรคเร็วกว่า ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้
💰 แพนน่อน 1kg: 390 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อแพนน่อน:
Lazada
Shopee
+
⚡ อินเวท + ฮิวมิคFK - เคมีกำจัดเพลี้ยแรงแล้ว
สารเคมีประสิทธิภาพสูง กำจัดเพลี้ยทุกชนิด ใช้ได้ทุกพืช สำหรับการระบาดหนัก
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยลดความเครียดของพืชจากสารเคมี และช่วยฟื้นฟูพืชหลังการฉีดพ่นให้แข็งแรงเร็วขึ้น ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้
💰 อินเวท: 250 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้ออินเวท:
Lazada
Shopee
+
💚 แม็กซ่า + ฮิวมิคFK - สร้างภูมิต้านทาน
สารสังเคราะห์คลอโรฟิลล์ ประกอบด้วยแมกนีเซียม ซิงค์ เร่งเขียว สร้างภูมิต้านทานโรค
✨ ประโยชน์เด่น:
• เร่งใบเขียวเข้ม เพิ่มคลอโรฟิลล์
• สร้างภูมิต้านทานโรค
• เสริมแมกนีเซียม ซิงค์
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยเพิ่มการดูดซับแมกนีเซียมและซิงค์ ทำให้ใบเขียวเข้มกว่า และสร้างภูมิต้านทานได้ดีกว่าใช้เดี่ยว ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้
💰 แม็กซ่า: 250 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อแม็กซ่า:
Lazada
Shopee
🎁 ขั้นตอนที่ 5: ชุดโปรโมชั่นสุดคุ้ม
แพ็คเกจคู่ที่ประหยัดและได้ผลดี รวมถึงสินค้ายอดนิยมจาก Lazada
🔥 โปรฯเล็กยอดฮิต - บำรุง + ป้องกัน
ชุดคู่สุดคุ้ม FKT 250cc + ไอเอส 250cc ทั้งบำรุงและป้องกันโรค ในราคาเดียว
✨ ได้ 2 ประโยชน์:
• FK ธรรมชาตินิยม: บำรุงฟื้นฟู
• ไอเอส: ป้องกันโรคราต่างๆ
• ผสมน้ำได้รวม 100 ลิตร
💰 ราคาพิเศษ : 499 บาท
(ปกติ 740 บาท ประหยัด 241 บาท!)
🛒 สั่งซื้อโปรพิเศษ:
Lazada
Shopee
🏆 #1 ขายดี
+
🌟 ไอเอส + ฮิวมิคFK - ยอดขายอันดับ 1 บน Lazada
สินค้าขายดีที่สุดในหมวดโรคพืช ป้องกันกำจัดโรคใบไหม้ โรคราต่างๆ ได้ผลจริง
✨ ทำไมขายดี:
• ได้ผลจริง ราคาไม่แพง
• ป้องกันโรคได้หลายชนิด
• ใช้ง่าย ปลอดภัย
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยเสริมภูมิต้านทานธรรมชาติให้พืช ทำให้ป้องกันโรคได้ยาวนานขึ้น และลดการใช้สารเคมีลงได้ ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้
💰 ไอเอส 1L: 450 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อไอเอส:
Lazada
Shopee
+
🦗 มาคา + ฮิวมิคFK - กำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช
สารอินทรีย์ป้องกันกำจัดเพลี้ย แมลงศัตรูพืช ใช้ได้ทุกพืช ปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม
✨ ประโยชน์เด่น:
• กำจัดเพลี้ยทุกชนิด
• แมลงศัตรูพืชต่างๆ
• ปลอดภัย เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยเพิ่มการติดผิวใบของสารอินทรีย์ ทำให้ได้ผลนานขึ้น และช่วยฟื้นฟูพืชหลังถูกแมลงทำลายเร็วกว่า ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้
💰 มาคา 1L: 470 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อมาคา:
Lazada
Shopee
+
🌿 FK ธรรมชาตินิยม + ฮิวมิคFK
ปุ๋ยธรรมชาติ ปลอดภัยต่อผู้ใช้ และผู้บริโภค
✨ ปุ๋ยธรรมชาติ ปลอดภัย:
• พืชทุกชนิด โตไว ใบเขียว ทนแล้ง
• ผลิตภัณฑ์ปลอดภัย
• เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดูดซับธาตุอาหารธรรมชาติ ทำให้พืชแข็งแรงและทนแล้งได้ดีกว่าใช้เดี่ยว ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้
💰 FK-T 1L: 890 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อ FK-T:
Lazada
Shopee
+
💊 เมทาแลคซิล + ฮิวมิคFK - เคมีป้องกันโรค ราต่างๆในพืช
สารเคมีประสิทธิภาพสูง ป้องกันกำจัดโรคพืช โรคใบไหม้ ใบจุด ราน้ำค้าง ราสนิม โรคจากเชื้อราทุกชนิด
✨ ประโยชน์เด่น:
• แก้ปัญหาโรครุนแรง
• ได้ผลเร็ว ครอบคลุมโรคหลายชนิด
• สำหรับการระบาดหนัก
💎 เหตุผลที่ใช้คู่กัน:
ฮิวมิคช่วยลดความเครียดจากสารเคมี และเร่งการฟื้นฟูพืชหลังการรักษาโรค ทำให้พืชแข็งแรงเร็วขึ้น ผสมฉีดพ่นพร้อมกันได้
💰 เมทาแลคซิล: 450 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อเมทาแลคซิล:
Lazada
Shopee
📱 ช่องทางอื่น:
TikTok
Line
+
🌿 คาร์รอน + ฮิวมิคFK - กำจัดหญ้า คุมวัชพืช
ยากำจัดหญ้าและวัชพืช ครอบคลุมทั้งใบแคบและใบกว้าง ได้ผลดี ราคาประหยัด
✨ ประโยชน์เด่น:
• กำจัดหญ้าใบแคบ ใบกว้าง
• คุมวัชพืชได้ยาวนาน
• ประหยัด ได้ผลดี
⚠️ หมายเหตุพิเศษ:
หลังฉีดกำจัดวัชพืช ใช้ฮิวมิคช่วยฟื้นฟูดินและเสริมความแข็งแรงให้พืชหลัก ป้องกันการกลับมาของวัชพืช ใช้แยกเวลา 3-7 วันหลังฉีดคาร์รอน
💰 คาร์รอน: 450 บาท | ฮิวมิค 1kg: 250 บาท
🛒 สั่งซื้อคาร์รอน:
Lazada
Shopee
📱 ช่องทางอื่น:
Line
🎯 สรุปขั้นตอนการใช้ผลิตภัณฑ์
ขั้นตอนแนะนำ:
🌱
เริ่มต้น:
เลือกใช้ FK-1 หรือ สตาร์เฟอร์ 30-20-5 + ฮิวมิคFK
🌸
เร่งดอกผล:
เลือกใช้ FK-3 (หรือ FK-3R/3S/3C) หรือ สตาร์เฟอร์ 10-40-10 + ฮิวมิคFK
🛡️
ป้องกัน:
ไทอะมีทอกแซม หรือ แพนน่อน หรือ แม็กซ่า + ฮิวมิคFK
🍯
เก็บเกี่ยว:
สตาร์เฟอร์ 15-5-30 + ฮิวมิคFK
💎 สำคัญที่สุด:
ใช้ ฮิวมิคFK ผสมกับผลิตภัณฑ์อื่นทุกครั้ง จะได้ผลดีขึ้น 2-3 เท่า
💡
เคล็ดลับ:
เริ่มด้วยโปรโมชั่นขนาดเล็ก → หากได้ผลแล้วค่อยซื้อเพิ่ม
💡 คำแนะนำสำหรับมือใหม่
🔰 แนะนำเริ่มต้น:
โปรฯเล็กยอดฮิต (499 บาท) + ฮิวมิคFK (250 บาท) = ทดลองในงบ 750 บาท
🌾 เกษตรกรข้าว:
FK-1 + FK-3R + ไอเอส + ฮิวมิคFK
🎯 เกษตรกรอ้อย:
FK-1 + FK-3S + แม็กซ่า + ฮิวมิคFK
🥔 เกษตรกรมันฯ:
FK-1 + FK-3C + ฮิวมิคFK
🍇 เกษตรกรผลไม้:
FK-1 + FK-3 + สตาร์เฟอร์ 15-5-30 + ฮิวมิคFK
⚠️ หมายเหตุ:
คาร์รอน ไม่ผสมกับผลิตภัณฑ์อื่น ใช้แยกเวลา แล้วค่อยใช้ฮิวมิคฟื้นฟูพืช
📞 ติดต่อสอบถาม คำแนะนำการใช้
โทรศัพท์
📞 090-592-8614
ไลน์ไอดี
💬 @FarmKaset
🌟 ทีมงานพร้อมให้คำแนะนำการใช้ผลิตภัณฑ์ ปรึกษาปัญหาพืช และแนะนำสูตรที่เหมาะสม
📅 เวลาทำการ: 9:00-17:00 น.
💎
พิเศษ:
ปรึกษาการใช้ ฮิวมิคFK คู่กับผลิตภัณฑ์อื่นเพื่อประสิทธิภาพสูงสุด
⏰
คำแนะนำเวลา:
ช่วงเวลาการใช้ FK-1 และ FK-3 ชุดต่างๆ ตามพืชแต่ละชนิด
🌾
FarmKaset
- ผลิตภัณฑ์เกษตรคุณภาพ เพื่อเกษตรกรไทย 🌾
📍
ส่งทั่วประเทศ
🚚
จัดส่งเร็ว
💯
ได้ผลจริง
🏆
ขายดี #1 บน Lazada
💎 จุดเด่นใหม่:
ฮิวมิคFK เพิ่มประสิทธิภาพทุกผลิตภัณฑ์ 2-3 เท่า
© 2025 FarmKaset - สงวนลิขสิทธิ์ | 🔗
ระบบคำนวณการผสมปุ๋ย
iLab.work ผู้ใช้บริการตรวจวิเคราะห์ค่าธาตุอาหารใน ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช กากอุตสาหกรรม มาตฐาน ISO/IEC 17025
ตรวจง่ายนับ 1 2 3 มาตฐาน ISO/IEC 17025
1.เลือกและคำนวณค่าตรวจที่หน้าเว็บ
คลิก
2.ส่งดินเข้าห้อง LAB (ไปรษณีย์,เคอรี่,แฟรช)
3.อ่านผลออนไลน์ (เราจัดส่งต้นฉบับผลวิเคราะห์ ไปตามที่อยู่ที่ให้ไว้เช่นกัน)
→เริ่มกันเลย
เลือกค่าที่ต้องการวิเคราะห์
[มีชุดโปรฯแนะนำลดพิเศษ หรือเลือกเองได้]
ปุ๋ยคุณภาพสูง
พืชทุกชนิด
|
ปุ๋ยทุเรียน
|
ปุ๋ยมันสำปะหลัง
|
ปุ๋ยสำหรับไร่อ้อย
|
ปุ๋ยนาข้าว
|
ปุ๋ยยางพารา
|
ปุ๋ยมะพร้าว
|
ปุ๋ยข้าวโพด
|
ปุ๋ยปาล์ม
|
ปุ๋ยสับปะรด
|
ปุ๋ยถั่วเหลือง
|
ปุ๋ยพริกไทย
|
ปุ๋ยกาแฟ
|
ปุ๋ยมะนาว
|
ปุ๋ยส้ม
|
ปุ๋ยลำไย
|
ปุ๋ยลิ้นจี่
|
ปุ๋ยหน่อไม้ฝรั่ง
|
ปุ๋ยกระเจี๊ยบเขียว
|
ปุ๋ยมังคุด
|
ปุ๋ยมันฝรั่ง
|
ปุ๋ยหอมหัวใหญ่
|
ปุ๋ยกระเทียม
|
ปุ๋ยหอมแดง
|
ปุ๋ยมะเขือเทศ
|
ปุ๋ยกล้วยไม้
|
ปุ๋ยอินทผลัม
|
ปุ๋ยน้อยหน่า
|
ปุ๋ยชมพู่
|
ปุ๋ยเงาะ
|
ปุ๋ยมะม่วง
|
ปุ๋ยมะขาม
|
ปุ๋ยพริก
ยาอินทรีย์แก้โรคพืช
โรคใบไหม้
|
ทุเรียนใบติด
|
มันสำปะหลังใบไหม้
|
โรคอ้อยใบไหม้
|
ข้าวใบไหม้
|
ยางพาราใบไหม้
|
โรคมะพร้าวใบไหม้
|
โรคราน้ำค้างข้าวโพด
|
ปาล์มใบไหม้
|
โรคสับปะรด
|
โรคราน้ำค้างถั่วเหลือง
|
พริกไทยใบไหม้
|
โรคกาแฟใบไหม้
|
ราสนิมมะนาว
|
ส้มใบไหม้
|
ลำไยใบไหม้
|
ลิ้นจี่ใบไหม้
|
หน่อไม้ฝรั่งลำต้นไหม้
|
กระเจี๊ยบเขียวฝักลาย
|
โรคใบจุดมังคุด
|
มันฝรั่งใบใหม้
|
โรคหอมเลื้อย
|
โรคใบจุดกระเทียม
|
โรคหอมแดง
|
ราแป้งมะเขือเทศ
|
โรคจุดสนิมกล้วยไม้
|
อินทผลัมใบไหม้
|
น้อยหน่าดอกร่วง
|
ชมพู่ใบไหม้
|
เงาะใบไหม้
|
มะม่วงใบไหม้
|
ราแป้งมะขาม
|
โรคพริก
ยาเคมี กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด
|
เพลี้ยทุเรียน
|
เพลี้ยมันสำปะหลัง
|
เพลี้ยอ้อย
|
เพลี้ยข้าว
|
เพลี้ยยางพารา
|
เพลี้ยมะพร้าว
|
เพลี้ยข้าวโพด
|
เพลี้ยปาล์มน้ำมัน
|
เพลี้ยสับปะรด
|
เพลี้ยถั่วเหลือง
|
เพลี้ยพริกไทย
|
เพลี้ยกาแฟ
|
เพลี้ยมะนาว
|
เพลี้ยส้ม
|
เพลี้ยลำไย
|
เพลี้ยลิ้นจี่
|
เพลี้ยหน่อไม้ฝรั่ง
|
เพลี้ยกระเจี๊ยบเขียว
|
เพลี้ยมังคุด
|
เพลี้ยมันฝรั่ง
|
เพลี้ยหอมหัวใหญ่
|
เพลี้ยกระเทียม
|
เพลี้ยหอมแดง
|
เพลี้ยมะเขือเทศ
|
เพลี้ยกล้วยไม้
|
เพลี้ยอินทผาลัม
|
เพลี้ยน้อยหน่า
|
เพลี้ยชมพู่
|
เพลี้ยเงาะ
|
เพลี้ยมะม่วง
|
เพลี้ยมะขาม
|
เพลี้ยพริก
ยาเคมี กำจัดโรคพืช
โรคใบไหม้
|
โรคทุเรียน
|
โรคมันสำปะหลัง
|
โรคอ้อย
|
โรคข้าว
|
โรคยางพารา
|
โรคมะพร้าว
|
โรคข้าวโพด
|
โรคปาล์ม
|
โรคสับปะรด
|
โรคถั่วเหลือง
|
พริกไทยใบไหม้
|
โรคกาแฟ
|
โรคมะนาว
|
โรคส้ม
|
โรคลำไย
|
โรคลิ้นจี่
|
โรคหน่อไม้ฝรั่ง
|
โรคกระเจี๊ยบเขียว
|
โรคมังคุด
|
โรคมันฝรั่ง
|
โรคหอม
|
โรคกระเทียม
|
โรคหอมแดง
|
โรคมะเขือเทศ
|
โรคกล้วยไม้
|
โรคอินทผาลัม
|
โรคน้อยหน่า
|
โรคชมพู่
|
โรคเงาะ
|
โรคมะม่วง
|
โรคมะขาม
|
โรคพริก
ยาอินทรีย์ กำจัดเพลี้ยต่างๆ
กำจัดเพลี้ยต่างๆทุกชนิด
|
เพลี้ยไก่แจ้ทุเรียน
|
เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง
|
เพลี้ยอ้อย
|
เพลี้ยศัตรูข้าว
|
เพลี้ยแป้งยางพารา
|
เพลี้ยศัตรูมะพร้าว
|
เพลี้ยข้าวโพด
|
เพลี้ยอ่อนปาล์มน้ำมัน
|
เพลี้ยแป้งสับปะรด
|
เพลี้ยอ่อนถั่วเหลือง
|
เพลี้ยแป้งพริกไทย
|
เพลี้ยแป้งกาแฟ
|
เพลี้ยไฟมะนาว
|
เพลี้ยไฟส้ม
|
เพลี้ยแป้งลำไย
|
เพลี้ยแป้งลิ้นจี่
|
เพลี้ยไฟหน่อไม้ฝรั่ง
|
เพลี้ยจักจั่นฝ้ายกระเจี๊ยบเขียว
|
เพลี้ยไฟมังคุด
|
เพลี้ยจักจั่นมันฝรั่ง
|
เพลี้ยไฟหอมหัวใหญ่
|
เพลี้ยไฟกระเทียม
|
เพลี้ยไฟหอมแดง
|
เพลี้ยมะเขือเทศ
|
เพลี้ยไฟกล้วยไม้
|
เพลี้ยแป้งอินทผาลัม
|
เพลี้ยแป้งน้อยหน่า
|
เพลี้ยไฟชมพู่
|
เพลี้ยแป้งเงาะ
|
เพลี้ยจักจั่นมะม่วง
|
เพลี้ยมะขาม
|
เพลี้ยไฟพริก
สารชีวินทรีย์ กำจัดหนอนต่างๆ
กำจัดหนอนศัตรูพืช
|
กำจัดหนอนทุเรียน
|
กำจัดหนอนมันสำปะหลัง
|
กำจัดหนอนกออ้อย
|
กำจัดหนอนในนาข้าว
|
กำจัดหนอนในสวนยางพารา
|
กำจัดหนอนมะพร้าว
|
กำจัดหนอนข้าวโพด
|
กำจัดหนอนปาล์มน้ำมัน
|
กำจัดหนอนสับปะรด
|
กำจัดหนอนถั่วเหลือง
|
กำจัดหนอนพริกไทย
|
กำจัดหนอนกาแฟ
|
กำจัดหนอนมะนาว
|
กำจัดหนอนส้ม
|
กำจัดหนอนลำไย
|
กำจัดหนอนลิ้นจี่
|
กำจัดหนอนหน่อไม้ฝรั่ง
|
กำจัดหนอนกระเจี๊ยบเขียว
|
กำจัดหนอนมังคุด
|
กำจัดหนอนมันฝรั่ง
|
กำจัดหนอนหอมหัวใหญ่
|
กำจัดหนอนกระเทียม
|
กำจัดหนอนหอมแดง
|
กำจัดหนอนมะเขือเทศ
|
กำจัดหนอนกล้วยไม้
|
กำจัดหนอนอินทผาลัม
|
กำจัดหนอนน้อยหน่า
|
กำจัดหนอนชมพู่
|
กำจัดหนอนเงาะ
|
กำจัดหนอนมะม่วง
|
กำจัดหนอนมะขาม
|
กำจัดหนอนพริก
โรคไหม้คอรวง ข้าวขาดคอรวง ข้าวเน่าคอรวง แก้ด้วย ไอเอส สารอินทรีย์กำจัดเชื้อรา ปลอดภัย
Update: 2562/10/21 20:42:14 - Views: 3947
เริ่มต้นธุรกิจน้ำดื่มต้องรู้
Update: 2565/09/12 15:34:51 - Views: 3642
การต่อสู้กับโรคพืชจากเชื้อรา โรคราดำ ในต้นหอม
Update: 2566/05/15 11:03:13 - Views: 3539
การป้องกันกำจัด โรคใบจุดมะพร้าว ด้วยสารอินทรีย์
Update: 2566/01/08 08:57:00 - Views: 3609
การต่อสู้กับเชื้อราแตงกวา: การป้องกันและกำจัดอย่างมีประสิทธิภาพ
Update: 2566/05/15 09:45:18 - Views: 3520
ช้าพลู รากรสร้อน บำรุงธาตุ ขับลมในลำไส้ ขับเสมหะ ทำให้เสมหะแห้ง ทำให้ร่างกายอบอุ่น แก้ท้องอืดเฟ้อ ช่วย่อยอาหาร..
Update: 2563/05/16 08:29:42 - Views: 3687
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยอ่อน ในต้นกล้วย และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/30 09:46:32 - Views: 3551
ปุ๋ย ชั้นเลิศ ทดแทนปุ๋ยเม็ด ยาปราฯอินทรีย์ โรค มังคุด ใบไหม้ ราต่างๆ เพลี้ย หนอน มีให้เลือกซื้อหลายชนิด
Update: 2565/05/03 16:59:06 - Views: 3545
ป้องกันและกำจัดโรคเชื้อราต่างๆ ในพืช เช่น โรคใบไหม้ ใบแห้ง ไฟทอปโธร่า ราดำ ด้วย ไอเอส
Update: 2564/06/06 11:14:16 - Views: 3568
ผักกาดขาว รากเน่า!! ใบไหม้ ใบจุด ใบเหลือง ราน้ำค้าง ราเม็ด โรคราต่างๆ ป้องกันกำจัดด้วย ไอเอส และเร่งฟื้นฟู ด้วยปุ๋ย FK-T
Update: 2567/03/21 11:14:20 - Views: 3778
แมลงวัน หนอนชอนใบผัก (Leaf Miner) ระบาด
Update: 2564/08/15 01:03:29 - Views: 4174
การดูแลไร่อ้อย ตั้งแต่เริ่มปลูกจนถึงการเก็บเกี่ยว และการเพิ่มผลผลิต
Update: 2567/11/05 10:41:19 - Views: 252
ส้ม ผลใหญ่ ผลดก ขยายขนาด เพิ่มน้ำหนัก เพิ่มคุณภาพ ผลผลิต ด้วย ปุ๋ยโพแทสเซี่ยมคลอไรด์ สตาร์เฟอร์ 0-0-60
Update: 2567/04/18 14:24:09 - Views: 3567
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าแมลงหวี่ขาว ในพริก และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/01/26 10:13:20 - Views: 3558
การจัดการเพลี้ยในต้นลองกอง: วิธีป้องกันและควบคุมเพลี้ยในการเพาะปลูกลองกอง
Update: 2566/11/11 12:14:29 - Views: 3639
ยาฆ่าเพลี้ย แมลงจำพวกปากดูด ใน ต้นมะเขือเทศ และพืช ทุกชนิด เป็นสารชีวภาพปลอดภัย ปลอดสารพิษ มาคาและ FK-T(ใช้ได้ทุกพ
Update: 2566/04/17 11:23:39 - Views: 3605
กำจัดเชื้อรา สาเหตุของโรคราแป้ง ในดอกกุหลาบ ไตรโคเดอร์มา ไตรโคเร็กซ์ ปลอดภัยต่อคนและสัตว์เลี้ยง
Update: 2566/01/04 14:31:57 - Views: 3640
กำจัดแมลงศัตรูพืช ยาฆ่าเพลี้ยแป้ง ในพุทรา และ พืชทุกชนิด บิวทาเร็กซ์ โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/02/03 14:34:50 - Views: 3555
ปุ๋ยสตาร์เฟอร์ 0-0-60 ตัวช่วยให้แครอทของคุณหัวใหญ่ ผลผลิตดก เพิ่มคุณภาพ
Update: 2567/03/12 11:43:43 - Views: 3581
กำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อรา ใน มัลเบอร์รี เร่งฟื้นฟูจากการเข้าทำลายของเชื้อรา ไตรโครเร็กซ์ ปุ๋ยน้ำอะมิโน โดย ไดโนเร็กซ์
Update: 2566/04/22 16:02:56 - Views: 3545
GA4 © FarmKaset.ORG |
สถาบันอนุญาโตตุลาการ
: 2022